The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amam2549uzamboni, 2022-07-30 02:40:56

AB64C153-882D-44F5-BC8E-0AAE4FF926AA

AB64C153-882D-44F5-BC8E-0AAE4FF926AA

เป็นร่ายยาว วิธีแดงยกคาถา เสาวรจนี = พระเวสสันดร พบความงาม
ภาษามาลิอินเงิน ลัก แล้วแปล ของบาง พักร สิโรธร กัง = พระบางที่
แต่ง เป็นกาเหลาไทยด้วย ร่าย กล่าว แพ้อต่อว่า พระเวสสันดรที่ไม่ตอบ
ยาว ภาษาบาลีที ยกมานั้นจะยก คำถามบางลัลลาบังค สับ 2 การ
มา เปนตอน ๆ รับบาง ยาวบ้าง แสดงความเศร้า นางนักร ร้องให้ถึงลูก
ตาม ลักษณะเรือง แล้ว แปล

เป็นภาษาไทย ก ห ง

01 ลักษณะคำประพันธ์

มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี

02 จุดประสงค์ในการ แต่ง 03 ที่มาของเรื่อง



เพื่อที่จะ มาจาก ร่ายยาวมหาเวสสันดร
น้าหลักธรรมใน ชาดก ซึ่งเป็นเรื่องหนึ่งในทศชาติ
พระพุทธศาสนา ชาดก หรือที่เรียกว่า "พระเจ้าสิบ
มาสอนประชาชน ชาติ" ภัณฑ์นี้เป็นกัณฑ์ที่ 9 ใน
ทั้งหมด 13 กัณฑ์

เนื้อเรื่องย่อเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี

พระนางมัทรีฝันร้ายว่ามีบุรุษมาทำร้าย จึงขอให้พระเวสสันดรทำนายฝันให้

แต่พระนางก็ยังไม่สบายพระทัย ก่อนเข้าป่า พระนางฝากพระโอรสกับพระธิดากับพระ

เวสสันดรให้ช่วยดูแล หลังจากนั้นพระนางมัทรีก็เสด็จเข้าป่าเพื่อหาผลไม้มา

ปรนนิบัติพระเวสสันดรและสองกุมาร ขณะที่อยู่ในป่าพระนางพบว่าธรรมชาติผิด

ปกติไปจากที่เคยพบเห็น เช่นต้นไม้ที่เคยมีผลก็กลายเป็นต้นที่มีแต่ดอก ต้นที่เคยมี

กิ่งโน้มลงมาให้พอเก็บผลได้ง่ายก็กลับกลายเป็นต้นตรงสูงเก็บผลไม่ถึง ทั้งท้องฟ้าก็

มืดมิด ขอบฟ้าเป็นสีเหลืองให้รู้สึกหวั่นหวาดเป็นอย่างยิ่ง ไม้คานที่เคยหาบแสรกผล

ไม้ก็พลัดตกจากบ่า ไม้ตะขอที่ใช้เกี่ยวผลไม้พลัดหลุดจากมือยิ่งพาให้กังวลใจยิ่งขึ้น

บรรดาเทพยดาทั้งหลายต่างพากันกังวลว่า หากนางมัทรีกลับออกจากป่าเร็วและทราบ

เรื่องที่พระเวสสันดร ทรงบริจาคพระโอรสธิดาเป็นทาน ก็จะต้องออกติดตามพระกุมาร

ทั้งสองคืนจากชูชก

พระอินทร์จึงส่งเทพบริวาร 3 องค์ให้แปลงกาย
เป็นสัตว์ร้าย 3 ตัว คือราชสีห์ เสือโคร่ง และ

เสือเหลือง ขวางทางไม่ให้เสด็จlกลับอาศรมได้
ตามเวลาปกติ เมื่อล่วงเวลาดึกแล้วจึงหลีกทาง
ให้พระนางเสด็จกลับอาศรม เมื่อพระนางเสด็จ

กลับถึงอาศรมไม่พบสองกุมารก็โศกเศร้าเสีย
พระทัย เที่ยวตามหาและร้องไห้คร่ำครวญ
พระเวสสันดรทรงเห็นพระนางเศร้าโศก จึงหา

วิธีตัดความทุกข์โศกด้วยการแกล้งกล่าวหานางว่า
คิดนอกใจคบหากับชายอื่น จึงกลับมาถึงอาศรม
ในเวลาดึก เพราะทรงเกรงว่าถ้าบอกความจริง

ในขณะที่พระนางกำลังโศกเศร้าหนักและกำลัง
อ่อนล้า พระนางจะเป็นอันตรายได้ ในที่สุด
พระนางมัทรีทรงคร่ำครวญหาลูกจนสิ้นสติไป

ครั้นเมื่อฟื้นขึ้น พระเวสสันดรทรงเล่าความจริง
ว่า พระองค์ได้ประทานกุมารทั้งสองแก่ชูชกไป
แล้วด้วยเหตุผลที่จะทรงบำเพ็ญทานบารมี พระ

นางมัทรีจึงทรงค่อยหายโศกเศร้าและทรง
อนุโมทนาในการบำเพ็ญทานบารมีของพระ

เวสสันดรด้วย

วิเคราะห์ความงามในภาษาเร่ืองมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์มัทรี

การเลือกเสียงของคำ มีการเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น ได้ยิน
เสียงผีป่าโป่งโป้งเปิ่งกู่ก้องร้องกระห่ึม ผีผิวพึมฟังขนพองเสียงชะนีร้อง
อยู่โหวยโวยโว่ยวิเวกวะหวามอก พราหมณ์ก็หยุดยืนตื่นตกตะลึงนึก

มีการเปรียบเทียบแบบอุปลักษณ์ ดังคำประพันธ์ที่ว่า
“โอ้เจ้าดวงสุริยันจันทราทั้งคู่ของแม่เอ่ยแม่ไม่รู้เลยว่าเจ้า

จะหนีพระมารดา ไปสู่พาราใดไม่รู้ที”

มีการใช้ลีลาจังหวะ เสียงหนักเบา เช่นในบทโกรธ

มีการเลือกความหมายของคำให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่องและลักษณะ
ของร้อยกรอง ฤมีการเล่นคำ เช่น การซ้ำคำการเล่นอักษร การเล่นเสียง


รสทางวรรณคดีที่ปรากฏ คือ

-เสาวรจนี
พบบ้างเล็กน้อยในตอนที่นางผสุดขอพร จากพระอินทร์ให้นางมีรูป
ลักษณ์ที่งดงามยิ่ง กว่าผู้ใด
-พิโรจวาทัง
-สัลลาปังคพิไสย
พบมากเพราะมีการใช้อารมณ์และ ความโกรธอยู่บ่อยครั้ง
พบมากในบทของพระนางมัทรีที คร่ำครวญหาลูกช

วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าที่ได้

๑.คุณค่าทางด้านวรรณศิลป์
๑.๑ ใช้ถ้อยคำไพเราะ มีการเล่นคำ เล่นสัมผัสอักษร มี การใช้โวหารภาพพจน์
เเละการพรรณนาให้เกิดความรู้สึกที่ ละเอียดอ่อน รวมทั้งเกิดจินตภาพชัดเจน
๑.๒ เนื้อหาของกัณฑ์มัทรีแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ระหว่างธรรมชาติกับ
อารมณ์ความรู้สึกของตัวละครได้อย่าง ชัดเจน จะเห็นได้จากตอนที่เกิดเรื่องร้าย
แก่พระนางมัทรีขณะที่ หาพลาหารอยู่ในป่า

๒.คุณค่าทางด้านเนื้อหา
มีการสอดแทรกเนื้อหาที่มีความสนุกสนานและ แฝงไปด้วย
ข้อคิดและหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

๓.คุณค่าทางด้านสังคม
๓.๑ สะท้อนให้เห็นค่านิยมแนวโลกุตตรธรรมของประชาชนว่า มีความปรารถนา
จะบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ
๓.๒ เรื่องพระมหาเวสสันดรชาดก เป็นวรรณกรรมที่เกิดขึ้นใน สมัย

รัตนโกสินทร์
ตอนต้น จึงเป็นภาพสะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียม และค่านิยมของ
คนในยุคนั้น ๆ ได้ดีว่า มีการซื้อขาย บุคคลเป็นทาส นิยมการบริจาคทานเพื่อ
หวังบรรลุ นิพพาน มีความเชื่อ เรื่องลางบอกเหตุ เชื่อเรื่องอำนาจของเทพยดา
ฟ้าดินต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังแสดงภาพชีวิตในชนบทเกี่ยวกับการละเล่นและการ
เล่นซ่อนหาของ เด็ก ๆ

๓.๓ ให้แง่คิดเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของผู้หญิงใน ฐานะที่เป็นแม่และเป็นภรรยา
ที่ดี ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญเหนือสิ่ง อื่นใด

๓.๔ มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี สะท้อนแนวคิด สำคัญเกี่ยวกับความรักของ
แม่ที่มีต่อลูกอย่างสุดชีวิต ๓.๕ ข้อคิด คติธรรม ที่สามารถนำไปใช้ใน ชีวิต
ประจำวันของทุกคนได้ เกี่ยวกับการเป็นคู่สามีภรรยาที่ ดี การเสียสละ เป็น
คุณธรรมที่น่ายกย่อง และการบริจาค ทาน เป็นการกระทำที่สมควรได้รับการ
อนุโมทนา

คําศัพท์สําคัญจากเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี

คำศัพท์ เหตุร้าย
กระลี ซากศพ
กเลวระ ดังก้อง
กัมปนาท เกล้ากระหม่อมฉัน
เกล้ากระหม่อมฉาน ตั้งใจ
แกล้ง นักบวช ในที่นี้หมายถึง พระเวสสันดร
ชี ทราบ
ซับทราบ แปลว่า ๓๓ เป็นชื่อสวรรค์ที่มีเทพชั้นผู้ใหญ่ ๓๓ องค์ โดยมีพระอินทร์
ดาวดึงส์ เป็นหัวหน้า เป็นสวรรค์ชั้นที่สองแห่งฉกามาพจร (สวรรค์ ๖ชั้นฟ้า)
เดือดเต็มที่ หมายถึง โกรธจัด
เต็มเดือด ป่า
เถื่อน กำลังคะนอง หมายถึง กำลังซน
ทรามคะนอง กระพุ่มมือ (สิบนิ้ว) กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ คือให้อวัยวะทั้ง ๕
ทศนัขเบญจางค์ ได้แก่ เข่าทั้ง ๒ มือทั้ง ๒ และหน้าผากจรดลงกับพื้น
ทานภายนอก ได้แก่ ข้าวของต่างๆ
ทานพาหิรกะ ไกล ในความว่า “จากบุรีทุเรศมา”
ทุเรศ น่าประหลาดใจ
น่าหลากใจ ประหยัดถ้อยคำ ไม่ยอมพูด
นิ่งมัธยัสถ์ มาจากคำ อนุสนธิ์ แปลว่า ความต่อเนื่อง การสืบเนื่องในที่นี้หมายถึง
นุสนธิ์ ความเป็นมา
เดินไป
บทจร ผู้ทำหน้าที่หญิงรับใช้ ผู้ทำหน้าที่ภรรยา ในที่นี้หมายถึงพระนางมัทรี
บริจาริกากร บริภาษ กล่าวโทษ
บริภาษณา,ปริภาษณา เบญจกัลยาณี คือ หญิงมีลักษณะงาม ๕ ประการ ได้แก่ ผมงาม เนื้องาม
เบญจางคจริต (คือ เหงือกและริมฝีปากแดงงาม) ฟันงาม ผิวงาม และวัยงาม (คือ ดูงาม
ทุกวัย)
โบกขรณี สระบัว
ประถมยาม ปฐมยาม แปลว่า ยามแรก กำหนด นับตั้งแต่ ๑๘ นาฬิกา (หกโมงเย็น)
ถึง ๒๒ นาฬิกา (๔ทุ่ม)ในบาลีแบ่งกลางคืนเป็น๓ยามยามหนึ่งมี๔ชั่วโมง
ปัจจุสมัย เรียกว่าปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม
พญาพาฬมฤคราช เวลาเช้ามืด
ราชาแห่งสัตว์ที่กินสัตว์อื่นเป็นอาหาร หมายถึง สัตว์ร้ายทั้งสามอันเป็นร่าง
พระราชสมการ แปลง
พร้า ของเทพยดา ๓ องค์ที่แปลงร่างตามคำสั่งของพระอินทร์ที่ให้มาสกัดกั้น
พฤกษาลดาวัลย์ พระนาง มัทรีไม่ให้ขัดขวางการบำเพ็ญบุตรทานบารมีของพระเวสสันดร
พานจะ สัตว์ร้ายทั้งสาม ได้แก่ พญาไกรสรราชสีห์ พญาเสือโคร่งและพญาเสือ
พื้นที่ปริมณฑล เหลือง
มังสัง พระราชาผู้ออกบวช เป็นคำที่นางมัทรีเรียกพระเวสสันดร
มีดขนาดใหญ่
ไม้เลื้อยหรือไม้เถา
น่าจะ
พื้นที่โดยรอบ ในที่นี้หมายถึง อาณาบริเวณ
คือมังสะ แปลว่าเนื้อ

มัจฉริยธรรม ความตระหนี่
มาเลศ ดอกไม้ มาจากคำว่า มาลี ซึ่งเติม ศ เข้าข้างท้าย โดยเปลี่ยน สระ ี เป็น สระ เ- วิธีการนี้เรียกว่า ศ เข้าลิลิต
นิยมใช้ในการแต่งคำประพันธ์
มุจลินท์ สระใหญ่ในป่าหิมพานต์ เป็นที่หงส์อาศัยอยู่ “ปราศจากมุจลินท์ ’’ หมายความว่าไปจาก สระมุจลินท์
มูมมอง มากมาย
เมิล มองดู
ไม่มีเนตร ไม่มีเลยที่ตาจะเห็นได้ ในที่นี้หมายความว่า ไม่มีใครเลยในความว่า “อกของใครจะอาภัพยับพิกลเหมือน
อกของมันทรีไม่มีเนตร’’
ยับ ยับพังทลาย ในความว่า “อกของใครจะอาภัพยับพิกลเหมือนอกของมันทรี’’
ยุบลสาร ข่าว
ระแนง เรียงราย ในความว่า “ดังบุคคลเอาแก้วมาระเเนง’’
ระหวย ระโหย อิดโรยเพราะหิว
แล่นแล่น วิ่ง
วิสัญญี สลบ
ศิโรเพฐน์ ผ้าโพกศีรษะ ในที่นี้หมายถึง ศีรษะ “บ่ายศิโรเพฐน์’’ คือ เอนศีรษะลง
สองรา, สามรา สองคน สามคน คำว่า “รา” เป็นภาษาถิ่นล้านนา แปลว่า เราทั้งคู่
สัตพิธรัตน์ แก้ว ๗ ประการได้แก่ทอง เงิน มุกดาหาร ทับทิม ไพฑูรย์ เพชร และแก้วประพาฬ
สันดาน ความต่อเนื่อง ในทีนี้หมายถึง ลมหายใจ ชีวิต ในความว่า “เพียงเพราะสันดานจะขาดจะดับสูญ”
สาธุการ การเปล่งวาจาชื่นชมเมื่อเห็นว่าการกระทำสมควรแล้ว
สายอัสนี สายฟ้า
สิกขา ข้อที่จะต้องปฎิบัติ ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา ซึ่งเรียกว่า ไตรสิกขา
สิทธิ์ นักสิทธิ์ หมายถึง โยคี ฤาษี
สิ้นคิด คิดอะไรไม่ออก
สืบสันดาน สืบเชื้อสาย
แสรกคาน คือ สาแหรกและคานซึ่งเป็นเครื่องหาบ สาแหรก คือเครื่องใส่ของสำหรับหาบ ปกติทำด้วยหวาย ส่วน คาน
คือ ไม้คานซึ่งใช้คอนสาแหรกตรงปลายไม้ทั้งสองข้าง
หน่อกษัตริย์ เชื้อสายกษัตริย์ ในที่นี้หมายถึง พระนางมัทรีผู้เป็นพระธิดาของกษัตริย์มัททราช
หน้าฉาน หน้าที่นั่ง ในที่นี้หมายถึง ตรงหน้าพระอาศรมที่พระเวสสันดรประทับอยู่
ห่วงสงสาร ห่วงแห่งความรัก
หิมเวศ ป่าหิมพานต์ มาจากคำว่า หิมวา ซึ่งใช้ ศ เป็นลิลิต
อัชฌัติกทาน ทานภายใน หมายถึง เลือดเนื้อ อวัยวะต่างๆ
อาราม พะวงที่จะทำการใดๆ ด้วยความรีบร้อน
อุฏฐาการ ลุกขึ้น

ประวััติิผููเเตงวรรณคดีีเร่ื่องมหาเวสสัันดรชาดก กััณฑมััทรีี

เจา พระยาพระคลััง (หน)

ผลงาน เจ้้าพระยาพระคลััง (หน) เป็็นกวีีเอกคนหน่ึึ่งใน
สมััยต้้นรััตนโกสิินทร์์มีีนามเดิิมว่่า หน เกิิดเม่ืื่อใดไม่่
ปรากฏหลัักฐานแน่่ชััด น่่าจะอยู่่ในช่่วงปลายสมััยกรุุง
ศรีีอยุุธยา และถึึงแก่่อสััญกรรม ในสมััยรััชกาลท่ีี่๑
พ.ศ. ๒๓๔๘ ผลงานด้้านวรรณคดีีท่ีี่ท่่านได้้แต่่งไว้้
หลาย เร่ื่องด้้วยกััน เจ้้าพระยาพระคลััง เป็็นบุุตรเจ้้า
พระยา บดิินทร์์สุุริินทร์์ฦๅชััย (บุุญมีี) กัับท่่านผูู้้หญิิง
เจริิญ มีี บุุตรธิิดาหลายคน ท่ีี่มีีช่ืื่อเสีียงคืือ เจ้้าจอมพุุ่่ม
ในรััชกาล ท่ีี่๒ เจ้้าจอมมารดาน่ิิ่ม พระมารดาสมเด็็จฯ
กรมพระยา เดชาดิิศร (ม่ัั่ง) ในรััชกาลท่ีี่๒ นายเกต
และนายพััด ซ่ึึ่งเป็็นกวีีและครููพิิณพาทย์์เป็็นต้้นสกุุล
บุุญ-หลง

แต่่งในสมััยกรุุงธนบุุรีี
- ลิิลิิตเพชรมงกุุฎ
- อิิเหนาคํําฉัันท์์
แต่่งในสมััยกรุุงรััตนโกสิินทร์์
- สามก๊๊ก (เป็็นผูู้้อํํานวยการแปล)
- ราชาธิิราช (เป็็นผูู้้อํํานวยการแปล)
- กากีีกลอนสุุภาพ
- ร่่ายยาวมหาชาติิกััณฑ์์กุุมารและกััณฑ์์มััทรีี
- ลิิลิิตพยุุหยาตราเพชรพวง
- โคลงสุุภาษิิต
- กลอนและร่่ายจารึึกเร่ื่องสร้้างภููเขาท่ีี่วััดราชคฤห์์
- ลิิลิิตศรีีวิิชััยชาดก
- สมบััติิอมริินทร์์คํํากลอน

ประวัติการรับราชการของเจ้าพระยาพระคลัง(หน)

มีีหลัักฐานระบุุได้้ว่่าท่่านได้้รัับราชกา
รมาต้ัั้งแต่่สมััยกรุุงธนบุุรีีมีี บรรดาศัักด์ิิ์เป็็นหล
วงสรวิิชิิต ตํําแหน่่งนายด่่านเมืืองอุุทััยธานีี
คร้ั้นเม่ืื่อ ถึึงปลายรััชกาล ท่ีี่เหตุุระส่ํํ่าระสาย
เกิิดจลาจลในพระนคร ท่่านได้้ลอบ ส่่งคนนํํา
หนัังสืือแจ้้งเหตุุภายในพระนครไปถวายสม
เด็็จเจ้้าพระยามหา กษััตริิย์์ศึึก (ภายหลัังคืือ
พระบาทสมเด็็จพระพุุทธยอดฟ้้าจุุฬาโลก) ซ่ึึ่ง
กํําลัังยกกองทััพไปตีีเขมรหลวงสรวิิชิิต (ใน
เวลาน้ัั้น) ออกไปรัับ สมเด็็จเจ้้าพระยามหา
กษััตริิย์์ศึึกถึึงทุุ่่งแสนแสบ แล้้วบอกข้้อราชกา
ร ต่่างๆ จากน้ัั้นสมเด็็จเจ้้าพระยามหากษััต
ริิย์์ศึึกได้้เข้้ามาปราบเหตุุ จลาจลในพระนคร
แล้้วทรงปราบดาภิิเษกข้ึึ้นครองราชย์์สม
บััติิเป็็น ปฐมกษััตริิย์์แห่่งราชวงศ์์จัักรีีเม่ืื่อเหตุุ
การณ์์ในพระนครสงบเรีียบร้้อย พระ
เจ้้าอยู่่หััวจึึงทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ แต่่
งต้ัั้งให้้ท่่านเป็็นพระยา พิิพััฒน์์โกษา และ
ในท่ีี่สุุดเม่ืื่อตํําแหน่่งเจ้้าพระยาพระคลัังว่่างลง
ได้้ รัับพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้้เล่ื่อ
นข้ึึ้นเป็็นเจ้้าพระยาพระคลััง เป็็น เสนาบดีี
จตุุสดมภ์์กรมท่่า มีีหน้้าท่ีี่ควบคุุมบัังคัับบััญชากิิ
จการทางหััวเมืือง ชายทะเลท้ัั้งหมด เจ้้าพระยา
พระคลัังท่่านน้ีี้นอกจากมีีความสามารถใน เชิิ
งบริิหารกิิจการบ้้านเมืือง และเป็็นนัักรบแล้้ว
ยัังมีีความสามารถใน เชิิงอัักษรศาสตร์์เป็็นท่ีี่
ยกย่่องว่่าเป็็นกวีีฝีีปากเอก มีีสํํานวนโวหาร
ไพเราะ ท้ัั้งร้้อยกรองหลากหลายชนิิด และสํํา
นวนร้้อยแก้้วท่ีี่มีีสํํานวน โวหารไพเราะไม่่
แพ้้กััน

สาระน่ารู้

กัณฑ์ หมายถึง คำเทศน์ หรือ ตอนหนึ่ง ๆ ของเทศน์เรื่องยาว
นับเป็นลักษณนามของเทศน์ หรือเรียกง่าย ๆ ว่า กัณฑ์ ใช้แทน
ตอนหรือบทย่อย ๆ ของคำเทศน์นั้น ๆ ก็ว่าได้ ซึ่งในร่ายยาวมหา
เวสสันดรชาดก ประกอบด้วย 13 กัณฑ์ (13 ตอน) ได้แก่ กัณฑ์
ทศพร, กัณฑ์หิมพานต์, กัณฑ์ทาน, กัณฑ์วนประเวศน์, กัณฑ์ชูชก,
กัณฑ์จุลพน, กัณฑ์มหาพน, กัณฑ์กุมาร, กัณฑ์มัทรี, กัณฑ์สักกบร
รพ, กัณฑ์มหาราช, กัณฑ์ฉกษัตริย์, กัณฑ์นครกัณฑ์
นอกจากมหาเวสสันดรชาดกจะเป็นร่ายยาวแล้ว ยังมีบุญพิธีทางพุทธ
ศาสนาที่เรียกว่า การเทศน์มหาชาติ อีกด้วย ซึ่งในพิธีเทศน์มหาชาติ
นี้ จะมีการเทศนาเกี่ยวกับมหาเวสสันดรชาดก โดยนิยมจัดหลังฤดู
ทอดกฐิน และใช้เวลาประมาณ 2 วันมัทรี


Click to View FlipBook Version