The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ครั้งที่ 2วัฒนธรรมการเมืองและพัฒนาการทางการเมือง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by paruenatsang, 2022-06-23 01:34:06

ครั้งที่ 2วัฒนธรรมการเมือง

ครั้งที่ 2วัฒนธรรมการเมืองและพัฒนาการทางการเมือง

บทท่ี 1 ประวัติความเป็นมา และวัฒนธรรมทางการเมอื ง
การเมือง การปกครองของไทย (ตอ่ )
- กระบวนการเกิดวัฒนธรรม

- กระบวนการเกิดวฒั นธรรมทางการเมอื ง
- รูปแบบของวัฒนธรรมทางการเมอื ง

- องค์ประกอบของการพัฒนาทางการเมือง

1

วัฒนธรรม (Culture) ในทางสังคม หมายถึง แบบแผน
พฤติกรรมในการดํา รงชีวิตของกลุ่มคน ซ่ึงได้รับการเรียนรู้และการ
ถ่ายทอดกันไปโดยการสั่งสอนและอบรมทั้งทางตรงและทางอ้อม
ในช่วงระยะเวลาหน่ึงแบบแผนดังกล่าวเป็นผลมาจาก ความเช่ือ
(Believe) ค่านิยม (Value) และทัศนคติ(Attitude) ซึ่งถ่ายทอดกัน
ด้วยกระบวนการเรียนรู้ทางสังคม(Socialization) หรืออาจกล่าวได้
ว่าเป็นผลของการกระทํา ที่ผ่านมา และเป็นเงื่อนไขสําหรับการกระทํา
ตอ่ ไปในอนาคต

2

นิธิ เอียวศรีวงศ์ ให้ความหมายวัฒนธรรมทางการเมืองว่าเป็น
ความคิดและความเข้าใจเก่ียวกับความสัมพันธ์ทางสังคม โดยเฉพาะ
ความคิดและความเข้าใจตอ่ การจดั สรรแบง่ ปนั ทรัพยากรในสังคม

3

Almond and Powell (อัลมอนด์และ
เพาเวล) อธิบายว่าวัฒนธรรมทางการเมือง
หมายถึง แบบแผนของทัศนคติหรือความโน้ม
เอียงทางการเมืองของแต่ละบุคคลซ่ึงความโน้ม
เอียงทางการเมืองแบง่ ออกเปน็ ๓ ลกั ษณะ คอื

๑ . ค ว า ม โ น้ ม เ อี ย ง เ กี่ ย ว กั บ ก า ร รั บ รู้
(Cognitive Orientation) เป็นความรู้ความ
เข้าใจและความเช่ือท่ีมีต่อระบบการเมือง และ
สว่ นตา่ ง ๆของระบบการเมอื ง

๒. ความโน้มเอียงเกี่ยวกับความรู้สึก
(Affective Orientation) เป็นความรู้สึกที่มีต่อส่วน
ต่าง ๆ ของระบบการเมอื งและองค์การทางการเมอื ง

๓.ความโน้มเอียงเกี่ยวกับการประเมินค่า
(EvaluativeOrientation) เป็นการตัดสิน และให้
ความเห็นต่าง ๆ ต่อกิจกรรมทางการเมือง และ
ปรากฏการณ์ทางการเมือง ซ่ึงเป็นการตัดสินใจและ
ยอมรับความเชื่อในส่วนที่ดีของระบบการเมือง

4

เกเบรียล อัลมอนด์และเพาเวลล์(Gabriel A.Almond และ
Bingham G. Powell) ได้ให้ความหมายเพื่อให้เกิดความชัดเจนย่ิงขึ้น
ว่า “วัฒนธรรมทางการเมือง หมายถึง แบบแผนทางทัศนคติหรือเป็น
ความรู้สึก หรือการอบรมท่ีแต่ละคนไดร้ บั อนั จะทาํ ใหก้ ารกระทาํ ของ
แต่ละบุคคลมีความหมาย หรืออาจเรียกว่าเป็นความโน้มเอียงทาง
การเมืองของบุคคลในฐานะทเ่ี ป็นสมาชกิ ของระบบการเมือง”

5

ลูเซียน พาย(Lucien W. Pye) กล่าวถงึ วัฒนธรรมทางการเมืองมี 4 ความหมาย ไดแ้ ก่
๑. วัฒนธรรมทางการเมืองเก่ียวข้องกับความไว้วางใจหรือความไม่ไว้วางใจของบุคคลต่อบุคคล
อื่น หรอื ตอ่ สถาบันทางการเมืองเช่น การมีความศรัทธา หรือความเชื่อมั่นต่อสถาบัน หรือต่อผู้นํา
ทางการเมือง
๒. วัฒนธรรมทางการเมืองเกี่ยวข้องกับทัศนคติต่ออํานาจทางการเมือง ซึ่งจะสะท้อนถึงการ
ยอมรับและความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง หรือผู้นํากับประชาชนทั่วไป ซ่ึง
ทัศนคติน้ีส่งผลโดยตรงที่จะทํา ให้ประชาชนให้ความร่วมมือหรือต่อต้านอํานาจทางการเมืองของ
ผปู้ กครอง
๓. วัฒนธรรมทางการเมืองเก่ียวข้องกับเสรีภาพ และการควบคุมบังคับทางการเมือง กล่าวคือ
วัฒนธรรมทางการเมืองในสังคมนั้น ให้การยอมรับหรือเคารพต่อเสรีภาพของประชาชนมากน้อย
เพียงใด หรือมงุ่ เนน้ การใช้อาํ นาจบงั คบั เพ่อื ให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม
๔. วัฒนธรรมทางการเมืองเกี่ยวข้องกับความจงรักภักดีและยึดม่ันในสังคมการเมืองของบุคคล
กล่าวคือ วัฒนธรรมทางการเมืองช่วยสร้างเอกลักษณ์ทางการเมืองให้แก่บุคคลในสังคมท่ียึดม่ัน
ร่วมกันและพร้อมที่จะต่อสู้ปกป้องรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์น้ันให้คงอยู่ต่อไปอาจจะโดยการยอม
เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมหรือสละผลประโยชน์ระยะส้ันเพ่ือผลประโยชน์
ระยะยาว เป็นตน้

6

วัฒนธรรมการเมืองเป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรมทางสังคมท่ีมีความเก่ียวข้องกับ
การเมอื งการปกครอง

ส่วนประกอบที่สําคัญของวัฒนธรรมทางการเมือง คือ ค่านิยม ความเช่ือ
ทศั นคติ

ที่บุคคลมีต่อระบบการเมืองการปกครองของตนและแสดงออกโดยการเข้าร่วม
กจิ กรรมทางการเมือง

วัฒนธรรมทางการเมืองถูกกําหนดขึ้นหรือได้รับอิทธิพลจาก ภูมิหลังทาง
ประวัตศิ าสตร์ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศาสนา
โดยผ่านกระบวนการอบรมหล่อหลอมของสังคมในระดับต่าง ๆ แล้วถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่ง
ไปสู่คนรุ่นต่อ ๆ ไปอย่างต่อเน่ือง และสอดรับกับสภาวะแวดล้อมของการเปล่ียนแปลงทาง
การเมืองในแต่ละชว่ งเวลา

7

ประเภทของวัฒนธรรมทางการเมือง

ตามแนวคิดของอลั มอนด์ (Almond) และ เวอร์บา (Verba)
ได้แบง่ วฒั นธรรมทางการเมอื งออกเป็น ๓ ประเภท ดงั นี้
๑. วัฒนธรรมทางการเมอื งแบบคบั แคบ (The parochial political
culture)
๒. วฒั นธรรมทางการเมอื งแบบไพรฟ่ า้ (The subject political
culture)
๓. วัฒนธรรมทางการเมอื งแบบมีส่วนร่วม (The participant
political culture)

8

ความสําคัญและบทบาทของ
วฒั นธรรมทางการเมือง

สํ า ห รั บ บุ ค ค ล วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง
การเมืองทํา หน้าที่เป็นเคร่ืองช้ีแนะแนว
ทางการประพฤติทางการเมืองให้แก่บุคคล
โดยชว่ ยตีความสง่ิ ทเี่ กย่ี วข้องกบั การเมือง

สําหรับสังคมโดยรวม วัฒนธรรม
ทางการเมืองเปรียบเสมือนแบบแผนของ
ค่านิยมและบรรทัดฐานทางการเมือง ซึ่งช่วย
ให้การทํา งานของสถาบันและองค์กรทางการ
เมืองต่าง ๆ มคี วามสอดคลอ้ งกนั พอสมควร

บทบาทที่สําคัญของวัฒนธรรม
ท า ง ก า ร เ มื อ ง คื อ มี ส่ ว น ส นั บ ส นุ น ใ ห้
ความชอบธรรมกับระบอบการเมืองในสังคม
นั้น ๆ ดํา รงอยู่และมีความมั่นคง และใน
ขณะเดียวกนั อาจเปน็ อุปสรรคขัดขวางต่อการ
ดํา เนนิ งานของระบบการเมอื ง

9

๑. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ
(The parochialpolitical culture)

เป็นวัฒนธรรมทางการเมืองของบุคคลที่
ไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการเมืองเลย
ไม่มีการรับรู้ไม่มีความคิดเห็นและไม่ใส่ใจต่อระบบ
การเมือง ไม่คิดว่าตนเองมีความจํา เป็นต้องมีส่วน
ร่วมทางการเมอื ง

เพราะไม่คิดว่าการเมืองระดับชาติจะกระทบ
กับตนเองได้และไมห่ วังวา่ ระบบการเมืองระดับชาติ
จะตอบสนองความต้องการของตนได้สังคมที่อาจ
พบวัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ ก็คือ
บรรดาสังคมเผ่าท้ังหลายในทวีปแอฟริกาหรือชาว
ไทยภูเขาเผ่าต่าง ๆซ่ึงในแต่ละเผ่าขาดความ
เชื่อมโยงกับการเมืองระดับชาติขาดโอกาสในการ
รบั รแู้ ละเขา้ ใจบทบาทของตนตอ่ ระบบการเมือง

แต่มีการรับรู้ที่“แคบ” อยู่เฉพาะแต่กิจการใน
เผ่าของตน หรือในประเทศด้อยพัฒนาที่ประชาชน
ส่วนใหญ่ยากจนและไร้การศึกษา จึงถูกปลูกฝัง
ด้วยความเช่ือด้ังเดิมมาแต่โบราณว่าเรื่องการ
ปกครองเป็นเร่ืองของผู้ปกครอง ทํา ให้ผู้ปกครอง
ใชอ้ ํานาจไดโ้ ดยไม่ถกู ตรวจสอบจากประชาชน

1

๒. วัฒนธรรมทางการเมอื งแบบไพรฟ่ า้ (The subjectpolitical culture)
เป็นวัฒนธรรมทางการเมืองของบุคคลท่ีมีความรู้ความเข้าใจต่อระบบการเมืองโดยท่ัวๆ ไป

แต่ไม่สนใจที่จะเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองตลอดทุกกระบวนการ และไม่มีความรู้สึกว่าตนเองมี
ความหมายหรืออทิ ธพิ ลต่อระบบการเมือง

บุคคลเหล่านี้มักมีพฤติกรรมยอมรับอํานาจรัฐ เชื่อฟัง และปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐด้วย
ความยนิ ดีและช่นื ชม

ลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้าจะพบได้ในกลุ่มคนช้ันกลางในประเทศ
กําลังพัฒนา ท่ียังคงมีความเชื่อที่ฝังแน่นมาแต่เดิม อันเป็นอิทธิพลของสังคมเกษตรกรรมว่าอํานาจ
รัฐเปน็ ของผู้ปกครอง ประชาชนทว่ั ไปควรมหี น้าทเี่ ช่อื ฟังและปฏบิ ตั ิตามกฎหมายเท่าน้นั

1

๓. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบมสี ่วนร่วม (The participantpolitical culture)
เป็นวัฒนธรรมทางการเมอื งของบคุ คลท่มี คี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั ระบบ

การเมืองเป็นอยา่ งดี
เห็นคณุ ค่าและความสําคญั ในการเขา้ มสี ่วนร่วมทางการเมอื ง เพ่ือควบคมุ

กาํ กับและตรวจสอบใหผ้ ู้ปกครองใชอ้ ํานาจปกครองเพอ่ื ตอบสนองความต้องการของ
ประชาชน

ลกั ษณะวฒั นธรรมทางการเมืองแบบมีสว่ นร่วมจะพบเห็นได้ในชนชนั้ กลางสว่ น
ใหญ่ของประเทศอตุ สาหกรรมหรอื ประเทศที่พัฒนาแลว้ (Developed Country)

1

อลั มอนด(์ Almond) และ เวอรบ์ า (Verba) จงึ สรปุ ว่า ในสงั คมต่าง ๆ ประชาชนจะมลี ักษณะ
วฒั นธรรมทางการเมืองแบบผสม (Mixed political culture) ได้แก่
๑. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบผสมไพรฟ่ า้
(The parochial - subject culture)
๒. วฒั นธรรมทางการเมอื งแบบไพร่ฟ้าผสมมสี ว่ นรว่ ม
(The subject - participant culture)
๓. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคบั แคบผสมมีสว่ นร่วม
(The parochial - participant culture)

1

๑. วัฒนธรรมทางการเมอื งแบบคบั แคบผสมไพรฟ่ ้า(The parochial - subject culture)
เป็นแบบทปี่ ระชาชนส่วนใหญย่ งั คงยอมรบั อาํ นาจของผู้นาํ เผา่ หวั หน้าหมูบ่ า้ นหรอื เจา้ ของ
ที่ดิน

แต่ประชาชนกําลังมคี วามผกู พันกบั วฒั นธรรมการเมืองแบบคบั แคบของท้องถน่ิ น้อยลง
และเรมิ่ มีความจงรักภกั ดตี ่อระบบและสถาบันการเมืองส่วนกลางมากขน้ึ

ความสาํ นกึ ว่าตนเองเปน็ พลงั ทางการเมืองอย่างหนง่ึ ยังคงมนี ้อย จงึ ยังไม่สนใจเรยี กร้อง
สทิ ธิทางการเมือง ยงั มคี วามเปน็ อยู่แบบดง้ั เดิม แต่ไมย่ อมรับอาํ นาจเดด็ ขาดของหัวหน้าเผ่า
อยา่ งเครง่ ครัดหนั มายอมรบั กฎ ระเบียบของส่วนกลาง

วัฒนธรรมทางการเมืองแบบนคี้ อื แบบทป่ี รากฏมากในช่วงแรก ๆ ของการรวมท้องถนิ่ ต่าง
ๆเป็นอาณาจกั ร โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในสมัยโบราณ

14

๒. วัฒนธรรมทางการเมอื งแบบไพรฟ่ ้าผสมมสี ว่ นร่วม (The subject - participant culture) วฒั นธรรม
การเมืองแบบน้ปี ระชาชนจะแบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท คอื
พวกที่มีความเขา้ ใจถงึ บทบาท คดิ วา่ ตนเองมีบทบาทและมอี ทิ ธพิ ลที่จะทาํ ให้เกิดการเปลย่ี นแปลงทาง
การเมอื ง มีความรสู้ กึ ไวต่อวตั ถุทางการเมืองทุกชนิดและมคี วามกระตือรือรน้ ท่ีจะเขา้ ร่วมทางการเมือง
กบั พวกทยี่ งั คงยอมรบั ในอํานาจของอภสิ ิทธชิ์ นทางการเมอื ง และมีความเฉือ่ ยชาทางการเมอื ง
วฒั นธรรมทางการเมืองแบบนีป้ รากฏในยุโรปตะวนั ตกเช่น ฝร่งั เศส เยอรมนีและอติ าลใี นศตวรรษท๑่ี ๙ ตน้
ศตวรรษที่๒๐และประเทศกาํ ลังพฒั นาหลายประเทศในปัจจุบนั
ลกั ษณะสําคญั ทีเ่ ป็นผลของวฒั นธรรมทางการเมอื งแบบนคี้ ือ การสลบั สบั เปลีย่ นระหวา่ งรฐั บาลอํานาจนิยม
กับรัฐบาลประชาธปิ ไตย
ทง้ั นีเ้ พราะคนในสังคมเพยี งสว่ นหน่ึงเทา่ น้นั ทม่ี วี ฒั นธรรมแบบมสี ว่ นร่วม แม้จะตอ้ งการการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตย แตใ่ นเม่ือคนส่วนใหญ่ยงั คงมีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า ยังคงนยิ มการปกครองแบบ
อาํ นาจนยิ มอยู่บรรดาผมู้ ีวฒั นธรรมแบบมสี ว่ นร่วมจึงขาดความม่ันใจในความสําเร็จของการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย
วัฒนธรรมแบบนม้ี ีผลทาํ ใหเ้ กิดความไม่มนั่ คงในโครงสรา้ งทางการเมือง

15

๓. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบผสมมีส่วนร่วม (The parochial - participant
culture)
เป็นรูปแบบท่ีเกิดอยู่ในประเทศเกิดใหม่และเป็นปัญหาในการพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมือง
กลา่ วคือ ประชาชนในประเทศเหล่าน้สี ว่ นมากจะมวี ฒั นธรรมทางการเมอื งแบบคับแคบ
แต่จะถูกปลุกเร้าในเร่ืองผลประโยชน์ทางเช้ือชาติศาสนา ทําให้เกิดความสนใจที่จะเข้ามีส่วน
รว่ มทางการเมือง เพือ่ คมุ้ ครองประโยชนเ์ ฉพาะกลุ่มของตนเอง
การพยายามเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองเพ่ือรักษาผลประโยชน์ของกลุ่มตนเองอาจนําไปสู่
ความขัดแย้งทางการเมือง โดยกล่มุ ชนหนง่ึ อาจมีแนวคิดเอนเอยี งไปทางอาํ นาจนยิ ม
ในขณะท่ีอีกกลุ่มหน่ึงอาจเอนเอียงไปทางประชาธิปไตยลักษณะความขัดแย้งนี้ทํา ให้
โครงสร้างทางการเมอื งไมข่ นึ้ อยกู่ ับรูปแบบใดรูปแบบหนงึ่

16

นอกจากน้ีEthridge and Handelman แบ่งวัฒนธรรมทางการเมืองอย่างกว้าง ๆ ออกเป็น
๒ ประเภท ดังน้ี
๑. วัฒธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย (Democratic political culture) ประชาชนมี
ความใจกว้าง ยอมรับในความคิดเห็นที่แตกต่างจากตน มีความอดทน อดกล้ันในสิ่งท่ีตนไม่
เห็นดว้ ย และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ทเ่ี กิดขน้ึ ในสงั คมดว้ ยวิถที างประชาธิปไตย เมื่อมกี ารเลือกตั้ง
ก็ยอมรับในผลของการเลือกต้ัง แม้ฝ่ายตนพ่ายแพ้ก็ไม่มีการตีรวนเพื่อล้มเลิกการเลือกตั้งน้ัน
แตอ่ ยา่ งใด
๒. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบอํานาจนิยม (Authoritarian political culture)
ประชาชนไม่มีความอดทน อดกลั้น ไม่ยอมรับในความคิดเห็นท่ีแตกต่างจากตน เน่ืองจากเน้น
ในเรื่องของความสงบเรียบร้อยของสังคมเป็นสํา คัญ จึงเห็นว่า ความคิดเห็นที่แตกต่าง
หลากหลายอาจก่อผลกระทบอนั เลวร้ายหรือสร้างความวุ่นวายให้กบั สงั คมได้

17

ความสาํ คญั ของวัฒนธรรมทางการเมือง

๑.วัฒนธรรมทางการเมอื งคือ ปจั จัยสําคัญทีช่ ว่ ยเสริมสรา้ งความชอบธรรมทางการเมืองให้กับ
ระบบการปกครองของแต่ละรัฐและทํา ให้ระบบการเมืองของแต่ละรัฐดํา รงคงอยู่ได้อย่าง
ราบร่ืน เพราะประชาชนจะให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมือกับรัฐบาล โดยการเชื่อฟัง
คําสั่งและกฎหมายต่าง ๆ อันทาํ ใหเ้ กดิ ความมีระเบียบของสงั คม
๒. วัฒนธรรมทางการเมืองเป็นปัจจัยสําคัญในการกระตุ้นหรือริเร่ิมให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี้มักได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตกและมักจะเกิดใน
หมูช่ นชั้นผู้นาํ ของสงั คม (elite) ซ่งึ ไม่พอใจสภาพการปกครองทางการเมืองท่ีล้าหลังและด้อย
ประสิทธิภาพ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชนได้จึง
ต้องการใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงทางการเมอื ง

18

องค์ประกอบของวฒั นธรรมทางการเมือง

● ความไวว้ างใจ ความไม่ไวว้ างใจและความสงสัย
● การใหค้ วามสาํ คัญต่อความเทา่ เทียมของฝ่ายตรงขา้ ม
● เสรภี าพและการใหค้ วามสําคญั ของพลงั ฝ่ายตรงข้าม
● ความภกั ดีและความผกู พันในสังคม

19

ความไว้วางใจ ความไม่ไว้วางใจและความสงสัย วัฒนธรรมทาง
การเมืองจะถูกสร้างข้ึนในสังคมโดยพื้นฐานของความเช่ือความ
ไว้วางใจต่อผู้ตามคอื ประชาชน

ความไม่วางใจและความสงสัยจึงเป็นวัฒนธรรมทางการเมืองที่
จะต้องสร้างข้ึนในสังคมท่ีต้องการพัฒนาทางการเมืองเพ่ือให้
ผู้ปกครองประเทศใชอ้ ํานาจอยา่ งมีเหตมุ ีผลยง่ิ ขึ้น

20

การให้ความสําคัญต่อความเท่าเทียมของฝ่ายตรงข้าม
โดยทั่วไปวัฒนธรรมทางการเมืองของทุกสังคมเก่ียวข้องกับทัศนคติ
เรื่องอํา นาจ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีอํานาจเหนือกว่าและด้อย
กว่า ระหว่างผู้นําและผู้ตามในการพัฒนาทางการเมืองจึงจํา เป็นท่ี
จะต้องมีผู้นํา ที่มีประสิทธิภาพ แต่ขณะเดียวกันผู้นํา น้ันจะต้องให้
ความสําคัญต่อความเทา่ เทียมของฝา่ ยตรงข้าม และจะต้องไม่แสวงหา
อาํ นาจเพือ่ คงไว้ซ่ึงตาํ แหน่งทางการเมือง

21

เสรีภาพและการให้ความสําคัญของพลังฝ่ายตรงข้าม
เพ่ือเสรีภาพในการแสดงออกซึ่งความคิดเห็นในสังคมนั้น ๆ
อันเป็นองค์ประกอบที่สําคัญของวัฒนธรรมทางการเมืองใน
การพฒั นาทางการเมือง

22

ความภักดีและความผูกพันในสังคมโดยเฉพาะความผูกพันใน
ครอบครัวกลุ่มสังคมเล็กๆขึ้นมาถึงความผูกพันของคนท้ังชาติ
ประชาชนจะต้องมีแนวความคิดพ้นจากความแคบ ๆเฉพาะกลุ่มของ
ตนไปสแู่ นวทางท่ีเห็นระบบการเมืองทั้งระบบทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับประชาชน

23

วิสุทธิ์ โพธิแท่น ได้สรุปว่าวัฒนธรรมการเมืองประชาธิปไตย จะ
ประกอบด้วย ดงั นี้
๑. ความมีเหตุผล หมายความว่า การดํา เนินชีวิตของนักประชาธิปไตยจะต้อง
ใช้เหตุผลประกอบเสมอ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในเรื่องที่เก่ียวข้องกับส่วนรวม หรือ
เก่ียวข้องกับคนอนื่ ๆ เหตผุ ลทน่ี ํามาใช้นั้นจะต้องพิจารณาถึงความสมเหตุสมผล
เปน็ สําคัญ
๒. เคารพตนเคารพท่าน หรือการเคารพซึ่งกันและกัน คือ การเคารพในความ
เป็นคน หรือความเป็นมนุษย์โดยไม่แบ่งชั้นวรรณะไม่ดูถูกดูแคลนกันเพราะถือยศ
ถือศักด์ถิ ือฐานะ ถอื ชาตติ ระกลู ถอื ชนชั้น และจะต้องเคารพในความสามารถของ
กันและกนั

24

วิสุทธ์ิ โพธิแท่น ได้สรุปว่าวัฒนธรรมการเมืองประชาธิปไตย จะ
ประกอบด้วย ดังน้ี (ต่อ)
๓. ความอดกล้ันในความแตกต่าง หมายถึง การยอมรับความแตกต่างของกัน
และกันว่าเป็นเร่ืองปกติของมนุษย์ท้ังในเรื่องความแตกต่างทางกายภาพและ
พฤติกรรม ความรู้สึกนึกคิดการแสดงออกซึ่งความคิดเห็น ตราบใดที่ความ
แตกต่างน้ันไม่ทําความเดือดร้อนเสียหายแก่ผู้ใด ผู้มีวัฒนธรรมการเมือง
ประชาธิปไตยจะไม่กล่าวหาใครง่าย ๆ โดยไม่คิดใคร่ครวญให้รอบคอบเสียก่อน
ซ่ึงการอดกลั้นในความแตกต่าง จะเกิดข้ึนได้ก็ต่อเม่ือคนเรามีความเคารพซ่ึงกัน
และกนั
๔.ตกลงกันอย่างสันติวิธีหมายถึง การดํารงและดําเนินชีวิตร่วมกันในสังคมอย่าง
สันติถ้อยทีถ้อยอาศัย เอาใจเขามาใส่ใจเราด้วยความรักความปรารถนาดีต่อกัน
ไม่มงุ่ รา้ ย ไมร่ ิษยาอาฆาต หรือไม่ใช้ความรุนแรงในการตัดสินปัญหาไม่ว่าจะเป็น
รปู แบบใด

25

วิสุทธ์ิ โพธิแท่น ได้สรุปว่าวัฒนธรรมการเมืองประชาธิปไตย จะ
ประกอบดว้ ย ดังนี้ (ตอ่ )
๕.รู้จักมีส่วนร่วมทางการเมือง หมายความว่า ผู้มีวัฒนธรรมประชาธิปไตย
จะต้องรู้จักที่จะมีส่วนร่วมทางการเมืองในรูปแบบต่าง ๆด้วยการกระทําอย่าง
สมเหตุสมผลตามหลักการประชาธิปไตย เพื่อที่จะให้เกิดความถูกต้อง เหมาะสม
และเป็นประโยชนต์ ่อสังคมมากกวา่ เป็นโทษ
๖.ไม่ลืมเร่ืองสิทธิและหน้าที่หมายความว่า ทุกคนในสังคมประชาธิปไตยต้อง
ตระหนกั วา่ แตล่ ะคนต่างมที ัง้ สทิ ธแิ ละหน้าที่ตามหลกั การของประชาธิปไตย สิทธิ
คือ ประโยชน์ท่ีกฎหมายรับรองและคุ้มครองให้หรือสิ่งที่คนแต่ละคนจะได้จาก
สังคมซ่ึงคนแต่ละคนจะต้องใช้สิทธิของตนเองให้เหมาะสมโดยไม่ไปละเมิดสิทธิ
ของผอู้ น่ื หน้าท่ีคือสิ่งที่คนแต่ละคนจะตอ้ งทาํ ใหแ้ ก่สังคมและประเทศชาติคนแต่
ละคนก็ต้องทาํ หน้าท่ใี นฐานะต่างๆ ทตี่ นเป็นอย

26

วิสุทธ์ิ โพธิแท่น ได้สรุปว่าวัฒนธรรมการเมืองประชาธิปไตย จะ
ประกอบด้วย ดังน้ี (ต่อ)
๗.ทําดีเพ่ือประโยชน์ส่วนรวม หมายถึง การท่ีแต่ละคนคิดและทําาตนให้เกิด
ประโยชน์ต่อส่วนรวม เม่อื สว่ นรวมไดป้ ระโยชน์ คนแต่ละคนก็ได้ประโยชน์ด้วย
เพราะคนแต่ละคนเป็นองค์ประกอบของคนทั้งหมด ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าคน
แต่ละคนจะแสวงประโยชน์ส่วนตัวไม่ได้คนแต่ละคนย่อมแสวงหาประโยชน์
ส่วนตวั ได้เสมอตราบใดที่ประโยชน์ส่วนตัวหรือการแสวงหาประโยชน์ส่วนตัวน้ัน
ไมท่ ําใหผ้ อู้ ่นื เสยี หายหรอื เดือดรอ้ น
๘. มีอุดมการณ์ร่วมคือ แน่วแน่วัฒนธรรมประชาธิปไตยในข้อน้ีแสดงให้เห็นว่า
การจะสร้าง พัฒนา และธํา รงรักษาความเป็นประชาธิปไตยของประเทศให้อยู่
ในระดับสูงได้น้ัน คนส่วนใหญ่ในประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ผู้นํา ” ในระดับ
ต่าง ๆ ของสังคมต้องรู้จักและเข้าใจสาระสําคัญของประชาธิปไตย และมีความ
ตอ้ งการประชาธปิ ไตยดว้ ย

27

วิสุทธิ์ โพธิแท่น ได้สรุปว่าวัฒนธรรมการเมืองประชาธิปไตย จะ
ประกอบด้วย ดังนี้ (ต่อ)
๙. เห็นแก่ประเทศชาติหรือมีความรักชาติหมายความว่าการที่คนเรามีความสํา
นึกในความเป็นชาติของตน มีจิตสํา นึกของความเป็น ชาตินิยม มีความรักและ
ภูมิใจในประเทศชาติของตน ต้องการให้ประเทศชาติเจริญรุ่งเรือง ราษฎร
พลเมืองมีความสันติสุข ร่วมกันทํา นุบํา รุงส่ิงท่ีดีอยู่แล้ว และสร้างส่ิงดีท่ีขาด
แคลนขึน้ มาใหม่ขจดั สิ่งทีไ่ ม่ดีงาม
๑๐. พัฒนาความรู้ความสามารถของตน หมายความว่าคนที่มีคุณภาพท่ีจะ
สามารถช่วยสร้างชาติให้เจริญรุ่งเรืองได้นั้นจะต้องพัฒนาความรู้ความสามารถ
ของตนเอง และของกันและกันอยู่เสมอให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
คนเราเมื่อเชื่อว่าตนเองมีความรู้ความสามารถก็จะมีความม่ันใจในตัวเอง และ
เชื่อมั่นในการกระทําของตัวเอง คนที่มีความมั่นใจในตัวเองย่อมมีโอกาสที่จะทํา
การสิ่งใดให้ประสบความสํา เร็จไดม้ ากกวา่ คนท่ไี มม่ ีความม่นั ใจในตวั เอง

28

อทิ ธิพลของวฒั นธรรมทางการเมืองทีม่ ผี ลตอ่ คนในสงั คม

วฒั นธรรมทางการเมือง เปน็ ลกั ษณะส่วนหน่งึ ของวฒั นธรรมสังคม จะชว่ ยใหเ้ กดิ ความรคู้ วาม
เข้าใจพฤตกิ รรมทางการเมอื งตา่ ง ๆ ไดด้ ขี ้นึ พฤตกิ รรมจะเกดิ หรอื ไมเ่ กดิ ขนึ้ อย่กู ับสง่ิ อืน่ ๆ อีก
หลายอยา่ ง ดงั นี้
๑. มีผลต่อวิธีการทบี่ คุ คลจะตอบโต้ตอ่ เหตกุ ารณ์ทีเ่ กดิ ขึ้นในระบบการปกครอง เช่น เมอ่ื เกิด
รัฐประหารข้ึนในประเทศหนงึ่ อาจจะพบวา่ บางประเทศคนในชาตจิ ะรวมกาํ ลงั กันต่อตา้ น แตใ่ น
บางประเทศจะพบว่าคนในชาติใหก้ ารสนับสนนุ
๒. มีอิทธิพลโดยตรงตอ่ เป้าหมายของการแสดงพฤตกิ รรมทางการเมืองของบคุ คล
๓. เปน็ เครอ่ื งบง่ บอกถึงวิธกี ารท่ีแตล่ ะคนจะเขา้ ไปเก่ยี วขอ้ งกับวถิ ีทางการเมือง
๔. เป็นเครื่องบง่ บอกถงึ ปทสั ถาน (แบบแผนสํา หรบั ยึดถอื เปน็ แนวทางปฏบิ ัติ) ของบคุ คลที่จะ
มสี ่วนกาํ หนดวธิ ีการที่ใชเ้ พ่ือบรรลเุ ปา้ หมายทางการเมอื ง

29

อิทธพิ ลของวัฒนธรรมทางการเมืองที่มีผลตอ่ คนในสงั คม(ต่อ)

วัฒนธรรมทางการเมอื ง เป็นลักษณะส่วนหนึ่งของวฒั นธรรมสงั คม จะช่วยให้เกิดความรู้ความ
เขา้ ใจพฤตกิ รรมทางการเมอื งตา่ ง ๆ ได้ดขี ้นึ พฤติกรรมจะเกดิ หรือไม่เกิดข้นึ อย่กู ับส่งิ อ่นื ๆ อีก
หลายอย่าง ดังน้ี
๕. เป็นเครื่องบอกให้ รู้ถึงตาํ แหน่งท่มี อี ทิ ธิพลและพลังอํา นาจทางการเมอื งของแตล่ ะกลุม่
หรอื บคุ คล ทาํ ใหร้ ู้ว่าในเรือ่ งหนงึ่ เรอ่ื งใดน้ันเราควรจะตดิ ต่อกบั ใคร และรู้วา่ ใครมอี ทิ ธพิ ล
เหนอื ใคร
๖. ทําใหท้ ราบว่าหากต้องการติดต่อในเร่อื งทางการเมืองผู้ติดต่อจะตอ้ งกล่าวถงึ อะไรและพอจ
ประเมินไดว้ า่ ผลของการกล่าวถงึ นั้นจะออกมาอย่างไร
๗.ข้อพึงระวงั คอื แมจ้ ะมโี ครงสรา้ งทางการเมืองที่คลา้ ยคลงึ กัน เชน่ มพี รรคการเมอื งและมี
รัฐสภา แต่หากวัฒนธรรมทางการเมอื งต่างกัน ก็จะทาํ ให้การปฏิบตั ิหน้าทีข่ องสถาบัน
การเมืองต่างกนั ไป จนอาจประสบความล้มเหลวไดใ้ นที่สุด

30

การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยผ่าน
กระบวนการจัดการศกึ ษา

ให้ความสําคัญประชาชนเหล่านั้นจะต้องมีสํา นึกในความเท่าเทียมกัน
(Sense of equality)ในสิทธิระหว่างปัจเจกบุคคล (บุคคลแต่ละคน) ภายใต้
ความเป็นพลเมืองของรัฐ (Citizenship) ในหลักการเสรีประชาธิปไตย โดยมี
เป้าหมายปกป้องคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนผู้เป็นเจ้าของอํานาจ
อธิปไตยของรัฐ

31

พลเมืองยอ่ มได้รบั การรบั รองสิทธิจากรฐั อย่างเทา่ เทียมกนั ใน ๓ ด้าน
ประกอบด้วย

๑. สิทธิพื้นฐานของพลเมอื ง (Civil rights) ซง่ึ ประกอบดว้ ยสิทธใิ นการไดร้ ับความเสมอภาค
ภายใตก้ ฎหมาย สทิ ธิเสรีภาพส่วนบุคคล สิทธิครอบครองทรัพย์สิน หรือสิทธิในการทาํ สญั ญา
๒. สิทธิทางการเมือง (Political rights) ได้แก่สิทธิในการเลือกตั้ง สิทธิการเข้าสู่ตําแหน่งทาง
การเมือง สทิ ธิการรวมกลุม่ สมาคมหรอื พรรคการเมือง เป็นต้น
๓. สิทธิทางสังคม (Social rights) ได้แก่สิทธิในการเข้าถึงสวัสดิการพื้นฐานทางสังคมและ
เศรษฐกิจ เช่น สวัสดิการการรักษาพยาบาล การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สิทธิในการประกอบอาชีพ
และการประกันสังคม เป็นต้น

32

การเสริมสร้างวัฒนธรรมแบบประชาธิปไตยท่ีมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลสามารถเกิดข้ึนได้โดยกระบวนการเสริมสร้างความรู้ทางการเมืองแก่
พลเมอื ง (Civic education) สองแนวทาง คือ
แนวทางแรก กระบวนการที่เป็นทางการ เช่น ปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาท้ังใน
และนอกระบบเพือ่ เสรมิ สร้างความรูท้ างการเมอื งแกพ่ ลเมือง
แนวทางท่ีสอง กระบวนการท่ีไม่เป็นทางการ เช่นการรวมกลุ่มอย่างสมัครใจ
(Voluntary associations) และการสรา้ งเสริมปฏสิ มั พันธข์ องคนในสังคม

33

การกระตุ้นการมีส่วนร่วมในวิถีสาธารณะ และปลูกฝัง “ความผูกพันกับ
ชุมชน” (Community attachment) หรือความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
และชุมชน (Group identity) ได้อย่างเป็นธรรมชาติซึ่งการพัฒนาความรู้สึก
เป็นส่วนหน่ึงของชุมชนเป็นปัจจัยสําคัญต่อการเสริมสร้างวัฒนธรรมทาง
การเมืองแบบประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วม เนื่องจากความรู้สึกว่าตนเป็น
ส่วนหนึ่งของชุมชนจะทํา ให้คนเกิดความรู้สึกผูกพันและต้องการมีส่วนร่วมใน
วถิ พี ลเมือง (Civic life) อย่างกระตอื รือร้น

34

ตัวชี้วัดความสําเรจ็ ของการเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย และการมี
ส่วนรว่ มทางการเมอื ง ประกอบดว้ ย

๑. ประชาชนมีความรทู้ างการเมอื ง
๒. ประชาชนมีทกั ษะในการเปน็ พลเมอื ง เช่น ยอมรับในความแตกตา่ ง
๓. ประชาชนมคี วามไวว้ างใจในสงั คมและสถาบนั ทางการเมอื งตัวช้ีวดั เหล่านค้ี ือ
เป้าหมายหลกั ของการเสรมิ สร้างความรู้ทางการเมืองแก่พลเมือง

35

การพัฒนาทางการเมือง (Political Development)

หมายถึงกระบวนการทางการเมือง อันได้แก่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์กรทาง
การเมืองและกิจกรรมทางการเมืองท่ีจะนํา ไปสู่การบรรลุเป้าหมายทางการเมือง
ท่ีปรารถนา นอกจากนี้การพัฒนาทางการเมืองยังหมายถึงการเปลี่ยนแปลง
ระบบการเมืองให้ทันสมัย การพัฒนาระบบการเมือง ระบบบริหาร ระบบ
เศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพ และการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ
ประชาชน

36

ลูเช่ียน ไพย์ (Lucian w. Pye ลูเชียนดับบลิวพายเป็นนักวิทยาศาสตร์

การเมืองชาวอเมริกันผู้ชํานาญด้านไซนัสและการเมืองเชิงเปรียบเทียบถือว่าเป็นหน่ึงในนักวิชาการ

ชั้นนําของจีนในสหรัฐอเมริกา การศึกษาที่วิทยาลัย Carleton และมหาวิทยาลัยเยล ) ให้
ความหมายของการพัฒนาทางการเมืองว่า การพัฒนาทางการเมือง หมายถึง
การเสริมสร้างให้ระบบการเมืองเอ้ือ หรือส่งเสริมต่อการพัฒนาท้ังทางเศรษฐกิจ
และสงั คม

37

สมบัติ ธํารงธัญวงศ์ ให้ความหมายของการพัฒนาทางการเมือง
ว่าระบบการเมืองท่ีจะส่งเสริมการพัฒนาทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมเพ่ือ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่ก็คือ ระบบการเมืองท่ีเปิด
โอกาสให้ประชาชนมีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการควบคุม กํา กับตรวจสอบ
นักการเมืองและผู้บริหารอย่างใกล้ชิด ระบบการเมืองดังกล่าวจึงจะถือว่าเป็น
“ระบอบประชาธปิ ไตย” ท่แี ท้จริง

38

เฮาเวิด ริกกินส์ (Howard Wriggins) (นักการฑูต นักเขียนและผู้หลักวิชาการ)
ให้ความหมายของการพัฒนาทางการเมืองว่า เป็นความเจริญก้าวหน้าของ
สถาบันและวิธีการดําเนินการทางการเมือง ซึ่งสามารถช่วยให้ระบบการเมืองได้
จัดการกับปัญหาพ้ืนฐานทางการเมืองได้มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น และสามาร
ปฏิบตั งิ านไดต้ รงกับความต้องการของประชาชนมากย่ิงขน้ึ

39

องคป์ ระกอบของการพัฒนาทางการเมือง

การพัฒนาทางการเมืองไม่ว่าจะพิจารณาในทัศนะใดก็ตาม จะต้องประกอบไปด้วยคุณลักษณะ
สําคญั ทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบของการพฒั นาทางการเมืองดังนคี้ ือ

๑. ความเสมอภาค (Equality)
๒. ความสามารถของระบบการเมอื ง (Capacity)
๓.การแบ่งโครงสร้างทางการเมืองให้มีความแตกต่าง และมีความชํานาญเฉพาะ
(Differentiationand Specialization)
๔.การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผล (Secularization of Political
Culture)
๕.ความเปน็ อิสระของระบบยอ่ ย (Subsystem Autonomy)

40

๑.ความเสมอภาค(Equality)

คือ ประชาชนจะต้องมีความเสมอภาคในการเข้ามามีส่วนร่วมทางการ
เมือง ทั้งในการใช้สิทธิทางการเมือง และในการร่วมกิจกรรมทางการ
เมือง นอกจากน้ีประชาชนจะต้องมีความเสมอภาคตามกฎหมาย
กฎหมายจะต้องมีผลบังคับใช้ต่อประชาชนอย่างเท่าเทียมกันไม่ว่าจะ
ฐานะรํ่ารวย หรือยากจนจะต้องได้รับความคุ้มครองจากกฎหมายและ
กระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน นอกจากน้ันความ
เสมอภาคยังครอบคลุมไปถึงความเสมอภาคทางการเมือง เศรษฐกิจ
และสงั คม

41

๒.ความสามารถของระบบการเมอื ง (Capacity)

หมายถึง ความสามารถท่ีระบบการเมืองจะสนองตอบต่อความต้องการของ
ประชาชนในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ถ้าระบบการเมืองมีสมรรถนะสูง
นโยบายสาธารณะท่ีเกิดจากกระบวนการตัดสินใจของระบบการเมืองจะผลักดัน
ให้มีการพัฒนาประเทศทุกด้าน เพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี
นอกจากน้ันสมรรถนะของระบบการเมืองยังครอบคลุมไปถึงการนํา นโยบายไป
ปฏิบัติ(Implementation)ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และอย่างมีประสิทธิผล
(Efficiency and Effectiveness)

42

๓. การแบ่งโครงสรา้ งทางการเมอื งให้มคี วามแตกตา่ ง และมีความ
ชํานาญเฉพาะ (Differentiation and Specialization)

เป้าหมายของการพัฒนาระบบการเมือง จะต้องส่งเสริมให้โครงสร้างทาง
การเมืองมีความแตกต่างกันตามภารกิจ และมีความชํานาญเฉพาะในการปฏิบัติ
ภารกิจเพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชน ดังน้ัน หน่วยงานต่าง ๆ ของ
รัฐบาลจะต้องจัดต้ังให้เหมาะสมกับภารกิจท่ีรับผิดชอบ จะได้ปฏิบัติงานอย่างมี
ประสทิ ธิภาพและทาํ ใหป้ ระชาชนได้รบั ความพงึ พอใจจากบริการของรัฐบาล

43

๔ . ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง ก า ร เ มื อ ง แ บ บ มี เ ห ตุ ผ ล
(Secularization of Political Culture)

โดยทั่วไปสังคมแบบดั้งเดิมท่ีปกครองแบบอํานาจนิยม มักปลูกฝังให้ประชาชน
ยึดมั่นในจารีตประเพณีโดยไม่มีเหตุผล ยึดถือโชคลาง ปลูกฝังให้ประชาชนเห็น
วา่ ผ้ปู กครองเปน็ ผูม้ บี ุญบารมีส่วนประชาชนท่ียากจนเป็นเพราะกรรมเก่าแต่ชาติ
ปางก่อนดังน้ันการพัฒนาทางการเมืองจึงเน้นส่งเสริมให้ประชาชนใช้เหตุผลใน
การดํารงชีวิต มีเหตุผลในการกํา กับดูแล ตรวจสอบระบบการเมืองอย่างใกล้ชิด
วัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผลจะพบในสังคมอุตสาหกรรมท่ีประชาชน
คอ่ นข้างมกี ารศกึ ษาดแี ละประชาชนเป็นชนช้นั กลางมาก

44

๕.ความเปน็ อิสระของระบบยอ่ ย (Subsystem Autonomy)

องค์ประกอบของการพัฒนาทางการเมืองท่ีสําคัญประการหน่ึงก็คือความเป็น
อิสระของระบบย่อย ระบบการเมืองใดก็ตามที่มีระบบย่อยที่มีความเป็นอิสระ
น้อยหรือไม่มีความเป็นอิสระเลยแสดงว่าระบบการเมืองนั้นเป็นระบบศูนย์รวม
อาํ นาจ (Centralization)
ระบบศูนย์รวมอํานาจ ลักษณะการรวมศูนย์อํานาจจะทํา ให้ประสิทธิภาพในการ
แก้ไขปัญหาของประชาชนและการให้บริการล่าช้า เพราะผู้บริหารอยู่ห่างไกล
จากสภาพปญั หาอันแทจ้ ริงของประชาชนและความผกู พนั (Commitment) ใน
การตอบสนองความต้องการของประชาชน
หากระบบการเมืองเป็นการกระจายอํานาจ (Decentralization) จะทําให้ระบบ
ย่อยมีความเป็นอิสระสูง เช่น หน่วยงานระดับล่างมีอิสระในการปกครองตนเอง
ตลอดจนมีอิสระในการกํา หนดทิศทางในการพัฒนาชีวิตและชุมชนของตน
ดังน้ันความเป็นอิสระของหน่วยย่อยต่าง ๆได้แก่การให้อิสระแก่หน่วยการ
ปกครองท้องถน่ิ ระบบพรรคการเมืองและกลุม่ ผลประโยชน์

45

แนวทางในการพฒั นาทางการเมอื งของไทยใหเ้ ปน็ ประชาธปิ ไตย

การพัฒนาทางการเมืองให้เป็นประชาธิปไตย เก่ียวข้องกับองค์ความรู้ในเร่ืองระบอบ
ประชาธิปไตย วัฒนธรรมทางการเมือง และการพัฒนาทางการเมือง ซึ่งจะต้อง
บูรณาการใหส้ อดประสานเปน็ อนั หน่งึ อันเดยี วกนั โดยมแี นวทางทส่ี าํ คัญดงั นี้

46

๑.การปฏิรูปทางการเมือง
อันได้แก่การแก้ไขกฎหมาย
รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ใ ห้ เ ป็ น
ประชาธิปไตยการพัฒนาระบบ
รัฐสภาการพัฒนาระบบพรรค
การเมืองการพัฒนาระบบการ
เลือกต้ัง การพัฒนาระบบ การ
ตรวจสอบทางการเมืองการ
ป้องกันการซื้อสิทธิขายเสียง
ฯลฯ

47

๒.การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย
ประเด็นนี้สําคัญมากถือว่าเป็น “หัวใจของการพัฒนาทางการเมือง ให้
เป็นประชาธิปไตย” นั่นคือต้องปลูกฝังให้ประชาชนมีจิตสํา นึก มี
ความรู้ความเข้าใจคุณค่าของระบอบประชาธิปไตย และหวงแหน
ระบอบประชาธิปไตย ต่อต้านระบอบเผด็จการ แต่การเสริมสร้าง
วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยน้ันเป็นกระบวนการที่ต้อง
ใช้เวลาและต้องมีมาตรการที่มีประสิทธิภาพ และมีความตั้งใจจริงจาก
ผู้นํา ทางการเมือง และต้องกระทําอย่างต่อเน่ือง ใช้ความพยายาม
ความอดทน ความจรงิ ใจ และความจรงิ จัง

48

๓. การพัฒนาระบบการศึกษา ทั้งนี้เนื่องจากระบบการศึกษา เป็น
กระบวนการพัฒนาคนให้มีความรู้ความเข้าใจ และกล่อมเกลาทาง
การเมือง (Political Socialization) ได้ดีท่ีสุดวิธีการหนึ่ง ท้ังรูปแบบ
การเสริมสร้างความรู้เก่ียวกับระบอบประชาธิปไตย ในทางทฤษฎีและ
ในทางปฏบิ ัตใิ นระบบโรงเรยี น และนอกระบบโรงเรยี น

49

๔. การพัฒนาระบบเศรษฐกจิ การพฒั นาทางการเมอื งจะบรรลุผลสํา เรจ็ ได้
มากนอ้ ยเพียงใดน้นั ขึ้นอยกู่ ับตวั แปรทางดา้ นเศรษฐกจิ ดว้ ยนนั่ คือ ถา้ ประชาชน
มีฐานะทางดา้ นเศรษฐกิจปานกลาง พอกนิ พอใชไ้ มม่ ีหนส้ี นิ ประชาชนจะใหค้ วาม
สนใจการเมือง และจะเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น

๔.๑ การสง่ เสริมอาชพี และรายไดแ้ ก่ประชาชนในชุมชนและเกษตรกรให้เปน็ รูปธรรม
โดยเฉพาะ “เกษตรแบบพ่งึ ตนเอง” หรือ “เกษตรแบบใหม”่ หรอื “เศรษฐกจิ แบบพอเพยี ง”
๔.๒ การกระจายความเจรญิ ไปสูช่ นบทและภูมิภาคต่าง ๆใหท้ วั่ ถึง
๔.๓ การกระจายรายได้ด้วยความเป็นธรรม และเสมอภาค
๔.๔ การพัฒนาปัจจัยโครงสรา้ งพน้ื ฐานด้านการเกษตร ในชนบทใหท้ ่วั ถงึ เพือ่ สนับสนนุ การ
ประกอบอาชพี ของเกษตรกร เชน่ ท่ีดนิ ทาํ กินแหลง่ นา้ํ ไฟฟา้ ถนน ฯลฯ
๔.๕ ส่งเสรมิ ระบบเศรษฐกจิ ใหม้ เี สถียรภาพท้ังภาคอตุ สาหกรรมภาคเกษตรกรรม ภาคพานชิ
ยกรรม และการบริการ โดยเนน้ การมวี ินัยทางการเงินการคลัง และการตรวจสอบได
๔.๖ การสร้างงานในชนบท เพือ่ ป้องกนั ปญั หาการอพยพ ไปขายแรงงานในเมอื งหลวงหรอื
เมืองใหญ่และปัญหาการอพยพยา้ ยถน่ิ อันทาํ ให้เกิดปัญหาอน่ื ๆ ตามมาตอ่ เนือ่ งกันเป็นลกู โซ

50


Click to View FlipBook Version