Department of Juvenile วารสาร
Observation and Protection
สารพินจิ
ปที ี่ 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดอื นกรกฎาคม - กนั ยายน ปงี บประมาณ 2565
DJOP
เทคโนโลยีความกา้ วหนา้ ของ 28 มกราคม 2495 - 2565
กบั การท�ำงานเพ่ือ www.djop.go.th
เดก็ และเยาวชนท่ีกา้ วพลาด
สนทนาเปิดเล่ม
คณุ ผอู้ ่านทราบหรือไมค่ ะวา่ วารสาร “สารพนิ จิ ” ในปี พ.ศ. 2565 น้ี ได้เดนิ ทางมาถึงปีท่ี 20 แลว้ ถ้าเปรยี บกับชวี ิต
ของคนเราก็เหมือนกับช่วงของวัยรุ่น ซึ่งเป็นวัยที่ก�ำลังจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในเวลาข้างหน้า แต่ส�ำหรับชาวพินิจแล้วนั้น
เราท�ำงานกับเด็กและเยาวชนมามากกว่า 20 ปี แม้ว่าการท�ำงานท่ีผ่านมาน้ันจะมีทั้งความสุขและทุกข์ปะปนกันไป แต่ก็เป็น
ความรู้สึกที่ “เหน่ือยแต่มีความสุข” จริงไหมคะ ^^ ความหมายของค�ำๆ นี้แฝงไปด้วยความรู้สึกอบอุ่นและอิ่มเอมใจ
ไปพร้อมกันอย่างบอกไม่ถูก และน่ีคือค�ำหรือวลีหนึ่งที่กองบรรณาธิการได้มาจากการสัมภาษณ์บุคคลส�ำคัญท่านหนึ่ง
จากคอลัมน์ “สารจากผู้บริหาร” จะเป็นใครน้ัน อย่าลืมพลกิ อา่ นกันต่อนะคะ
เมื่อปี พ.ศ. 2563 “ศูนย์การเรียนรู้ด้านการเกษตร ตามแนวทางปรัชญาเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อยกระดับ
และพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนท่ียั่งยืน” ได้ถูกก่อต้ังขึ้น ณ ต�ำบลคลองโยง อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
เพ่ือเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ด้านการเกษตร และสถานท่ีสาธิตด้านกสิกรรมต่างๆ ให้แก่เด็กและเยาวชน ตลอดจนบุคคล
ที่สนใจได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ จนบัดน้ีพื้นท่ีแห่งนี้ได้ถูกพัฒนาและต่อยอดนวัตกรรมสู่การน�ำพลังงานทดแทนมาใช้ จะเป็น
อยา่ งไรบา้ งนนั้ ตดิ ตามอ่านไดใ้ นคอลมั น์ “จากดนิ สู่ปา่ จากฟ้าสนู่ �ำ้ ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์”
ปัจจุบันเรามักจะไดย้ นิ ค�ำวา่ “Soft Skill” หรือ “ทกั ษะชวี ติ ” และค�ำวา่ “Metaverse” หรือ “โลกเสมือนจริง”
กันอยู่บ่อยครั้ง ซ่ึงทั้ง 2 ค�ำนี้ มีความหมายที่แตกต่างกัน แต่กลับใช้ร่วมกันได้อย่างไม่น่าเช่ือ และกรมพินิจฯ จะน�ำมาใช้กับ
การท�ำงานกับเจ้าหน้าที่ รวมทั้งเด็กและเยาวชนได้อย่างไร ติดตามอ่านได้ในคอลัมน์ ทักษะ “อ่อน” สู่โลกอนาคต และ
คอลมั น์ “เมตาเวิรส์ กับการจดั การเรยี นรใู้ นสถานท่คี วบคุม”
และพลาดไม่ได้กับเรื่องราวอีกมากมายภายในเล่ม อาทิ คอลัมน์ AI Judges ผู้พิพากษาปัญญาประดิษฐ์,
รู้จัก “โรคฝีดาษลิง”, รู้ศัพท์กฎหมายกับกรมพินิจฯ, ข้อควรรู้เก่ียวกับวินัย, “คนพินิจฯ” เราท�ำความดีด้วยหัวใจ และ
“จากวันที่พากเพียร สู่วันเกษียณที่ภาคภูมิ” ซึ่งคอลัมน์สุดท้ายนี้เป็นการเชิดชูเกียรติแก่ผู้เกษียณอายุราชการ
ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 นนั่ เองคะ่
ส�ำหรับ “สารพินิจ” ประจำ� ปี 2565 ต้องขอลาคุณผู้อ่านเพียงเท่านี้ หากท่านมีข้อเสนอแนะใดๆ อยากบอกกับเรา
สามารถส่งมาได้ผ่านแบบตอบรับวารสาร และร่วมส่งบทความดีๆ มาได้ผ่านทาง E-Mail : prdjop2563@gmail.com
และท่านยังสามารถอ่านหรือติดตามสารพินิจย้อนหลังได้ในรูปแบบ E-Book ผ่านการเผยแพร่ทาง >> เฟซบุ๊ก เว็บไซต์
และทวิตเตอร์ “กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน” นะคะ ปล. อย่าลืมแชร์และแบ่งปันวารสารเล่มน้ีกับเพ่ือนๆ
และบคุ คลรอบขา้ งเพือ่ ประชาสมั พนั ธเ์ ร่ืองราวดีๆ นสี้ สู่ าธารณะกนั ด้วยนะคะ...ขอบพระคณุ ค่ะ ^^
กองบรรณาธิการ
คณะผู้จดั ท�ำ สารบญั
ท่ีปรกึ ษา DJOP Content
อธิบดีกรมพินจิ และคุม้ ครองเดก็ และเยาวชน 5 คยุ สบายๆ กบั รองหญงิ
รองอธบิ ดีกรมพนิ จิ และคุ้มครองเด็กและเยาวชน (1) 9 จากดนิ สู่ป่า จากฟา้ สู่นำ้�
รองอธิบดีกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน (2) ดว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์
รองอธบิ ดกี รมพินจิ และคุ้มครองเด็กและเยาวชน (3) 11 ทกั ษะ “ออ่ น” สโู่ ลกอนาคต ตอนที่ 1
ความหมายและความสำ� คญั ของ Soft Skill
กองบรรณาธิการ 13 เมตาเวริ ส์ กับการจดั การเรียนรู้
ในสถานที่ควบคุม
เลขานุการกรม 15 AI Judges ผูพ้ พิ ากษาปัญญาประดิษฐ์
นางสาวจรุ พี ร โพธฆิ ัมพร 17 รจู้ กั “โรคฝดี าษลิง”
นางสาวอันธิกา บุญชู 19 ร้ศู ัพทก์ ฎหมายกับกรมพนิ ิจฯ
นางอิสรานุช หนนุ ตะคุ 20 ข้อควรรเู้ ก่ยี วกบั วินัย
วา่ ทีร่ อ้ ยตรหี ญงิ อสั ศิมา คงั ชะนนั ตอน แนวทางการลงโทษ
กรณีความผิดเกี่ยวกบั ยาเสพตดิ
ฝ่ายภาพและศิลปกรรม 21 “คนพนิ จิ ฯ” เราทำ� ความดีด้วยหวั ใจ
23 รอบร้ัวกรมพนิ ิจฯ
นายอมรชยั ศรีเสอื ลาน 25 แวดวงกรรมการสงเคราะห์
นางสาวศิริลกั ษณ์ ชัยมงคล 27 จากวนั ท่ีพากเพยี ร สวู่ ันเกษยี ณท่ีภาคภูมิ
นางสาวชมาพร นอ้ ยเจรญิ 33 DJOP Centre ศูนย์สรา้ งโอกาส
และบริการดา้ นอาชีพเดก็ และเยาวชน
เจา้ ของ 34 ผลิตภณั ฑ์สนิ ค้าสวัสดิการ
35 ข้อมูลขา่ วสารของราชการ
กรมพนิ ิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน 36 ของฝากจากผู้อ่าน
37 ขอเชิญชวนสง่ บทความ
พิมพ์ท่ี : 38 แบบตอบรบั วารสาร
บริษัท เนชั่นไฮย์ 1954 จำ� กดั
88/2 หมู่ 1 ต.บางไผ่ อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี
โทร. 0-2447-6280 มือถอื 095-5431238
แฟก็ ซ.์ 0-2447-6281
วรรณกรรม บทความ หรอื ข้อคิด
ที่ได้ปรากฏในวารสาร “สารพินิจ”
เป็ นผลงานของผู้เขียนโดยเฉพาะ
กองบรรณาธกิ ารไมจ่ �ำ เป็ นต้องเหน็ ด้วย
ส วารสาร
ารพินจิ
ปีที่ 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
เหน่อื ยแตม่ คี วามสขุ
คือ สิ่งที่พี่ค้นพบตอนเริ่มงาน
คยุ สบาย ๆ กบั กับกรมพินิจฯ ประโยคแรกท่ีบอกเล่า
เรอ่ื งราวของผหู้ ญงิ ทช่ี อ่ื วา่ นลนิ นาถ
ไกรนรา หรอื รองหญงิ รองอธบิ ดี
รองหญงิ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ
เยาวชน
สำ� หรบั วารสาร “สารพนิ จิ ” ฉบบั ท่ี 2 ประจำ� เดอื นกรกฎาคม-กนั ยายน 2565 น้ี
กองบรรณาธิการได้มีโอกาสร่วมพูดคุยกับรองหญิง ในประเด็นต่างๆ แต่ละประเด็น
มเี ร่อื งราวอยา่ งไรบ้าง ไปติดตามกนั ไดเ้ ลยคะ่ ......
จากจดุ เรมิ่ ตน้ ....สู่ปจั จบุ นั
พ่ีเริ่มท�ำงานที่กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ในฐานะ “นักสังคม
สงเคราะห”์ ปฏบิ ตั ิงานท่ีหน่วยปฏบิ ัตซิ ึ่งในอดตี เรยี กวา่ สถานฝึกและอบรมเดก็ และ
เยาวชน มีหน้าที่รับผิดชอบเด็กและเยาวชนกว่า 500 คน ซ่ึงนักสังคมฯ ในยุคพี่
มีโอกาสได้ท�ำทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน สมัยก่อนเทคโนโลยี
ในเร่ืองของการติดต่อส่ือสารไม่ได้มีทางเลือกมากเหมือนในปัจจุบัน การติดต่อ
สื่อสารของเด็กและเยาวชนกับครอบครัวจึงใช้จดหมายเป็นส่วนใหญ่
พ่ีต้องอ่านจดหมายเข้าและออกของเด็กและเยาวชนทุกฉบับ นอกจากน้ี
หน้าท่ีของนักสังคมฯ ยังมีเร่ืองของการจัดกิจกรรมบ�ำบัด การท�ำรายงาน
ขอปลอ่ ยตัวกอ่ นก�ำหนด ปลอ่ ยข้ันตำ่� การไปเย่ยี มบา้ น บางคร้งั ก็ต้องหาใบเกดิ
ให้กับเด็กและเยาวชน รวมถึงท�ำงานกับเครือข่าย โดยเฉพาะผู้พิพากษาสมทบ
อย่างเดียวท่ีนักสังคมฯ ในยุคพ่ีไม่ได้ท�ำคือ การสอนหนังสือ ถ้าจะให้เห็นภาพพ่ีว่ามันเหมือนประโยคฮิตของวัยรุ่นในยุคนี้
ท่ีว่า “เป็นทุกอย่างให้เธอแล้ว” ค�ำนี้ไม่เกินจริงเลยแต่ทุกอย่างที่เล่ามามันคือ ความสุขนะ เหนื่อยแต่ก็สุขใจมากเช่นกัน
เพราะรู้สึกอิ่มใจท่ีได้ท�ำ ความอ่ิมใจของพ่ีคือ การเห็นการเปล่ียนแปลงของเด็กและเยาวชน เราต้องเข้าใจก่อนเราไม่สามารถ
จะสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เด็กและเยาวชนท้ัง 500 คนของเราได้ แต่ถ้ามีเพียง 1 คนท่ีเปล่ียนแปลงไป มันท�ำให้ใจเราฟู
มันมีแรงให้เราได้ท�ำงานต่อ แต่ถ้าจะถามว่ามีกรณีที่มันไม่ส�ำเร็จไหม มีนะ แต่เราจะมาท้อไม่ได้เพราะเวลายังเดินต่อ เรามี
หน้าท่ีมาปรับแผน และชวนเด็กคิด ถ้าแผนแรกไม่ส�ำเร็จ แผนส�ำรองต้องถูกน�ำมาใช้ เราต้องช่วยเด็กและเยาวชนจนกว่า
เขาจะดูแลตวั เองได้ อาจจะไม่ส�ำเร็จในครั้งแรก แต่เราต้องทำ� ตอ่ ไปให้มนั สดุ ทาง.....
ซึ่งในการท�ำงานเราก็ต้องเติบโตเหมือนกัน ทุกคน
ที่ท�ำงานตรงน้ีก็ต้องมีความก้าวหน้า นอกจากพ่ีจะส่งเด็ก
และเยาวชนให้ถงึ ฝัง่ แลว้ พไ่ี ดพ้ ฒั นาตนเองด้วยความมงุ่ มั่น
ทุม่ เท ประจวบกบั การไดร้ บั โอกาสที่ดจี ากผู้ใหญ่ และเพื่อน
ร่วมงาน ท�ำให้พ่ีเติบโตขึ้น จนปัจจุบันพี่ได้ด�ำรงต�ำแหน่ง
รองอธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน มุ่งม่ัน
รวดเร็ว เป็นกันเอง จึงเป็นค�ำนิยาม 3 ค�ำที่บ่งบอกถึง
ความเป็นตัวพี่
5วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร
ารพินจิ
ปีท่ี 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
พเ่ี ปน็ คนทที่ ำ� อะไรแลว้ ตอ้ งไปใหส้ ดุ ทางมเี ปา้ หมาย มากข้ึน แต่ทั้งนี้ความเป็นกันเองของพี่ก็ต้องมาพร้อมกับ
ในการท�ำงานท่ีชัดเจน ท�ำอะไรเป็นขั้นตอน ถ้ามีปัญหา ความถกู ต้องถูกระเบียบดว้ ย
เกิดข้ึน ก็จะไม่อายที่จะบอกว่าเราท�ำผิดพลาด หรืออะไร
ทเ่ี ราไมร่ เู้ รากจ็ ะไมอ่ ายทจ่ี ะตอ้ งถาม หรอื อะไรทเี่ ราไมเ่ คยทำ� จากส่ิ งที่พ่ี เป็น น�ำไปสู่ แนวทาง
ก็จะไม่อายที่จะลองท�ำ พี่คิดเสมอว่าหากท�ำแล้วไม่ดี การบรหิ ารในฐานะผบู้ รหิ ารของกรมพินจิ ฯ
ก็แค่ปรับเปล่ียนวิธีใหม่ การท�ำงานกับเด็กและเยาวชน ซ่ึงส่ิงส�ำคัญอันดับแรกคือ เราต้องมี
กลุม่ น้ี มีประเด็นทที่ ้าทาย เพราะเมอื่ ถึงวนั ทีเ่ ขาตอ้ งกลับไป ความเชื่อมั่นว่าเด็กและเยาวชนสามารถ
สู่สังคม หลายคนถูกปฏิเสธจากสังคม และเม่ือเขาถูก เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ด้ ทั้ ง นี้ จ ะ ต้ อ ง เ ข้ า ใ จ
ปฏิเสธจากสังคม สิ่งท่อี าจจะเกิดกับเขาไดอ้ ีก คือ การหวน ถึ ง ปั ญ ห า แ ล ะ ศั ก ย ภ า พ ข อ ง เ ด็ ก แ ล ะ
ไปกระท�ำผิดซ�้ำ พี่จึงมีความต้ังใจว่าต้องช่วยเด็กและ เยาวชนแต่ละคน และพร้อมที่จะให้โอกาส
เยาวชนอย่างสุดก�ำลังความสามารถไปจนสุดทางของเขา ให้เขาได้น�ำศักยภาพน้ันออกมา พ่ีเชื่อว่า
ดังน้ันถ้าจะต้องนิยามความเป็นตัวพี่ ค�ำแรกท่ีพ่ีนึกถึงคือ หากเราไม่มีความเช่ือแบบน้ี เราจะท�ำงาน
ม่งุ ม่ัน อย่างไม่มคี วามสุข เพราะเราไมม่ ีเปา้ หมาย
นิยามต่อมาที่บ่งบอกความเป็นตัวพ่ีคือ รวดเร็ว ที่ชดั เจน
พเี่ ปน็ คนคิดเรว็ พูดเรว็ ท�ำเรว็ ปัญหาบางอย่างทีเ่ ราจ�ำเป็น
ต้องช่วยเหลือเด็กและเยาวชนบางปัญหารอไม่ได้ ต้องท�ำ ซึ่งแนวทางการบริหารงานของพ่ี จะแบ่งออกเป็น
เลยเท่านั้น เพราะจะก่อให้เกิดประโยชน์กับเด็กและ 2 ประเด็นใหญ่ๆ คือ
เยาวชนมากกว่า ซึ่งการคิดเร็ว ท�ำเร็ว น่าจะเป็นผลมาจาก 1.การบริหารระบบการด�ำเนิน
การทีพ่ ี่กล้าตัดสนิ ใจ และพรอ้ มรบั ผิดชอบเสมอ ผใู้ ตบ้ งั คับ งานเพื่อสรา้ งความเปลยี่ นแปลงใหแ้ ก่
บัญชาสะท้อนให้พี่ฟังว่า ท�ำงานกับพี่แล้วท�ำงานได้ง่าย เด็กและเยาวชน โดยการดึงเครือข่าย
เพราะมีคนกล้าฟันธงและพร้อมรับผิดชอบให้เขา แต่ใน เข้ามามีส่วนร่วม พ่ีมีหน้าท่ีในการพัฒนา
ขณะเดียวกันการคิดเร็ว ท�ำเร็วก็มีข้อเสียนะ แต่ถ้าเรา นโยบายโดยให้ผู้ใต้บังคับบัญชามาร่วมกันสร้างกลไก
เปรียบเทียบกันแล้ว ได้ประโยชน์มากกว่าโทษ พ่ีว่ามันก็ หรือเครื่องมือท่ีใช้ในการแก้ไข บ�ำบัด ฟื้นฟู เด็กและ
โอเค อย่างที่พี่เคยบอกว่า หากเราท�ำแล้วไม่ดี ก็แค่ เยาวชนให้มีประสิทธิภาพ และเท่าทันกับสถานการณ์
ปรับเปล่ียนวิธใี หม่ ที่เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นกลไกและเคร่ืองมือ
นอกจากน้ียังมีส่ิงท่ีเพ่ือนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับ ในเร่ืองของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
บัญชาพูดถงึ พเี่ สมอๆ คอื เปน็ กันเอง พ่เี ปน็ คนสบายๆ ไมม่ ี และส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ การจัดการศึกษา
พิธีรีตองมากมาย สามารถเข้ามาคุยกับพี่ได้ตลอด พ่ีเน้น
การพูดคุย เพราะพ่ีคิดว่าการพูดคุยกันจะท�ำให้เรารู้จักกัน
6 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นปลอ่ ย หรอื การจดั การความเปน็ อยู่ ส วารสาร
ของเด็กและเยาวชน โดยจะต้องค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุด
ของเด็กเป็นหลัก ทั้งน้ีต้องมีการส่งเสริมให้ครอบครัว ารพินจิ
ชุมชน และภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ
เดก็ และเยาวชน ทั้งในด้านของการแกไ้ ข บำ� บดั ฟ้นื ฟู และ ปที ี่ 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
การติดตามเด็กและเยาวชนภายหลังปล่อย การด�ำเนินงาน Department of Juvenile
อย่างเป็นระบบแบบน้ีพ่ีเช่ือว่าจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพ Observation and Protection
และประสิทธิผลสูงสุดต่อเด็กและเยาวชนแน่นอน
เพราะถ้าคนท�ำงานเขาไม่มีใจให้เรา เขาท�ำงานอย่างไม่มี
2.การบรหิ ารคน หลักสำ� คัญในการท�ำงาน ความสุข ผลงานย่อมออกมาไม่ดีแน่นอน ดังนั้นพ่ีจึงมักจะ
กับเด็กและเยาวชนท่ีก้าวพลาดคือ ต้องเช่ือก่อนว่าเด็กและ พูดคุย สังเกตพฤติกรรม รวมถึงสังเกตความรู้สึกของคนท่ี
เยาวชนมศี กั ยภาพและสามารถเปลย่ี นแปลงได้ ซงึ่ หลกั การนี้ เปน็ ผูใ้ ตบ้ งั คับบัญชาของพ่เี สมอ พีค่ ิดว่า การที่พ่ีชอบพดู คยุ
เป็นสิ่งแรกท่ีพี่จะบอกกับผู้ใต้บังคับบัญชาของพ่ี เพราะถ้า กับทุกคนเป็นกันเอง และเข้าถึงง่าย ส่งผลให้การท�ำงานใน
หากเขาไม่เชอ่ื เขาจะไมม่ ีความสุขในการทำ� งาน ส่งิ ถัดมาที่ บางครัง้ ง่ายขน้ึ ทีส่ ำ� คัญหากใครมอี ะไรใหพ้ ี่ช่วย พ่พี ร้อมจะ
พี่มักจะย�้ำกับทุกคนเสมอๆ คือ ให้ลองท�ำ พ่ีจะพูดกับ ช่วยเสมอ เหมือนพ่ีน้องที่ช่วยเหลือกัน ถ้าท�ำดีก็ต้องช่ืนชม
น้องๆ เสมอว่า “ไมต่ ้องกลัว เรารว่ มกนั คิดและวางแผนกัน ให้รางวัลเพ่ือเป็นขวัญก�ำลังใจ แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่พ่ีน้องของ
มาอย่างดีแล้ว พี่ตัดสินใจให้แล้ว ถ้ามีอะไรผิดพลาด เราท�ำผิด เราก็ต้องกล้าเตือนด้วยเช่นกัน เราจะไม่หลับหู
พ่ีจะเป็นคนรับผิดชอบให้ และถ้าหากสิ่งที่เราร่วมกันคิดมา หลับตา หรือปล่อยผ่านไปเดด็ ขาด
มีสิ่งที่ต้องปรับปรุงแก้ไข พวกเราทุกคนก็แค่มาร่วม
วางแผนใหม่ และลงมือทำ� อกี ครงั้ แต่ทัง้ นี้ทกุ อย่างทีท่ ำ� ตอ้ ง และสิ่งสุดท้ายในการบริหารคนที่พี่คิดว่าขาดไม่ได้
อยู่บนพื้นฐานของการปฏิบัติได้จริง ถูกต้องตามกฎหมาย คือ การให้ความส�ำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาคนให้
ตามระเบียบ และไม่สร้างความยุ่งยากหรือมีภาระเพิ่มข้ึน” มีความรู้ควบคู่กับการมีคุณธรรม พี่เชื่อว่าบุคลากรทุกคน
ที่พ่ีต้องย้�ำในประเด็นนี้เสมอๆ เพราะว่าบางคนท�ำงานด้วย ต้องมีความรู้ความสามารถก้าวให้เท่าทันกับสถานการณ์
วธิ ีการเดมิ ๆ จนไม่เปิดรับสงิ่ ใหม่ การไมเ่ ปดิ รับส่ิงใหม่ อาจ ท่ีเปลี่ยนแปลงไป เช่นในปัจจุบันมีการน�ำเทคโนโลยี หรือ
จะท�ำให้พลาดโอกาสในการเปิดรับส่ิงท่ีดีกว่า ที่อาจจะมา นวัตกรรมต่างๆ มาใช้มากขึ้น การส่งเสริมให้บุคลากรของ
พัฒนางานของเราให้เกิดประสิทธิภาพมากกว่าท่ีเป็นอยู่ กรมพินิจฯ มีความรู้มากข้ึนย่อมส่งผลให้องค์กรของเรามี
พีจ่ ึงอยากให้ทุกคนได้ลองท�ำ ความก้าวหนา้ ยงิ่ ข้นึ ไปดว้ ย
การบริหารคนในประเดน็ ต่อไปท่พี ่ีนำ� มาใช้คือ การ เมอื่ สังคมเปลย่ี น...การทำ� งานมักจะ
ท�ำงานบนความสัมพันธฉ์ ันทพ์ ีน่ อ้ ง มคี �ำกล่าวหนึ่งทบ่ี อกวา่ พัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
“งานได้ผล คนเป็นสุข” ซ่ึงในมุมมองพี่ พี่ว่าค�ำน้ีถูกเลย
การเปลี่ยนแปลงของสังคมเกิดข้ึนตลอดเวลา
ถ้าจะเปรียบเทียบการท�ำงานในอดีตที่ค่อนข้างจะต้องท�ำ
ทุกอย่างให้เสร็จสรรพภายในคนเดียว แต่ในปัจจุบันเรา
ไมไ่ ด้ทำ� งานเพียงล�ำพัง เพราะมีการดงึ ภาคเี ครอื ขา่ ยมาร่วม
ทำ� งานกันมากขึน้ ซงึ่ เห็นไดช้ ดั ในช่วง 2-3 ปี ทม่ี กี ารระบาด
ของ Covic-19 ท่ีส่งผลให้การลงพื้นที่ไปติดตามดูแลเด็ก
และเยาวชนภายหลังปล่อยเกิดปัญหา กรมพินิจฯ จึงต้อง
ปรับเปลี่ยนวิธีการเพื่อให้สอดรับกับส่ิงท่ีเกิดขึ้นด้วย
การพฒั นาแอปพลเิ คชนั ทเี่ รียกว่า “DJOP Care” มาใชใ้ น
การติดตามภายหลังปล่อย เพื่อให้
เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ไ ด ้ รั บ ก า ร ดู แ ล
ช่วยเหลืออย่างท่ีดีสุด รวดเร็ว ฉับไว
และท่ัวถึง ซึ่งแอปพลิเคชันดังกล่าว
จะรองรบั การทำ� งานทงั้ ระบบ Android
7วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร ตลอดระยะเวลาการท�ำงานของพี่ ได้เห็นการ
เปล่ียนแปลงของสังคมมากมาย ซ่ึงมักจะส่งผลกระทบ
ารพินจิ ท้ังในด้านบวกและด้านลบต่อการท�ำงานของกรมพินิจฯ
ส่ิงหนึ่งที่พ่ีอยากจะบอกทุกคนที่ได้อ่านคอลัมน์น้ีคือ
ปที ่ี 20 ฉบบั ท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565 “บุคลากรทุกท่านของกรมพินิจฯ เป็นกลไกท่ีส�ำคัญใน
การแก้ไข บ�ำบัด ฟื้นฟูเด็กและเยาวชนให้เกิดการปรับ
Department of Juvenile เปลี่ยนพฤติกรรมและกลับคืนสู่สังคม ดังน้ันอยากให้
Observation and Protection ทุกท่านร่วมมือ และมองเป้าหมายไปด้วยกัน ในบางครั้ง
อาจจะต้องเจอกับเร่ืองท่ีท�ำให้เราท้อแท้หรือหมดก�ำลังใจ
และ IOS และสามารถออนไลน์ข้อมูลผ่านระบบ Cloud แต่ถ้าหากเราจับมือไปด้วยกัน เราสามารถส่งต่อก�ำลังใจ
Server มผี ใู้ ชง้ านทัง้ หมด 3 กล่มุ ประกอบดว้ ย บุคลากรที่ ให้กันได้ พอ่ี ยากให้ทกุ คนเช่ือมนั่ ว่าตนเองมศี กั ยภาพและ
เกี่ยวข้องในการติดตาม สงเคราะห์ ช่วยเหลือ เด็กและ สามารถพัฒนาศักยภาพนั้นได้ ผู้บริหารเข้าใจและมอง
เยาวชนภายหลงั ปลอ่ ยของกรมพนิ จิ ฯ เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื เห็นการท�ำงานของทุกท่าน ขอเป็นก�ำลังใจให้ พวกเรา
ด้านการติดตาม สงเคราะห์ ช่วยเหลือ เด็กและเยาวชน จะร่วมด้วยช่วยกันเพ่ือให้เด็กและเยาวชนกลับไปใช้ชีวิต
ภายหลังปล่อย โดยหน้าที่ของแอปพลิเคชันนี้จะมีระบบ ได้อย่างปกติสุข ไม่หวนมากระท�ำผิดซ้�ำ เม่ือสังคม
ท่ีสามารถเชื่อมโยงระบบคดีอาญาของเด็กและเยาวชน ปลอดภัยและน่าอยู่ ผลลัพธ์ตรงน้ีก็จะกลับคืนสู่เรา
ก่อนและหลังค�ำพิพากษา (CMS/TRS) ของกรมพินิจฯ ได้ เช่นกัน เพราะเราจะสามารถอย่ใู นสังคมได้อยา่ งปลอดภยั
ท้ังข้อมูลพ้ืนฐานของเด็กและเยาวชน และข้อมูลแผน และมีความสุข” รองนลินนาถ ไกรนรา กล่าวปิดท้ายกับ
แนวทางการติดตามภายหลังปล่อย นอกจากน้ียังมี กองบรรณาธิการ
ระบบรองรับการท�ำงานอย่างรอบด้าน อาทิ ระบบบันทึก เป็นอย่างไรบ้างคะ ส�ำหรับบทสัมภาษณ์ในครั้งนี้
ข้อมูลผลการติดตาม สงเคราะห์ช่วยเหลือภายหลังปล่อย กองบรรณาธิการต้องขอขอบพระคุณท่านนลินนาถ
ครบ 5 ด้าน ตาม Good Life Model (GLM) และ ไกรนรา รองอธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
การประเมินระดับความเสี่ยงในการติดตาม, ระบบค�ำร้อง ที่ให้เกียรติเป็นแขกคนพิเศษในคอลัมน์ “คุยสบายๆ กับ
ขอรับการช่วยเหลือ (Needrequests) และนัดหมาย รองหญิง” และวารสารในฉบับถัดไป กองบรรณาธิการจะ
ขอรับค�ำปรึกษา, ระบบติดตามความคืบหน้าของ ไปสมั ภาษณ์คนพเิ ศษทา่ นใด ผ้อู ่านอยา่ ลมื ตดิ ตามนะคะ.....
การด�ำเนินงานสงเคราะห์ ช่วยเหลือตามค�ำร้อง,
ระบบแจ้งเตือนก�ำหนดการติดตาม ให้ค�ำปรึกษา และ สัมภาษภณา์/พเรปยี รบะเกรอยี บง :: นนาางยสอามวรอชันัยธิกศารีเบสุญอื ลชาู นนกั นปกั รวะิชชาากสามั รพโสันตธทป์ ศัฏนบิ ศตั กึ ิกษารา
สงเคราะห์ช่วยเหลือ เป็นต้น ทั้งนี้กรมพินิจฯ ต้องเสริม กลมุ่ ประชาสมั พันธแ์ ละสอ่ื สารองค์กร สำ� นกั งานเลขานกุ ารกรม
ความรู้และทักษะต่างๆ ให้กับภาคีเครือข่ายท่ีจะมาร่วม
ท�ำงานกับเราควบคู่ไปด้วย เช่น เครือข่ายพบว่าเยาวชนที่
ก�ำลังติดตามมีพฤติกรรมที่สุ่มเส่ียงเข้าไปอยู่ในสถานการณ์
ท่ีอาจจะก่อให้เกิดการกระท�ำผิดซ�้ำ เครือข่ายจะมีวิธี
ส่ือสารกับเขาอย่างไร หรือเครือข่ายจะต้องประสานกับใคร
เมื่อต้องการความช่วยเหลือ พ่ีเช่ือว่าการท�ำงานทุกอย่างให้
มีความสอดรับกัน จะท�ำให้สามารถช่วยเหลือเด็กและ
เยาวชนได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น พ่ีคิดว่า เครือข่าย
โดยเฉพาะคนในชุมชนจะรู้จักเด็กและเยาวชนของเรา
ดีทส่ี ดุ เครอื ขา่ ยไม่ได้รจู้ ักแคเ่ ดก็ และเยาวชน เขารจู้ กั ไปถงึ
ครอบครัวของเด็กและเยาวชนด้วย ซ่ึงสิ่งนี้เป็นข้อดีที่ท�ำให้
เราท�ำงานได้ง่ายข้ึน ดังน้ันบุคคลกลุ่มน้ีจึงเป็นก�ำลังส�ำคัญ
ในการด�ำเนินงานของเรา สุดท้ายแล้วหากเรามีการท�ำงาน
ทุกอย่างให้มีความสอดรับกัน มีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้
แนวโน้มการกระท�ำผิดซ้�ำของเด็กและเยาวชนที่ได้รับ
การปล่อยตัวก็จะลดน้อยลงตามไปด้วย เพราะจะไม่มีเด็ก
และเยาวชนคนไหนหลุดไปจากระบบการตดิ ตามของเรา
8 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปที ่ี 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
“จากดินสู่ป่า จากฟา้ สู่น้�ำ
”ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
ปัจจุบันเราปฏิเสธไม่ได้ว่าเทคโนโลยีเป็น เกษตรกรรมท่ีไม่มีไฟฟ้าใช้ หรืออยู่ห่างไกลจากสายส่ง
กระแสไฟฟ้า เพ่ิมความสะดวกในการจัดการน้�ำ
เสมือนอีกหน่ึงปัจจัยส�ำคัญในการด�ำรงชีวิต เทคโนโลยี เพ่ือการเกษตรได้อย่างมากมาย
เข้ามามีส่วนช่วยให้ชีวิตของเราสะดวกสบายและง่ายข้ึน
ยกตัวอย่างเช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า โทรศัพท์มือถือ นาฬิกา ด้วยเหตุผลน้ี กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ
สมาร์ทวอทช์ ยานพาหนะ อุปกรณ์การแพทย์ อาหาร เยาวชน จึงได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการใช้พลังงาน
กระป๋อง ยาแคปซูลส�ำหรับรักษาโรคต่างๆ เป็นต้น ทดแทน โดยได้ร่วมกับ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA)
สิ่งเหล่าน้ีล้วนมาจากเทคโนโลยีสมัยใหม่ทั้งสิ้น ไม่ว่า จัด “โครงการ PEA พลังงานสะอาดเพ่ือชุมชน
จะเป็นเทคโนโลยีทางการแพทย์ โทรคมนาคม และ เนื่องในโอกาสมหามงคลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
อุตสาหกรรม รวมไปถึงเทคโนโลยีด้านการเกษตร ท่ีจะ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
เ ข ้ า ม า ท� ำ ใ ห ้ อ า ชี พ เ ก ษ ต ร ก ร ไ ม ่ ใ ช ่ อ า ชี พ ที่ น ่ า เ บื่ อ เฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565”
หรือล้าหลังอีกต่อไป เพราะเทคโนโลยีสามารถช่วยให้ ณ ศูนย์การเรียนรู้ด้านการเกษตร ตามแนวทางปรัชญา
การเพาะปลูกหรือเล้ียงสัตว์ง่ายดายเพียงแค่ปลายน้ิว เกษตรทฤษฎีใหม่ เพ่ือยกระดับและพัฒนาคุณภาพชีวิต
หรือแทบไม่ต้องใช้แรงงานคนเลยก็ว่าได้ เด็กและเยาวชนที่ยง่ั ยืน ตำ� บลคลองโยง อ�ำเภอพทุ ธมณฑล
จงั หวดั นครปฐม
ดังเช่นการน�ำพลังงานสะอาด หรือ “โซลาร์
เซลล์” มาช่วยในด้านการเกษตร ซ่ึงจะช่วยลดข้อจ�ำกัด
ในการใช้ไฟฟ้าจากระบบปกติ เพราะแผงโซลาร์เซลล์
สามารถแปลงพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์เป็นกระแส
ไฟฟ้าได้ ทดแทนการใช้ไฟฟ้าจากสายส่งได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และยังเป็นพลังงานท่ีใช้ได้อย่างไม่มีวันหมด
สามารถใช้ได้ทุกท่ีท่ีมีแสงแดดส่องถึง จึงเหมาะกับพ้ืนที่
9วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร
ารพินจิ
ปีท่ี 20 ฉบับที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
โดย PEA ได้ให้การสนับสนุนและติดต้ังเคร่ือง ทง้ั นศี้ ูนย์การเรียนรูฯ้ ดงั กลา่ วจดั ตั้งข้ึนบนพน้ื ฐาน
สูบน�้ำด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ หรือ Solar Pump เพ่ือ ของแนวคิด 3 ด้าน คือ 1) ศูนย์การเรียนรู้ด้านการเกษตร
ทดแทนการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ แบบปกติ โดย Solar Pump 2) ปรัชญาเกษตรทฤษฎีใหม่ และ 3) ยกระดับและพัฒนา
นี้เป็นรูปแบบหอคอยสูง 6 เมตร พร้อมถังพักน้�ำขนาด คุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชน อีกท้ังเป็นศูนย์กลางแห่ง
12,000 ลติ ร มีระบบกรองนำ้� ดบิ พรอ้ มต่อท่อประปาไปยัง การเรียนรู้ด้านการเกษตร และสถานท่ีสาธิตด้านกสิกรรม
พื้นท่ีใช้สอยตามจุดต่างๆ เช่น รดน้�ำต้นไม้ภายในโรงเรือน ตา่ งๆ อาทิ การเพาะปลกู การปศสุ ตั ว์ การคดิ คน้ พฒั นา และ
และบริเวณพ้ืนที่เกษตรกรรม รวมถึงการปศุสัตว์ ตอ่ ยอดนวัตกรรมด้านการเกษตรที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการได้รับ
ท้ังบ่อเลี้ยงปลาและฟาร์มไก่ ซ่ึงจะช่วยให้เกิดคุณค่าร่วม การสนบั สนนุ ระบบสบู นำ�้ ดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ยจ์ าก PEA น้ี
ระหว่างองค์กรและชุมชนอย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมาย ถอื ไดว้ า่ เปน็ เสมอื นการคดิ คน้ ตอ่ ยอด และพฒั นานวตั กรรม
ร่วมกันคือการช่วยแก้ไข บ�ำบัด ฟื้นฟูเด็กและเยาวชนให้ โดยการใช้พลังงานทดแทน อันจะสามารถสร้างการเรียนรู้
กลับคืนเป็นคนดีสู่สังคม และยกระดับคณุ ภาพชวี ิตใหแ้ ก่เยาวชนได้อย่างยง่ั ยนื
เขยี น/เรภียาบพเปรียระงก:อนบาง:สนาาวยจอรุ ีพมรรชโยั พธศิฆรมัเี สพอื รลานนักปนรักะวชิชาาสกมั าพรโันสธต์ชท�ำัศนนาญศกึ กษารา
นางสาวชมาพร น้อยเจริญ นักวชิ าการโสตทศั นศกึ ษา
กลุ่มประชาสัมพนั ธแ์ ละสอ่ื สารองคก์ ร สำ� นักงานเลขานุการกรม
10 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปีที่ 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
ทักษะ “ออ่ น”
สู่โลกอนาคต ตอนที่ 1
ความหมายและความส�ำคญั
ของ Soft Skill
พโดนยักง: านนาคยมุ ชปัยรสะริ พิ สฤตธุ าิปปฏริบะัตดกิ ษิ าฐร์ สถาบนั วจิ ัยและพัฒนา
โลกที่สิ่งต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างไม่หยุดย้ังในทุกๆ วัน ท�ำให้หลายท่านมีความกังวลว่าในอนาคต
องค์ความรู้และทักษะต่างๆ ท่ีเรามีจะ “ตกยุค” ไป หลาย ๆ ท่านตั้งค�ำถามเก่ียวกับการมาของปัญญาประดิษฐ์หรือ AI
ท่ีมีศักยภาพมากและมีแนวโน้มจะเข้ามาแทนที่มนุษย์ในสายงานต่างๆ น�ำไปสู่ประเด็นส�ำคัญท่ีว่า กรมพินิจฯ ในฐานะ
หน่วยงานท่ีมีภารกิจหลักเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา สั่งสอน อบรม และฝึกทักษะอาชีพให้แก่เด็กและเยาวชนที่เข้าสู่
กระบวนการยุติธรรมจะปรับตัวอย่างไรเพ่ือให้หลักสูตรต่างๆ ของกรมฯ ยังคงเหมาะสมกับยุคสมัย ซ่ึงหน่ึงในชุดความรู้และ
แนวคิดที่มีความน่าสนใจและมีบทบาทมากขึ้นเร่ือยๆ ในด้านการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คือแนวคิดเกี่ยวกับ
ทกั ษะ “ออ่ น vs แขง็ ” และการพัฒนาตนเองใหม้ คี วามพรอ้ มรบั ความเปล่ยี นแปลงทีจ่ ะเกิดข้นึ ในศตวรรษที่ 21 นัน่ เอง
Hard Skill และ Soft Skill คืออะไร Soft Skill ทท่ี ุกทา่ นน่าจะเคยไดย้ นิ กันมาบา้ งก็เช่น ทักษะ
การคิดเชิงวพิ ากษ์ (Critical Thinking) ทักษะดา้ นความคดิ
Hard และ Soft Skill ถ้าแปลตรงตัวจะหมายถึง สร้างสรรค์ (Creativity) ความตระหนักรู้ทางวัฒนธรรม
“ทกั ษะแข็ง” และ “ทกั ษะออ่ น” ตามลำ� ดบั แตผ่ ู้เขียนมอง (Cultural Awareness) ทักษะในการท�ำงานกับผู้อ่ืน
ว่าเป็นการแปลที่ไม่ตรงตามความหมายของค�ำท้ังสอง ( C o l l a b o r a t i o n ) แ ล ะ ทั ก ษ ะ ด ้ า น ก า ร ส่ื อ ส า ร
เทา่ ใดนกั Hard Skill นน้ั หมายถงึ “ทกั ษะดา้ นองคค์ วามร”ู้ (Communication) เปน็ ตน้ ซ่ึงเมอื่ พิจารณาจากตัวอย่างที่
ทม่ี คี วามเฉพาะทางหรอื ตรงตามสายวชิ าชพี เชน่ องคค์ วามรู้ ยกมาข้างต้นก็คงพอจะเห็นถึงคุณลักษณะของ Soft Skill
ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ทักษะเกี่ยวกับ ได้คร่าวๆ ว่า Soft Skill น้ัน เรียนรู้และพัฒนาได้ยากกว่า
วิชาชีพช่าง ตลอดจนความรู้ด้านกฎหมายหรือการใช้ Hard Skill มาก โดยตอ้ งอาศัยการประยกุ ต์ใชแ้ ละฝึกฝนใน
โปรแกรมต่างๆ Hard Skill มีจุดเด่นคือ สามารถวัดระดับ บริบทของการท�ำงานจริงมากกว่า นอกจากนี้ การวดั ระดบั
ได้ง่ายผ่านการทดสอบต่างๆ และสามารถสอนและเรียนรู้ ของทกั ษะเหลา่ นยี้ ังท�ำได้ยากกว่า Hard Skill นัน่ เอง
ได้ผา่ นการถา่ ยทอดเนื้อหาในห้องเรียน1
ในทางกลับกัน Soft Skill นั้นให้นิยามได้ยากกว่า
เพราะนอกจากจะหมายถึงทักษะอ่ืนๆ นอกเหนือจาก
Hard Skill แลว้ ยังประกอบไปดว้ ยคุณสมบตั แิ ละลกั ษณะ
ที่มีความหลากหลายในเชิงทฤษฎีอีกเป็นจ�ำนวนมาก หลาย
ทา่ นไดใ้ หค้ วามหมายของ Soft Skill ไว้วา่ หมายถงึ “ทักษะ
ทางสังคม” หรือ “ทักษะทางอารมณ์”2 ตัวอย่างของ
1 สนั ติธาร เสถียรไทย. ทกั ษะมนุษย์โลก 4.0: “ออ่ น” หรอื “แขง็ ” สยบอนาคต?. <https://www.the101.world/hard-skills-vs-soft-skills/> (17 กรกฎาคม 2565)
2 สนั ตธิ าร เสถียรไทย. เรื่องเดียวกนั .
11วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร Soft Skill และกรมพินิจฯ
ารพินจิ ถึงแม้ Soft Skill จะไดร้ ับความสนใจอย่างมากใน
วงวิชาการและการศึกษา แต่ทั้ง Soft และ Hard Skill
ปีที่ 20 ฉบบั ท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565 ก็ล้วนมีความส�ำคัญและส่งเสริมซ่ึงกันและกัน5 หากขาด
Hard Skill คนผู้นั้นก็อาจเป็นคนท่ีพูดและส่ือสารเก่งแต่
Department of Juvenile ไม่มีความรู้เฉพาะทางใดๆ แต่หากคนใดขาด Soft Skill
Observation and Protection ก็จะเข้าท�ำนอง “ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด” ไม่สามารถ
น�ำองค์ความรู้ท่ีตัวเองมีไปใช้ในการท�ำงานและการใช้ชีวิต
ความส�ำคัญของ “ออ่ น” และ “แขง็ ” ได้อย่างมีประสิทธิภาพ6 ทั้งน้ี ไม่ว่าจะ Soft หรือ Hard
ในโลกปจั จบุ ัน Skill ล้วนจัดเป็น “ทักษะ” ท่ีสามารถเรียนรู้และฝึกฝนข้ึน
ไดท้ ง้ั สน้ิ ดงั นนั้ หนง่ึ ในความทา้ ทายของกรมฯ คอื การออกแบบ
ในปัจจุบันภาคธุรกิจได้ให้ความส�ำคัญกับ Soft และพัฒนาหลักสูตรด้านการศึกษาและการฝึกอาชีพ
Skill มากข้ึนเร่ือยๆ3 เหตุผลแรกคือ องค์ความรู้ในรูป ส�ำหรับเดก็ และเยาวชนท่ีสง่ เสรมิ ทั้ง Soft และ Hard Skill
Hard Skill นน้ั “หมดอาย”ุ เรว็ ขน้ึ ทกุ วนั มกี ารประมาณการ ไปพร้อมๆ กัน ผ่านการฝึกฝนทักษะและการเอาความรู้
ว่าในปัจจุบันความรู้ที่เราเรียนรู้ในห้องเรียนนั้นมีอายุ แบบ Hard Skill ไปประยุกต์ใช้ในโครงการหรืองานที่ท�ำ
แค่ 9 ปีเท่านั้น4 แต่ Soft Skill น้ันเป็นทักษะเก่ียวกับ ร่วมกับผู้อ่ืนเพื่อให้เกิด Soft Skill นั่นเอง นอกจากน้ียัง
อารมณ์และปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน ผู้ท่ีมีทักษะน้ีจึงสามารถน�ำ สามารถน�ำองค์ความรู้เหล่านี้มาพัฒนาบุคลากรในสังกัด
ไปใช้ได้ตลอดชีวิต เหตุผลท่ีสองคือ Hard Skill ส่วนมาก กรมฯ ได้อีกด้วย
มักจะถูกแทนที่โดย AI เนื่องจากความสามารถในการ
เรียนรู้และจดจ�ำของ AI นั้นสูงกว่ามนุษย์มาก ท�ำให้ทักษะ สำ� หรับบทความเก่ียวกบั Soft Skill ตอนที่ 1 กจ็ บ
ต่างๆ เช่นการวิเคราะห์ข้อมูลหรือการค�ำนวณจะถูก AI ลงเพยี งเท่าน้ี ในตอนตอ่ ๆ ไป ผเู้ ขียนจะน�ำเสนอ Soft Skill
ทำ� แทนเกือบทัง้ หมด แต่ Soft Skill นั้นเป็นทกั ษะทเ่ี รยี กได้ ประเภทต่างๆ พร้อมท้ังแนวทางเบ้ืองต้นในการพัฒนา
วา่ เปน็ ของมนษุ ยโ์ ดยแท้ ไมส่ ามารถทดแทนดว้ ย AI ไดเ้ รว็ ๆ น้ี ทกั ษะนนั้ ๆ เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นสามารถนำ� ไปปรบั ใชก้ บั การทำ� งาน
แนน่ อน และเหตุผลสดุ ทา้ ยคือ Soft Skill บางทักษะ เช่น และการใช้ชีวิตของตนเองได้ต่อไป ท้ังน้ีในบทความนี้และ
ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ ทักษะการท�ำงานกับผู้อ่ืนและ บทความตอ่ ๆ ไป ผู้เขยี นจะขอใชท้ บั ศัพทค์ ำ� ว่า Soft และ
ทักษะการบริหารเวลาน้ัน จะท�ำหน้าท่ีเสมือน “ตัวช่วย” Hard Skill เพอื่ งา่ ยตอ่ การทำ� ความเขา้ ใจ
ท่ีจะท�ำให้การตัดสินใจและการใช้ชีวิตของเราง่ายและมี
ประสิทธิภาพมากข้ึน บุคคลท่ีมี Soft Skill จึงมีสุขภาวะ
ทง้ั กาย-จิตที่ดไี ปด้วย
แลว้ พบกนั ใหมใ่ นตอนหน้า
ขอบคณุ ครับ
3 SCB. 7 Soft Skills ส�ำคัญท่คี นรนุ่ ใหมค่ วรม.ี <https://careers.scb.co.th/th/life-at-scb/detail/Career-Tips17( >/5 กรกฎาคม 2565)
4 มณีรัตน์ อนโุ ลมสมบัติ. ‘Exponential Change’ เร่งพัฒนา ‘ความรู-้ ทักษะ’ กอ่ นหมดอายุ. <https://www.bangkokbiznews.com/social/17( >915163 กรกฎาคม 2565)
5 PacRim. ท�ำไม Soft Skill จึงกลายเปน็ หลกั ประกนั ยุคไซเบอร.์ <https://www.pacrimgroup.com/?food_for_thought=soft-skill-หลักประกนั ชวี ติ > (17 กรกฎาคม 2565)
6 Starfish Academy. Hard Skills + Soft Skills และ 7 เทรนดก์ ารเรียนรเู้ พอ่ิ การศึกษาในยุคเทตโนโลยีเปล่ยี นโลก. <https://www.starfishlabz.com/blog/-48hard-skills-soft-skills-และ-7-เทรนดก์ ารเรยี นรู้
เพ่ิอการศึกษาในยุคเทตโนโลยีเปลย่ี นโลก> (17 กรกฎาคม 2565)
12 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปีที่ 20 ฉบบั ท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
เมตาเวริ ส์
กบั การจดั การเรยี นรู้
ในสถานทคี่ วบคมุ
กนโดลกั ยุ่มวชิพ:าัฒนกนาายราอพระบรี บรณบมฐั แงาลพนะมุ่ กฝแาึกจรวศ้งิชึกาษชาพี แปลฏะบิ ฝัตึกิกวาชิ ราชพี
เม่อื ชว่ งปลายปี 2564 ผา่ นมา บรษิ ทั Facebook เทคโนโลยีบล็อกเซน (Blockchain) ท่ีจะช่วยตรวจสอบ
ความโปร่งใสในการท�ำธุรกรรมใดๆ ภายในเมตาเวิร์ส
ได้จัดงาน Facebook Connect 2021 เป็นสัมมนา เป็นต้น นอกจากน้ียังมีอีกหลายเทคโนโลยีท่ีจะช่วยพัฒนา
ประจ�ำปีของบริษัท Facebook จะมีการน�ำเสนอข่าวสาร ให้เมตาเวิร์สมีความสมบูรณ์และใกล้เคียงกับโลกความจริง
และเทคโนโลยใี หมๆ่ ในงานนี้ Mark Zuckerberg ผู้บริหาร มากยงิ่ ขนึ้
และผู้ก่อต้ัง Facebook ได้มีการน�ำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับ ศาสตราจารย์ ดร.ใจทิพย์ ณ สงขลา อาจารย์
เมตาเวริ ส์ โดย Mark Zuckerberg อธบิ ายวา่ เมตาเวริ ส์ คอื ประจ�ำคณะครุศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีและส่ือสาร
สภาพแวดล้อมเสมือนที่เชื่อมโยงชุมชนเสมือนจริงต่าง ๆ การศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้สะท้อนมุมมอง
เข้าด้วยกัน โดยผู้ใช้สามารถพบปะกัน ท�ำงาน เล่น เกี่ยวกับอนาคตของการศึกษาว่าเมตาเวิร์สจะมีบทบาทใน
ซื้อของออนไลน์ หรือเข้าส่ือสังคมออนไลน์ ผ่านเทคโนโลยี การเรียนรู้ที่เชื่อมโยงโลกความจริงและโลกเสมือนจริง
AR (Augmented Reality) และ VR (Virtual Reality) โดยจะช่วยท�ำให้สิ่งที่เป็นนามธรรม จับต้องและเข้าใจยาก
รวมทั้งแอปในโทรศพั ท์มือถือหรืออปุ กรณอ์ ่นื ๆ นอกจากน้ี กลายมาเป็นภาพเสมือนจริงที่สัมผัสและจับต้องได้
ยังมีการประกาศเปล่ียนชื่อบริษัท Facebook เป็น Meta การเรียนรู้เรื่องราวต่างๆ ท้ังวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์
เพ่ือสะท้อนทิศทางของธุรกิจและการพัฒนาเมตาเวิร์สของ และส่ิงแวดล้อมก็จะเข้าใจได้ง่ายข้ึนและเกิดความคิด
บริษัท รวมถึงได้อธิบายยกตัวอย่างความเป็นไปได้ สร้างสรรค์ใหม่ๆ ได้เร็วขึ้น ผู้เรียนจะได้ไปและได้ท�ำในสิ่ง
ในการน�ำเมตาเวิร์สไปใช้ได้ในหลายด้านเช่น สื่อสังคม ที่ไม่สามารถท�ำได้ในสภาพกายภาพจริง เช่น การทดลอง
ออนไลน์ สอ่ื บนั เทงิ เกมส์ ธรุ กจิ ออนไลน์ การออกกำ� ลงั กาย วทิ ยาศาสตรท์ ม่ี ีความเสย่ี ง หรือการเดนิ ทางทัศนศึกษาในท่ี
การศึกษา เป็นตน้ หา่ งไกลและยากจะไปไดใ้ นความเป็นจรงิ เช่น การผจญภัย
เมตาเวิร์ส หมายถึง นวัตกรรมที่สร้างและผสาน ในป่าอเมซอน หรอื การดำ� น�ำ้ ลงดปู ะการงั ที่เกาะฟจิ ิ เปน็ ต้น
สภาพแวดล้อมของโลกจริงที่เราอยู่เข้ากับโลกเสมือนจริง นอกจากน้ันเมตาเวิร์สยังช่วยจ�ำลองโลกเสมือนจริงและ
จนกลายเปน็ “ชุมชนโลกเสมือนจรงิ ” ทีส่ ามารถผสานวัตถุ สร้างสถานการณ์จ�ำลองให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะเบ้ืองต้น
รอบตัวและสภาพแวดล้อมให้เชื่อมต่อกันเป็นหนึ่งเดียว บางอย่างจนเกิดเป็นความช�ำนาญได้อีกด้วย (Mastery
โดยอาศัยเทคโนโลยีความจริงเสรมิ หรอื AR (Augmented
Reality) และเทคโนโลยคี วามจรงิ เสมือน หรือ VR (Virtual
Reality) ช่วยเชอ่ื มโยงอย่างไร้รอยตอ่ ให้กลายเป็นพืน้ ทโ่ี ลก
เดียวกัน ภายในเมตาเวิร์สจะมีเทคโนโลยีหลายอย่างเข้ามา
เกี่ยวข้องเพ่ือให้โลกเสมือนนั้นมีความคล้ายคลึงกับโลกจริง
มากยิ่งขึ้น ซึ่งเทคโนโลยีเหล่านั้น ได้แก่ ปัญญาประดิษฐ์
หรือ AI (Artificial Intelligence) ช่วยตรวจจับพฤติกรรม
ที่ไม่เหมาะสมอย่างภายในโลกเมตาเวิร์สได้อย่างรวดเร็ว
สกุลเงินดิจิทัล (Cryptocurrency) ช่วยท�ำให้เกิด
ระบบเศรษฐกิจหรือการท�ำธุรกรรมภายในเมตาเวิร์ส และ
13วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร หรือเคร่ืองมือต่างๆ มักถูกลักลอบออกมาจากหน่วยเรียน
เพ่ือน�ำมาเป็นอาวุธ นอกจากนี้สามารถจ�ำลองการฝึก
ารพินจิ วิชาชีพอื่นๆ ที่ไม่สามารถจัดการฝึกวิชาชีพในสถานท่ี
ควบคุมได้ เน่ืองจากการฝึกวิชาชีพน่ันมีความอันตรายสูง
ปีท่ี 20 ฉบับท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565 เชน่ การฝกึ วชิ าชพี ชา่ งไฟฟา้ กำ� ลงั ทต่ี อ้ งมกี ารฝกึ การทำ� งาน
กับสายไฟฟ้าแรงสูงบนที่สูง เป็นต้น และวิชาชีพอ่ืน
Department of Juvenile ท่ีไม่สามารถจัดได้เนื่องจากติดข้อจ�ำกัดในการจัดซ้ือ
Observation and Protection ครภุ ัณฑท์ ีเ่ กีย่ วข้องการการฝกึ วิชาชีพนน้ั ๆ
Learning) เช่น การเข้าสสู่ ภาพในอวกาศ ดวงดาวอ่ืน หรอื ยิ่งไปกว่านั้นเมตาเวิร์สยังสามารถน�ำมาใช้พัฒนา
ได้ฝึกงานร่วมกับผู้มีความสามารถในระดับโลก แม้กระทั่ง บุคลากรของกรมฯ ในด้านการตัดสินใจและการปฏิบัติเม่ือ
การออกแบบเส้ือผ้าและเปิดร้านให้ผู้ซื้อต่างชาติได้พบ เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสถานท่ีควบคุม เช่น การจลาจล
ผู้ขายจริงแบบเสมือนจริงและได้ทดลองใส่แบบเสมือนจริง การหลบหนี อัคคีภัย เป็นต้น อีกท้ังยังสามารถน�ำข้อมูล
ก่อนสั่งซ้ือ นอกจากน้ีเมตาเวิร์สจะช่วยขยายพรมแดนการ จากการฝึกดังกล่าวมาปรับแผนเผชิญเหตุให้เหมาะสม
เรียนรู้ได้กว้างไกลและท�ำให้การเรียนรู้เป็นประสบการณ์ที่ กบั สถานทค่ี วบคุมและบคุ ลากรของแตล่ ะท่มี ากข้ึน
ตนื่ เต้นน่าสนกุ สนานมากยง่ิ ขึน้ โดยจ�ำลองห้องเรียนเสมอื น อย่างไรก็ตามเมตาเวิร์สก็เป็นเทคโนโลยียังอยู่
ท่ีไทย แต่ได้ความรู้สึกเหมือนไปน่ังเรียนท่ีต่างประเทศ ในระหว่างการพัฒนา ยังไม่มีตัวอย่างการน�ำไปใช้ท่ีเป็น
แม้จะไกลเพียงใดก็สามารถจ�ำลองพื้นท่ีนั้นให้กลายเป็น รูปธรรม การน�ำเมตาเวิร์สมาใช้กับกรมฯ ก็ยังมีข้อท่ีควร
ชุมชน การศึกษาขา้ มประเทศรว่ มกนั ได้ พิจารณาหลายประการ ได้แก่ งบประมาณในการพัฒนา
กลุ่มพัฒนาระบบงานการศึกษาและฝึกวิชาชีพ ซอฟต์แวร์และการจัดซื้อฮาร์ดแวร์ท่ีสูง รวมถึงระดับ
มีความเชื่อว่าแม้เด็กและเยาวชนจะจ�ำกัดให้อยู่ในสถานท่ี ความสามารถและทักษะทางเทคโนโลยีเมตาเวิร์ส ของผู้ใช้
ควบคมุ แตไ่ มไ่ ด้จ�ำกดั การเรยี นรู้ของเด็กและเยาวชน จึงได้ ท้ังในส่วนของเด็กและเยาวชน และบุคลากรของกรมฯ
เห็นถึงศักยภาพของเมตาเวิร์สที่จะช่วยให้เด็กและเยาวชน การควบคุม และบำ� รงุ รกั ษาอปุ กรณท์ ี่เกย่ี วข้องกับอีกด้วย
ที่อยู่ในสถานท่ีควบคุมได้เรียนรู้และฝึกฝนสิ่งต่างๆ นับว่าเป็นอีกหน่ึงความท้าทายของกรมฯ ใน
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ไมแ่ ตกตา่ งจากเดก็ และเยาวชนคนอน่ื ๆ โดยทาง การศกึ ษา วเิ คราะห์ รูปแบบ ความเปน็ ไปได้ และขอ้ จำ� กัด
กลุ่มพัฒนาระบบงานการศึกษาและฝึกวิชาชีพได้ศึกษา ในการน�ำเมตาเวิร์สมาใช้ในหน่วยงานเพื่อพัฒนาเด็ก
แนวทางการน�ำเมตาเวิร์สมาใช้จัดการเรียนรู้ในสถานที่ และเยาวชนในสถานที่ควบคุม รวมถึงบุคลากรของกรมฯ
ควบคุมโดยจะแบ่งเป็น 2 ด้าน ได้แก่ ด้านสามัญและด้าน ให้สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ได้อย่างไร้
การฝึกอาชีพ ในการจัดการเรียนรู้ด้านสามัญจะจ�ำลอง ขอบเขต
สภาพแวดล้อมอ่ืนๆ ท่ีไม่สามารถพบเจอได้ในสถานท่ี
ควบคมุ นัน้ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนไดเ้ รียนรู้ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย YขEMWcกสhccf(wMกhไ1oทolodoะtา้อtาweeeettrย.ทuรmรuJมptt/’tpwaรศศhca้อlaT2ูลsE/slnัฐaึvึก/.v:กนu0:wdi:/อunBtpe/eษษ2/Hbภiuอuaea/orswr2าeาosาtstrtcwนinle/ใyพ.hwขce.rdaaไน0nsheNล้าลcwht2/ส6,โจI?ัsกมi.teนt0ลtรt/oM.vัeกtcษthxพ2mา้์.Tกa=ncpรh.tง/2ณoBรn(h,วU.keuโs2)Mมg.อ2าd./์ใn:tlv9/eEห(2aลaกแ2Toa2e/utd2.มvน(าดhwrwa0hตt3f3สedt่ทaฤuce2นeุล)lwe0อr,..veมี่เ2nrกาtsc3ปcMย7ewhd)ิต6eค-oา7.h็น6า่ -r/geรx-ม.รM3/งs-hmayมeC.etเ7eไ,elaio/eรารro2g9สrdaธ2v8ีกยeใueh5n.ถโิตugห2e,&กtนatlอ6nาิรa5ircM้กuวtdgi4กรsบeตัn6z=aับ่าhbeyู้)eจาcนัน5itโ.3tt-entสtซาi//์h“hIส5oaFs.สem6กใเ2cกe่eง.0ชanห4ม.0โAเoาr(8ecียส-ลM6ม2บe2lรmhiestลrร9กn01ศ่-รูแaee,btมaิม02ณ/จ-vึกหatt[oMnmีเ/กw1aeVpรษdด่.์ง,od,vาิrงiiaysากียed(ssรeลkO-ส1”:tes.kาteส/rHัลcู5่cโia-.sรร/ooไอh|นลh1etevทเีแeก]onนtรM2์ลก?r:.eบยmdeมุ bีvยว-ลAเYreรs,รttภสe=ิทนsติoloัฐcteนnaerามcยaรuอhcneดพศ/ืb2vูอ้าทTtอohdw,์บehนัร8ศauนี่ไนomีจ)rรeาธรLสbK..sไflันิษTส์้rขsลสee–Ta2oจMท-6ตัทีดน.ว1hg5anุฬP9รรจhท2์.oear6th์ด์oแเYeา�tำio5z.ปetStรลMdHล-ก)itnpuลr.c(.nะcpงัqด2e.sh่ียsiaMเ(กesn:w.t42ทioน/s(:naร./e26/tvคcTo,ชvgณ/wมt0ioโhwleE-่ือraSมsีน2นitw์มPrmetvเuwuนี 2sโป-าA.หeweecaล1า,w/ค็นSrrาlhคd0ย.eksMมyat.วleมiี.tu1aone“h[ิhทUaVc2nRaud2Mอta2yยsait/rdut5dนii5pnetาHruanda6ea1iา6iลstorbgonrค5troa85:tัยdne/hawgi”ตI))])/t-.........,.
โดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งไปยงั สถานทจ่ี รงิ รวมถงึ สามารถบรู ณาการ sFภFwaQCMtniawาlupaeecdพe-dnte:cปasMDfbvootvรEio.anrreะ,tgodt[uกrieIIkc-smBaอnu.elLบCct(na2/ol:gViNau0vneDisep2ern]sa0tw.lraeouns)tRs.ciaaYsnt.tetdoylya(ts-2u2rnRl/Ei0t0aef2eud2o2u0vbaw1r2ne2dle.)ai1cd...tj[rh/pyIVdSm1fee.Rt.r1agsoa[(/Sn-.g2ImFimaeft0aofs]2eca.-rh1tdefgiRyt)rbet.esUTpo]tta.rsnr-oalif:eliRk/iuvvnv-/eeliCiwerlntrt-odsrguwciintelafwfaynolvrrsoe.reeyLscmEado-atlilu-unei2thfnct-y0rumttco.t2rbhipmec61ees.tPjs:.aMp/coh/vogIaawtte,msiltnrelpDvsF/resiiHwirgIr:nt-isi/auvtgdt/athiaiurclbFlltsrhiuuEglet?nhranlavyletlgl=-si|Ciwtrn5yOelDesa.Aacc.uessoolusrrkimrtliinsnugyiAnggs///
ความความรู้หลายแขนงให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้
คราวเดียว ยกตัวอย่างเช่น สถานท่ีควบคุมท่ีอยู่ในบริเวณ
ภาคเหนือจะจัดการเรียนรู้เก่ียวกับภูมิศาสตร์ของชายทะเล
ฝั่งอันดามัน ก็สามารถออกแบบการเรียนรู้ให้บูรณาการ
ความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพประมงทางฝั่งทะเล
อันดามันเพ่ิมเข้าไปด้วยได้ แล้วจึงให้เด็กและเยาวชนได้
เรียนรู้บนเมตาเวิร์สในคราวเดียวกัน เป็นต้น จากตัวอย่าง
ดังกล่าวจะลดช่วยปัญหาการขาดแคลนบุคลากรด้าน
การจดั การเรียนร้ไู ด้อีกด้วย
ถั ด ม า ใ น ก า ร จั ด
การเรียนรู้ด้านการฝึกอาชีพ
จะให้เด็กและเยาวชนฝึก
ทั ก ษ ะ อ า ชี พ เ บ้ื อ ง ต ้ น บ น
เมตาเวิร์ส ก่อนท่ีจะไปฝึก
ปฏิบัติงานจริง เพ่ือเป็น
ก า ร ล ด ค ว า ม เ ส่ี ย ง ข อ ง
การบาดเจ็บทางร่างกายระหว่างการฝึกปฏิบัติของเด็กและ
เยาวชนในสถานที่ควบคุม ลดค่าใช้จ่ายในการจัดซ้ือ
วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือต่างๆ ความเส่ือมสภาพจาก
การใช้วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือต่างๆ รวมถึงเพิ่ม
ความปลอดภัยในสถานท่คี วบคมุ ได้ เนือ่ งจากวสั ดุ อุปกรณ์
14 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปที ี่ 20 ฉบับท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
Judges
ผพู้ พิ ากษาปญั ญาประดษิ ฐ์
ปฏิเสธไม่ได้ว่าปัจจุบันเรามีเทคโนโลยีท่ีคอย แอปพลิเคชัน WeChat กอ่ นทีผ่ ู้พิพากษา AI น้ี จะใช้ข้อมลู
พยานหลักฐานที่ถูกป้อนเข้ามาในระบบมาพิจารณาและ
มาช่วยเหลือเราในชีวิตประจ�ำวัน และไม่ว่าจะท�ำกิจวัตร ตัดสินคดี ซ่ึงในระยะเริ่มแรกท่ีมีการใช้งานระยะเวลา
ประจ�ำวันใดก็อาจจะต้องมีเทคโนโลยีเข้ามาเก่ียวข้องอย่าง 9 เดือน ระหวา่ งเดอื นมนี าคม – ตุลาคม 2562 ผพู้ ิพากษา
แน่นอนไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง รวมท้ังในแวดวงกฎหมายก็มี AI ได้ท�ำคดีตลอด 24 ช่ัวโมงโดยไม่มีหยุดพัก สามารถปิด
การน�ำซอฟต์แวร์ปัญญาประดิษฐ์หรือ AI มาใช้เพ่ิมมากขึ้น คดีได้ถึง 3 ล้านคดีความ โดยเฉพาะการตัดสินคดีความ
โดยได้ถูกน�ำมาใช้เป็นตัวช่วยในกระบวนการยุติธรรมอย่าง ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ไซเบอร์ อยา่ งไรกต็ ามยงั ไมม่ กี ารใชผ้ พู้ พิ ากษา
แพร่หลาย ไม่วา่ จะเป็นการพยากรณ์พน้ื ทเ่ี สี่ยงที่อาจจะเกดิ AI ทั่วทง้ั ประเทศจนี
อาชญากรรมล่วงหน้าเพ่ือวิเคราะห์ความเคล่ือนไหวใน
พ้ืนท่ีสาธารณะที่เส่ียงจะมีเหตุอาชญากรรม หรือใช้ มปี ระเทศใดท่ีน�ำผู้พิพากษา AI
ในการประมวลผลข้อมูลมาชี้วัดแนวโน้มผู้ต้องหาที่จะ มาใชแ้ ล้วบ้าง ?
กระท�ำความผิดซ้�ำเพื่อให้ผู้พิพากษาตัดสินก�ำหนด
ระยะเวลาจ�ำคุก โดยมีการน�ำมาใช้แล้วในบางพ้ืนที่ของ ประเทศทางตอนเหนอื ของทวปี ยโุ รปอยา่ งเอสโตเนยี
สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร ก็มีแผนท่ีจะเร่ิมต้นพัฒนาผู้พิพากษา AI เพื่อตัดสินคดี
ในปี 2562 ส�ำนักข่าวซินหัว ประเทศจีน ได้สร้าง
ความฮือฮาไปทั่วโลก เพราะเปิดตัวผู้พิพากษาปัญญา
ประดิษฐ์ (AI) เป็นครั้งแรกของโลก ณ ศาลอินเทอร์เน็ต
กรุงปกั กิ่ง (Beijing Internet court) ซึ่งผูพ้ พิ ากษาปัญญา
ประดิษฐ์นี้ได้ปรากฎตัวในรูปแบบเสมือนมนุษย์ โดยใช้
เทคโนโลยีการสังเคราะห์ค�ำพูดและรูปภาพ เป็นภาพ
ผู้หญิงถอดแบบน้�ำเสียง สีหน้า และท่าทางมาจากมนุษย์
โต้ตอบไต่สวนโจทก์และจ�ำเลยผ่านทางวิดีโอคอลของ
15วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร แล้ว AI จะสามารถมาแทน
กระบวนการยุติธรรมได้จรงิ หรอื ?
ารพินจิ เมอื่ มกี ารใช้ AI ทดแทนการทำ� งานของมนษุ ยม์ ากขนึ้
อาจท�ำให้เกิดข้อกังวลว่าส่ิงเหล่านั้นจะมาแทนที่มนุษย์
ปที ่ี 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565 ได้ท้ังหมดหรือไม่ แต่จากบทความของฉัตร ค�ำแสง เร่ือง
“ผู้พิพากษาไม่หนักแน่น ให้ AI ตัดสินแทนเลยดีไหม?”
Department of Juvenile ได้พูดถึงข้อควรระวังในการน�ำ AI มาใช้ในกระบวนการ
Observation and Protection ยุติธรรมไว้ว่า “มีแนวโน้มเรื่องการผลิตซ�้ำ การแบ่งแยก
และความสองมาตรฐาน เช่น คนจนหรือคนผิวสีมี
ฟอ้ งรอ้ งเล็กๆ ทม่ี คี า่ เสยี หายน้อยกวา่ 7,000 ยโู ร (ประมาณ ประวัติการถูกจับกุมมาก อาจท�ำให้ระบบจ�ำว่าคนกลุ่มนี้
250,000 บาท) ซ่ึงในเบื้องต้นจะมุ่งเน้นไปท่ีการท�ำงานกับ เป็นกลุม่ เสีย่ ง และนำ� ไปสู่การจบั กมุ คนกล่มุ นี้มากขึ้น ยิง่ ไป
ข้อพิพาททางสัญญา โดยหากผู้ฟ้องร้องท้ัง 2 ฝ่ายไม่พอใจ กว่าน้ัน เทคโนโลยี AI ยังไม่สามารถถึงขั้นพิจารณาตัดสิน
ในการตัดสนิ ก็สามารถยน่ื อทุ ธรณ์ตอ่ ผพู้ พิ ากษาได้ คดคี วามทม่ี คี วามลึกลบั ซับซ้อน เชน่ คดฆี าตรกรรม ซ่งึ AI
ยังประมวลผลข้อมูลต่างๆ ได้ไม่ซับซ้อนมากนัก การป้อน
และในเดือนกุมภาพันธ์ปี 2563 ประเทศในกลุ่ม ข้อมูลเข้าไปจึงต้องเป็นข้อมูลท่ีตรงไปตรงมามาก เพราะ
อาเซียนอย่าง มาเลเซีย ได้ทดสอบการใช้ศาล AI ณ หากเป็นข้อความท่ีก�ำกวม อาจมีความเส่ียงสูงมากที่ AI
ศาลในเมืองซาบาห์ ซึ่งเป็นศาลแห่งแรกของมาเลเซียท่ีใช้ จะประมวลผลผิดพลาด”
AI ช่วยในการตัดสินให้ศาลพิพากษา ซึ่งการทดสอบน้ีมี แต่ถึงอย่างไรแล้ว การน�ำ AI มาใช้ในศาล
ก�ำหนดสิ้นสุดในเดือนเมษายน 2565 โดยการป้อนชุด อินเตอร์เน็ตของจีน ก็ยังจ�ำเป็นอย่างมากที่ต้องให้
ข้อมูล 5 ปี เป็นคดีที่เกิดข้ึนระหว่างปี 2557 – 2562 มนุษย์คอยตรวจสอบควบคุมการท�ำงานของผู้พิพากษา AI
ก่อนจะตัดสินใจว่าจะใช้ทั่วประเทศหรือไม่อย่างไร และ อีกข้ันหนึ่ง และเปิดโอกาสให้คู่พิพาทสามารถอุทธรณ์
นอกจากศาล AI ในเมืองซาบาห์แล้ว ตั้งแต่กลางปี 2564 ค�ำตัดสินได้ หากพบว่าค�ำตัดสินน้ันผิดพลาดหรือไม่
ศาลในเมืองหลวงกวั ลาลัมเปอร์ กเ็ ริม่ ทดสอบซอฟตแ์ วร์ AI สมเหตุสมผล และใช้ผู้พิพากษาท่ีเป็นมนุษย์ตัดสินแทน
เพอ่ื ชว่ ยพจิ ารณคดใี นศาลโดยใชก้ บั อาชญกรรม 20 ประเภท ในข้ันต่อไป
ทแ่ี ตกตา่ งกัน อยา่ งไรก็ตาม ผ้โู ต้แยง้ การใชศ้ าล AI บางสว่ น
มคี วามเห็นวา่ ข้อมลู ที่ใช้ฝึกฝน AI ในโครงการน้ี มเี พียง 5 ปี
อาจน้อยเกินไป ควรมีการป้อนข้อมูลให้ศาล AI เรียนรู้
มากกว่าน้ี เพื่อให้เกิดผิดพลาดน้อยลง ซึ่งเป็นเร่ืองท่ีท�ำได้
ไม่ยาก แต่ต้องใช้เวลาในการปรับโปรแกรมหรือสร้าง
อัลกอริทึม รวมถึงนกั กฎหมายในมาเลเซีย ก็มีขอ้ ถกเถยี งถึง
ความเหมาะสมของการใช้ศาล AI เนื่องจากมีแนวโน้ม
ลงโทษรุนแรงกว่าผู้พิพากษา และเห็นควรในบางครั้งอาจ
ตอ้ งใช้ “จิตใจ” ของมนุษย์เป็นเหตุผลรว่ มตดั สนิ
เรยี บเรียง : นางสาวธริ ดา มที ิพย์ นกั วเิ ทศสมั พนั ธ์ปฏบิ ัติการ
กลุ่มวเิ ทศสัมพันธ์และประสานความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ
สำ� นักงานเลขานุการกรม
แหลง่ ขอ้ มลู : https://workpointtoday.com/ai-judge-beijing/,
https://www.the101.world/ai-blockchain-in-justice/,
http://smartcitythailand.com/malaysia-testing-ai-judge/
ภาพอ้างอิง : <a href=’https://www.freepik.com/photos/
pc-gamer’>Pc gamer photo created by Lifestylememory
- www.freepik.com</a>
16 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปีท่ี 20 ฉบบั ท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
โรคฝดี าษลงิ
Monkeypox
แพรเ่ ช้อื สู่มนษุ ยอ์ ยา่ งไร?
พรอ้ มการรบั มอื ปอ้ งกนั
อยา่ งถกู วธิ ี
รจู้ กั “โรคฝีดาษลิง”
โรคฝีดาษลิง (Monkeypox) เปน็ โรคสตั ว์สคู่ น (Zoonosis Diseases) ที่เกิดจากไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจนี สั
Orthopoxvirus เช่นเดียวกับไวรัสอีกหลายชนิด ได้แก่ ไวรัสที่ท�ำให้เกิดฝีดาษในคนหรือไข้ทรพิษ (variola virus) ไวรัสที่น�ำ
มาผลิตวคั ซีนป้องกันฝีดาษในคน (vaccinia virus) และฝดี าษวัว (cowpox virus)
ฝีดาษลิง พบมากในประเทศแถบ แอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันตก ได้แก่ แคเมอรูน สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
คองโก กาบอง ไลบีเรีย ไนจีเรีย และเซียร์ราลีโอน และเช้ือไวรัสฝีดาษลิง พบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิง
และสตั วฟ์ ันแทะ เชน่ กระรอก หนปู า่ รวมท้ังคนกส็ ามารถตดิ โรคได้
สายพันธ์ุของโรคฝีดาษลิง มี 2 สายพันธุ์
1. สายพันธุ์ West African มีอาการไมร่ นุ แรง
อัตราป่วยตายอยทู่ ีร่ ้อยละ 1
2. สายพนั ธุ์ Central African มอี าการรุนแรงกวา่
อัตราปว่ ยตายอยทู่ ่รี อ้ ยละ 10
การตรวจวนิ ิจฉัยโรคฝีดาษลิง
เทคนิค Real-time PCR จากของเหลวจากตุ่มน้�ำท่ีผิวหนัง,
Nasopharyngeal, Tonsillar หรือ จากเลือดส่งไปท่ีสถาบันวิจัย
วิทยาศาสตร์สาธารณสขุ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์
การติดต่อของโรคฝีดาษลิง
1. จากสตั วส์ คู่ น โดยการสมั ผสั กบั สารคดั หลง่ั แผล หรอื เลอื ดของสตั วป์ ว่ ย การถกู สตั วป์ ว่ ย ขว่ น กดั และการรบั ประทาน
สตั วท์ ่ปี รงุ ไม่สกุ
2. จากคนสู่คน จากละอองฝอยทางการหายใจ การสัมผัสทางผิวหนัง เย่ือเมือก เช่น จมูก ปาก ตา และการสัมผัส
สารคัดหลั่งทางเดินหายใจ (Droplet respiratory particle) ของผู้ป่วย หรือสัมผัสส่ิงของที่ปนเปื้อนสารคัดหล่ัง หรือแผล
ของผู้ปว่ ย เชน่ เส้อื ผ้า
17วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร อาการของ
ารพินจิ โรคฝีดาษลิง
ปที ี่ 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
ระยะฟักตัว 5 - 21 วนั โดยปกติโรคนจ้ี ะแสดงอาการ
ไม่รุนแรงถึงรุนแรงปานกลาง แบ่งเป็น 2 ชว่ ง
1. ช่วงเร่ิมมีอาการ (วันท่ี 1 - 5) จะมีไข้ หนาวส่ัน
ปวดหัว เจ็บคอ บวม ปวดหลัง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ต่อมน้�ำเหลืองโต อ่อนเพลียและหมดแรง ซ่ึงผู้ป่วยสามารถ
แพร่เชื้อได้ต้ังแต่อาการเร่ิมแรก
2. ช่วงออกผ่ืน (ภายในวันที่ 1 - 3 วัน หลังจากท่ีมี
อาการไข้) ผื่นจะเริ่มกระจายจากบริเวณใบหน้า และกระจาย
ไปส่วนต่างๆ ของร่างกาย (Centrifugal pattern) ส่วนใหญ่
ของผู้ป่วยจะมีผื่นที่หน้า (95%) และมีผ่ืนท่ีฝ่ามือและฝ่าเท้า
(75%) แต่ยังสามารถพบผ่ืนได้ท่ีบริเวณอื่นของร่างกาย เช่น
ช่องปาก (70%) อวยั วะเพศ (30%)
จากน้ันลักษณะของผ่ืนจะพัฒนาไปตามระยะ เริ่มจาก ผื่นนูนแดง (Maculopapular) ตุ่มใส (Vesicles) ตุ่มหนอง
(Pustules) และสะเก็ด (Crust) โดยพบว่าหากผู้ป่วยมีลักษณะสะเก็ดข้ึนจนแห้งและร่วงหลุดไป และผื่นที่เป็นสะเก็ดแห้ง
จะไมส่ ามารถแพร่เชื้อได้อกี
ถึงแม้ว่าการติดเช้ือจากโรคฝีดาษลิงอาจหายเองได้โดยไม่ต้องรักษา แต่อาจพบผู้ป่วยท่ีมีอาการรุนแรงได้ อาทิ
ผู้ที่มีปัญหาด้านสุขภาพส่วนบุคคล เช่น ภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือ ผู้ท่ีมีอาการแทรกซ้อน เช่น การติดเชื้อซ้�ำซ้อน ปอดอักเสบ
เย่ือหุ้มสมองอักเสบ การติดเชอ้ื เข้ากระแสเลือด และการตดิ เชือ้ ท่กี ระจกตา อาจน�ำไปสู่การสูญเสียการมองเห็นได้
การรกั ษาโรคฝีดาษลิง
ปัจจุบันยังไม่มีการรักษาโรคฝีดาษลิงท่ีเฉพาะเจาะจง แต่สามารถควบคุมการระบาดได้ด้วยการฉีดวัคซีนป้องกันโรค
ไข้ทรพษิ สามารถป้องกนั โรคฝีดาษลิงได้ 85%
วธิ ีป้องกัน
1. หลีกเลย่ี งการสัมผัสกบั สัตว์ปว่ ย สตั วท์ ่เี ป็นพาหะโดยเฉพาะลงิ และสัตว์ฟนั แทะ
2. หมนั่ ล้างมือด้วยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอลบ์ ่อยๆ โดยเฉพาะหลังสมั ผัสสัตว์ และส่งิ ของสาธารณะ
3. หลีกเลี่ยงการสมั ผัสสารคัดหลง่ั บาดแผล เลือด นำ้� เหลอื งของสตั ว์
4. ใส่หน้ากากอนามยั เมื่อต้องเดินทางไปยังสถานท่เี สี่ยงมีการแพรร่ ะบาด
5. หลกี เลี่ยงการสมั ผัสสารคดั หลงั่ แผล ตมุ่ หนองหรอื ตมุ่ น�ำ้ ใสจากผมู้ ปี ระวัติเสย่ี ง หรือสงสยั ว่าตดิ เช้ือ
กรณที สี่ มั ผัสเชอื้ ไปแลว้ ควรฉีดวัคซนี ปอ้ งกนั ในกรณีทย่ี ังไมเ่ กนิ 14 วนั
ท่มี า : กรมควบคุมโรค, สถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตรส์ าธารณสขุ , โรงพยาบาลศริ ิราช ปยิ มหาราชการุณย์
ขอ้ มูล : นพ.เอเกรวยี ทิ บยเร์ เยี กงวล: ินวสา่ ทฤษร่ี อ้ ดย์ิ อตารยีหรุ ญแิงพอทสั ยศ์โมิราคตคิดังเชชะอื้ นศนั ูนยน์อกั าวยิเครุ กราระรมหน์ โรโยงพบายยาแบลาละแยผันนฮี
กลุ่มประชาสมั พนั ธแ์ ละสือ่ สารองค์กร สำ� นักงานเลขานกุ ารกรม
18 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
SPEAK ส วารสาร
HEY! ารพินจิ
ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
OK! NO! YES!
WHO? GREAT
รศู้ พั ทภ์ าษา
องั กฤษDONE
กบั กรมพินจิ ฯ
Child/ Juvenile/ Minor
ค�ำศัพท์ 3 ค�ำนี้ ต่างกันอย่างไรตาม พรบ. ศาลเยาวชนและครอบครวั ฯ
Child (noun): a boy or girl from the time of birth until he or she is an adult,
or a son or daughter of any age
ซึ่งความหมายตามพจนานุกรม หมายถึง เด็กชายเด็กหญิงทั่วไปหรือลูกชาย ลูกสาว แต่ถ้าหากอิงตาม
พรบ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ หมายถึง บุคคลซ่ึงอายุเกินกว่าที่ก�ำหนดไว้ตามมาตรา 73 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
แตย่ งั ไมเ่ กนิ สบิ ห้าปีบรบิ ูรณ์ (A person who is over the age as prescribed in Section 73 of the Criminal Code but
not over 15 years old)
Juvenile (noun): a person who is not old enough to be considered an adult
ซ่ึงความหมายตามพจนานุกรม หมายถึง ผู้ท่ียังไม่โตพอที่จะเป็นผู้ใหญ่ แต่ความหมายตาม พรบ. ศาลเยาวชนและ
ครอบครัวฯ หมายถงึ บคุ คลอายเุ กินสิบหา้ ปบี รบิ รู ณ์ แตย่ ังไม่ถงึ สบิ แปดปีบรบิ ูรณ์ (A person who is over fifteen years
old but does not attain the age of eighteen years old)
Minor (noun): someone who is too young to have the legal responsibilities
of an adult:
ซ่ึงความหมายตามพจนานุกรม หมายถึง ผู้ท่ีเด็กเกินไปท่ีจะมีความรับผิดชอบทางกฎหมายแบบผู้ใหญ่คล้ายกับ
ความหมายตาม พรบ. ศาลเยาวชนและครอบครวั ฯ ซ่ึงหมายถงึ ผ้เู ยาว์
เรกียลบมุ่ เวริเยีทงศส: ัมนพางันสธา์แวลธะิรปดราะมสีทานิพคยว์ นามกั วรว่ิเทมศมสือัมรพะหันวธา่์ปงฏปบิ รตัะเกิ ทาศร
ส�ำนกั งานเลขานกุ ารกรม
19วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร
ารพินจิ
ปที ี่ 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
ขอ้ ควรรเู้ กยี่ วกบั วนิ ยั
ตอน แนวทางการลงโทษ กรณคี วามผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ
โดย กองบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล กลมุ่ วนิ ัย
จากตัวอย่าง พฤติการณ์ดังกล่าวเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรงฐานประพฤติช่ัวอย่างร้ายแรง สามารถอา่ นกรณีศึกษาอ่นื ๆ
ตามขอ้ 24 (8) ของระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยพนกั งานราชการ พ.ศ.2547 เพม่ิ เติมได้ทาง
ดงั นนั้ โทษ คอื ไลอ่ อก QR Code
20 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปีที่ 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
“คนเดรวพ้าทยำนิ�หควั จิ วใจาฯมด”ี
โดย กลมุ่ ชว่ ยอำ�นวยการ
และเลขานกุ ารผบู้ รหิ าร
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนได้ด�ำเนินงานจิตอาสาภายใต้แนวคิด “คนพินิจฯ เราท�ำความดีด้วยหัวใจ”
โดยมีนายโกมล พรมเพ็ง รองอธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เป็นประธานคณะท�ำงานฯ ซึ่งการด�ำเนินงาน
จิตอาสาน้ัน กรมพินิจฯ ได้ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่องเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานโครงการจิตอาสาของกระทรวงยุติธรรม
ให้ส�ำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายท่ีก�ำหนด รวมทั้งเป็นการสนับสนุนการด�ำเนินการตามภารกิจจิตอาสาพระราชทานให้เป็นไปด้วย
ความเรียบรอ้ ย
สถานพินิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชนจงั หวดั สุพรรณบุรี
วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เจ้าหน้าที่พร้อมด้วยเยาวชน และคณะกรรมการสงเคราะห์ฯ สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก
และเยาวชนจังหวัดสุพรรณบุรี รวม 32 คน ร่วมปลูกต้นไม้บริเวณรอบริมบ่อน้�ำและพัฒนาพื้นที่โดยรอบ เพ่ือให้พื้นที่บริเวณ
ดงั กล่าวมีความสะอาด สวยงาม นำ� ไปสู่พน้ื ทที่ ส่ี ามารถใหค้ นในชุมชนสามารถใช้ประโยชน์ได้
สถานพินจิ และคมุ้ ครองเดก็ และ
เยาวชนจงั หวดั นครปฐม
วันท่ี 2 มิถุนายน 2565 เยาวชนของ
สถานพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจงั หวดั นครปฐม
รว่ มกนั ปรับปรุงอาคาร ตกแต่งทาสี เพ่อื ใหเ้ ยาวชน
ได้ฝึกวิชาชีพ และท�ำให้อาคารมีความเป็นระเบียบ
เรียบร้อย ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ท่ีดีต่อองค์กร
ณ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
จังหวัดนครปฐม
21วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร
ารพินจิ
ปีท่ี 20 ฉบับที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
สถานพินิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชนจงั หวดั สมุทรสาคร
วันท่ี 16 มิถุนายน 2565 สมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
จังหวัดสมุทรสาคร ร่วมฝึกวิชาชีพการท�ำกระเป๋าผ้าและเสื้อยืดมัดย้อมสีธรรมชาติ เพื่อสร้างทักษะความรู้ และเป็นการใช้
เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ กอ่ ใหเ้ กิดจิตส�ำนึกและภูมคิ ุม้ กันทางจติ ใจเพ่อื ไมใ่ ห้ไปยุง่ เก่ยี วกับยาเสพติด
สถานพินจิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เจ้าหน้าท่ี พร้อมด้วยเยาวชน จ�ำนวน 23 คน ร่วม
กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ โดยทาสสี นามกีฬาใหม่ เพอื่ ปรับภมู ทิ ัศน์ และใหผ้ ู้เข้ารว่ มเกิด
ความรู้สึกภาคภูมิใจ เห็นคุณค่าในตนเอง มีความเสียสละแก่ส่วนรวม และเกิด
ความสามัคคี ณ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานพินิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชนจงั หวดั เชยี งใหม่
วันที่ 20 กรกฎาคม 2565 เจ้าหน้าท่ี และเยาวชน สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
จังหวัดเชียงใหม่ รวม 20 คน ร่วมกันปลูกต้นไม้ บ�ำรุงรักษาต้นไม้ ก�ำจัดวัชพืช ตัดแต่งก่ิงไม้ และ
รดน�้ำต้นไม้ บริเวณรอบๆ สถานพินิจฯ เพ่ือให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ รู้จักการเสียสละ
การมีน้�ำใจ และมีจิตอาสา ณ สถานพนิ ิจและคุม้ ครองเดก็ และเยาวชนจงั หวดั เชียงใหม่
22 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปที ่ี 20 ฉบับที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
โครงการพัฒนาศกั ยภาพการขายสินคา้ ออนไลน์
สำ� หรบั เดก็ และเยาวชนในกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญา
วนั ที่ 9 มิถนุ ายน 2565 บริษทั โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมนู ิเคชั่น จ�ำกดั (มหาชน) โดยโครงการ ดแี ทค เน็ตทำ� กนิ
นำ� คณะเจา้ หนา้ ทีเ่ ข้าจัดกจิ กรรม “โครงการพฒั นาศักยภาพการขายสินคา้ ออนไลน์ส�ำหรับเดก็ และเยาวชนในกระบวนการ
ยุติธรรมทางอาญา” เพ่ือส่งเสริมความรู้ด้านการตลาดออนไลน์ การสร้างรายได้ผ่านช่องทางออนไลน์ รวมถึงสามารถเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีเป็นประโยชน์ในยุคปัจจุบันกับเด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา น�ำไปสู่
การสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างอาชีพเพื่อให้มีรายได้ในการเล้ียงดูตนเองและครอบครัวต่อไปในอนาคต โดยได้รับเกียรติ
จาก นายยุทธพงษ์ สนน่ั นาม และคณะ เป็นวิทยากรบรรยายพร้อมจดั กจิ กรรม ณ ศนู ย์ฝึกและอบรมเดก็ และเยาวชนสริ นิ ธร
ต�ำบลคลองโยง อำ� เภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม
Fast to Food สูตรป้ นั เชฟ ครงั้ ท่ี 1
วันที่ 19 มิถุนายน 2565 มูลนิธิชลลดา โดยศูนย์เรียนรู้วรการ จัดกิจกรรมอบรม “หลักสูตร Fast to Food
สูตรปั้นเชฟ คร้ังท่ี 1” ภายใต้โครงการ “คืนคนดี มีฝีมือ สู่สังคม” เพ่ือให้เด็กและเยาวชนได้ฝึกทักษะด้านการท�ำอาหาร
และเครื่องดื่ม การวางแผนการผลิต ค�ำนวณต้นทุน ผลก�ำไร รวมถึงน�ำไปใช้ต่อยอดประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่เด็ก
และเยาวชนในอนาคตภายหลังปล่อยตัว และสามารถกลบั คนื สูส่ งั คมได้อยา่ งมคี ุณภาพ โดยมีเยาวชนจากศูนย์ฝึกและอบรมฯ
จังหวัดสมุทรปราการ, สิรินธร, บ้านมุทิตา, บ้านกรุณา, บ้านอุเบกขา, บ้านปรานี และศูนย์สร้างโอกาสและบริการ
ดา้ นอาชพี เด็กและเยาวชน รวมจ�ำนวนท้งั สิ้น 17 ราย เขา้ ร่วมโครงการ ณ ศนู ยเ์ รยี นรูว้ รการ ต�ำบลพิมพา อำ� เภอบางปะกง
จังหวัดฉะเชิงเทรา
23วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร
ารพินจิ
ปที ่ี 20 ฉบับท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
Show & Share วนั ปลอ่ ยของ นอ้ งขอโชว์ และการประกาศรางวลั ประกวดส่ือ
วันท่ี 2 กรกฎาคม 2565 พ.ต.ท.วรรณพงษ์ คชรักษ์ อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน พร้อมด้วยเด็ก
และเยาวชนจากศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน เข้าร่วมงาน “Show & Share: วันปล่อยของ น้องขอโชว์ และ
การประกาศรางวัลประกวดส่ือ” ณ อาคารแกรนด์พาลาซโซ โรงแรมพาลาซโซ ถนนรัชดา กรุงเทพฯ ซ่ึงงานดังกล่าวเป็น
กิจกรรมหนง่ึ ภายใต้ “โครงการเสรมิ สร้างขดี ความสามารถครูและนักเรียนในโรงเรียนตำ� รวจตระเวนชายแดน เดก็ และเยาวชน
ในศนู ย์ฝกึ และอบรมเดก็ และเยาวชน สถานพนิ ิจและคมุ้ ครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยตุ ธิ รรม” ทีเ่ ปน็ ความร่วมมือร่วมกนั
ระหว่าง มูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี และกรมพนิ จิ และคุ้มครองเด็กและเยาวชน โดยไดร้ บั การสนับสนุนจากธนาคารฮ่องกงและเซ้ียงไฮแ้ บงกง้ิ
คอร์ปอเรชั่น (ธนาคาร HSBC) เพ่ือพัฒนาความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยเฉพาะส่ือออนไลน์อย่าง
ปลอดภยั สรา้ งสรรค์ และรเู้ ทา่ ทนั สง่ ผลใหเ้ ดก็ และเยาวชนไดท้ ำ� กจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ โอกาสนม้ี ผี ลงานทไี่ ดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ
ประกอบด้วย ประเภทออกแบบกราฟฟิก ได้แก่ ศฝ.ชายบ้านกรุณา, ประเภทคลิปยูทูบเบอร์ ได้แก่ ศฝ.ชายบ้านมุทิตา,
ประเภทรางวัลออกแบบกราฟฟิกยอดนิยม ได้แก่ ศฝ.ชายบ้านมุทิตา และประเภทรางวัลคลิปยูทูบเบอร์ยอดนิยม ได้แก่
ศฝ.บ้านบงึ
กจิ กรรม ผา้ ไทย สายใยยตุ ธิ รรม
วันที่ 1 สิงหาคม 2565 นายสมศักด์ิ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดกิจกรรม
“ผ้าไทย สายใยยุติธรรม” ภายใต้โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ซึ่งภายในงาน
มีนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ และบูธจ�ำหน่ายสินค้าผ้าไทย จากกรมพัฒนาชุมชน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
และกรมราชทัณฑ์ โอกาสน้ีผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงยุติธรรม ผู้บริหารระดับสูงของกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก
และเยาวชน ข้าราชการ และเจ้าหน้าท่ีในสังกัดกรมพินิจฯ เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวด้วย ณ บริเวณหน้าศูนย์อาหาร ชั้น 1
อาคารกระทรวงยตุ ิธรรม ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพมหานคร
24 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปีที่ 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
แกวรดรมวงก.า..รสงเคราะห์ โดย....นางอสิ รานชุ หนนุ ตะคุ
นกั ประชาสมั พนั ธ์
กลมุ่ ประชาสมั พนั ธแ์ ละส่อื สารองคก์ ร
เม่ือวันที่ 18-20 กรกฎาคม 2565 กรมพินิจและ
คุ้มครองเด็กและเยาวชน ได้จัดให้มีโครงการประชุมเชิงปฏิบัติ
การขับเคลื่อนการด�ำเนินงานกรรมการสงเคราะห์เด็กและ
เยาวชนสำ� หรบั สถานพินจิ ฯ ประจำ� ปี 2565 โดยมีวตั ถุประสงค์
เพื่อขับเคลื่อนการด�ำเนินงานกรรมการสงเคราะห์ให้มี
ประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับภารกิจของกรมพินิจและ
คุ้มครองเด็กและเยาวชน รวมถึงเป็นการสร้างขวัญก�ำลังใจ
ในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการสงเคราะห์ ทั้ง 77 จังหวัด
ที่ได้เข้ามาเป็นจิตอาสาสนับสนุนการด�ำเนินงานของกรมพินิจ
และคมุ้ ครองเด็กและเยาวชน ดว้ ยดีเสมอมา โดยมนี ายสมศักด์ิ
เทพสุทนิ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงยุติธรรม เปน็ ประธานในพิธี
เปิดโครงการ พร้อมปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “พลังเครือข่าย
และการขับเคล่ือนภารกิจกระทรวงยุติธรรม” ณ โรงแรม
มิราเคิล แกรนด์ คอนเวนช่ัน ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักส่ี
กรุงเทพมหานคร
ส�ำหรับกิจกรรมภายในงาน ประกอบด้วย พิธี ภาวะวิกฤต” และเวทีเสวนาในหัวข้อ “โอกาส” ซึ่งเปน็ การ
มอบป้ายงานวันกรรมการสงเคราะห์ให้แก่อธิบดีกรมพินิจฯ ถ่ายทอดประสบการณ์ของเด็กและเยาวชนที่เคยก้าวพลาด
เพ่ือส่งต่อป้ายดังกล่าวให้กับกรรมการสงเคราะห์ฯ และได้รับโอกาสอีกคร้ัง จนสามารถเร่ิมต้นชีวิตใหม่ได้
ท้ัง 77 จังหวัด โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ประกอบด้วย อดีตเยาวชนจากศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ
บูธนิทรรศการแสดงผลงานของกรรมการสงเคราะห์ และ เยาวชนเขต 7 ซึ่งไดร้ ับโอกาสในการสนบั สนนุ ทนุ การศกึ ษา
เวทีเสวนาในหัวขอ้ ตา่ งๆ อาทิ “พนิ จิ ดว้ ยใจ บอกเล่าเกา้ สบิ จากกรรมการสงเคราะหฯ์ จนจบการศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี
กรรมการสงเคราะห์” หัวข้อ “การใช้เทคโนโลยีและ ปัจจบุ นั ได้รับราชการทหารช้นั สัญญาบัตร อดตี เยาวชนจาก
นวัตกรรมในการสร้างความก้าวหน้าและปรับตัวให้ทันโลก ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบ้านปรานี ซึ่งได้รับ
ยุคใหมท่ ีเ่ ปล่ยี นแปลงไป” หวั ข้อ “การสื่อสารสาธารณะใน โอกาสเข้ารว่ มในโครงการ “Chef care dream Academy
สานฝนั ปน้ั เชฟ” และพนี่ อ้ งฝาแฝด อดตี เยาวชนจากศนู ยฝ์ กึ
และอบรมเด็กและเยาวชนชายบ้านมุทิตา ซึ่งได้รับโอกาส
จากสโมสรกีฬา BBG สนับสนุนการฝึกทักษะด้านกีฬาและ
ด้านการศึกษา จนจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี และ
ปัจจบุ นั เยาวชนทง้ั 2 ได้เป็นพนักงานประจำ� ท่ีมูลนิธิ ณภาฯ
ในพระด�ำริ พระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จ้าพชั รกิตยิ าภา
25วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร
ารพินจิ
ปที ่ี 20 ฉบบั ท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
โอกาสน้ี พ.ต.ท. วรรณพงษ์ คชรักษ์ อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครอง
เด็กและเยาวชน ไดเ้ น้นยำ�้ ในเรือ่ ง การให้โอกาส และการสรา้ งโอกาส ซงึ่ ถอื
เปน็ หลกั ปรชั ญาพน้ื ฐาน 2 ขอ้ ทคี่ วรยึดไว้ในการทำ� งานกับเด็กและเยาวชน
โดยต้องให้เขาได้เรียนรู้จากสิ่งท่ีชอบและถนัด เขาจะมีความสุขและท�ำ
มันได้ดี สามารถสรา้ งรายไดเ้ ลี้ยงตนและไม่คดิ กลบั มากระท�ำผดิ ซ�้ำอีก
“เมื่อสถิติการกระท�ำผิดของเด็กและเยาวชนลดน้อยลง
กระบวนการในการแก้ไข บ�ำบัด ฟื้นฟู เด็กและเยาวชนต้องมีการพัฒนา
เพื่อสามารถท�ำงานให้ใกล้ชิดกับเด็กและเยาวชนมากข้ึน เม่ือเกิด
การท�ำงานอย่างใกล้ชิดมากขึ้น น่ันแสดงว่าเราต้องท�ำได้ดีกว่าเดิม สิ่งน้ีเป็นโจทย์ใหม่ที่ส�ำคัญในการท�ำงานของ
กรมพนิ ิจฯ” ความตอนหนงึ่ ในการบรรยายพเิ ศษหวั ข้อ “การดำ� เนนิ งานกรรมการสงเคราะห์” เม่ือวนั ท่ี 19 กรกฎาคม 2565
ทั้งน้ี ท่านกรรมการสงเคราะห์สามารถรบั ชมภาพถ่ายเพ่มิ เตมิ ได้ โดยการสแกน QR Code ตามด้านลา่ งน้ี กรมพินิจ
และคุ้มครองเด็กและเยาวชน ขอขอบพระคุณท่านกรรมการสงเคราะห์ผู้ใจดีทุกท่านท่ีเล็งเห็นความส�ำคัญและให้
การสนับสนุนการด�ำเนินงานของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน อีกทั้งยังพร้อมให้โอกาสเด็กและเยาวชนได้กลับตน
เป็นคนดี หากไม่มีท่านกรรมการสงเคราะห์ทุกท่าน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน คงไม่สามารถด�ำเนินภารกิจให้
สำ� เร็จลลุ ่วงได้... ขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี
QR Code
โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการขับเคล่อื นการด�ำเนินงาน
กรรมการสงเคราะหเ์ ดก็ และเยาวชนส�ำหรบั สถานพนิ จิ ฯ ประจ�ำปี 2565
ระหวา่ งวนั ที่ 18-20 กรกฎาคม 2565
ณ โรงแรมมริ าเคิล แกรนด์ คอนเวนชน่ั ถนนวภิ าวดีรงั สิต
เขตหลกั สี่ กรงุ เทพมหานคร
26 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปีที่ 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
จสวู่ านักเกวษนั ยี ทณพี่ ทาภ่ี กาคเพภมูยี ิ ร...
นายชัยวชั ร์ มุณีแนม
ผูต้ รวจราชการกรม
นางสาวสุมาลี ญาณภาพ นางสุรัสวดี เกษรจันทร์
ผอู้ ำ� นวยการศูนยฝ์ กึ ฯ เขต 7 ผูอ้ �ำนวยการ
สถานพินิจฯ จงั หวัดจันทบุรี
นายเรวัตร บุญเรอื ง นายทวี โสนนอก
ผู้อำ� นวยการ ผู้อำ� นวยการ
สถานพินิจฯ จงั หวัดพะเยา สถานพนิ จิ ฯ จังหวัดลำ� พนู
นายวัฒนาทร ชใู หม ่ นางสาวเพชรนิ ทร์ ต้ังกิติวงศ์พร
ผอู้ ำ� นวยการ นักสังคมสงเคราะห์ชำ� นาญการพิเศษ
สถานพินิจฯ จังหวดั พทั ลุง สถานพนิ ิจฯ กรุงเทพมหานคร
นายสธรี ะ ทองตว่ น นายศิรศิ ักด์ิ คุม้ ไขน่ ้ำ�
พนกั งานคมุ ประพฤติชำ� นาญการพเิ ศษ นักวชิ าการอบรมและฝึกวชิ าชพี
สถานพินจิ ฯ จงั หวัดตรัง ชำ� นาญการพเิ ศษ
สถานพินิจฯ จังหวดั ร้อยเอด็
27วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร นายสุทธิพร ศรอี ินทร์
ารพินจิ นกั วชิ าการอบรมและฝกึ วชิ าชพี ชำ� นาญการ
ศนู ยฝ์ กึ ฯ เขต 9
ปที ่ี 20 ฉบับที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
นายพิสิษฐ์ ฉมิ เนย
นกั วชิ าการอบรมและฝกึ วชิ าชพี ชำ� นาญการ
ศนู ยฝ์ ึกฯ สริ ินธร
นายนชุ า โพธิ์พึ่ง นางสาวนงนชุ กาบแกว้
นกั วชิ าการอบรมและฝกึ วชิ าชพี ชำ� นาญการ นกั วชิ าการอบรมและฝกึ วชิ าชพี ชำ� นาญการ
สถานพนิ จิ ฯ กรงุ เทพมหานคร สถานพนิ จิ ฯ จงั หวดั นครปฐม
นายอำ� นาจ ศรีสังข์ นายส�ำราญ ทองมี
นกั วชิ าการอบรมและฝกึ วชิ าชพี ชำ� นาญการ นกั วชิ าการอบรมและฝกึ วชิ าชพี ชำ� นาญการ
สถานพนิ จิ ฯ จงั หวดั ตาก สถานพนิ จิ ฯ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
นายปัญญา ทวที รัพย ์
นายถนอม เถือ่ นแกว้ นกั วชิ าการอบรมและฝกึ วชิ าชพี ชำ� นาญการ
สถานพนิ จิ ฯ จงั หวดั สงขลา
พนกั งานคมุ ประพฤตชิ ำ� นาญการ
สถานพนิ จิ ฯ จงั หวดั สกลนคร นายสุรยิ า ณ สงขลา
นางสุกานดา นาคทน
นกั วชิ าการอบรมและฝกึ วชิ าชพี ชำ� นาญการ พนกั งานคมุ ประพฤตชิ ำ� นาญการ
สถานพนิ จิ ฯ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี สถานพนิ จิ ฯ จงั หวดั อดุ รธานี
นายประสิทธ์ิ เรอื งค�ำ
พนกั งานคมุ ประพฤตชิ ำ� นาญการ
สถานพนิ จิ ฯ จงั หวดั อบุ ลราชธานี
28 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
นายพีระ นาคภบิ าล ส วารสาร
พนกั งานขบั รถยนต์
กองบรหิ ารการคลงั กรมพนิ จิ ฯ ารพินจิ
ปีท่ี 20 ฉบับที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
นายวนิ ัย เนตรนิยม
พนกั งานขบั รถยนต์
กองบรหิ ารการคลงั กรมพนิ จิ ฯ
นายณรงค์ กล่ำ� อุบล นายพิทกั ษ์ มัธยมนนั ทน์
พนกั งานพนิ จิ พนกั งานพนิ ิจ
ศนู ย์ฝกึ ฯ ชายบ้านกรณุ า สถานพินจิ ฯ จงั หวัดมุกดาหาร
นายสืบศักดิ์ ทองกวาว นายไกรสร ใจบญุ
พนักงานพนิ ิจ พนกั งานพินิจ
ศูนยฝ์ กึ ฯ จงั หวดั สมทุ รปราการ ศูนย์ฝึกฯ ชายบ้านกรณุ า
นางผอ่ งโสภา พุ่มแย้ม นายอภิชาติ เหลือ่ มอไุ ร
พนักงานประกอบอาหาร พนกั งานพินิจ
ศูนย์ฝึกฯ ชายบ้านมทุ ติ า ศนู ยฝ์ ึกฯ สริ ินธร
นางสาวทิพยา สิขวิ ฒั น ์ นายญานสิต ตันพานชิ ย ์
พนกั งานสถานท่ี พนกั งานพินจิ
ศนู ย์ฝึกฯ หญิงบ้านปรานี ศูนย์ฝึกฯ เขต 6
นางนงลกั ษณ์ คำ� ลา นายสมคิด แกว้ พร้อมตรึก
พนักงานพนิ จิ พนกั งานขบั รถยนต์
ศนู ย์ฝกึ ฯ เขต 1 ศูนยฝ์ กึ ฯ เขต 2
29วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร นายอดุล สิงหะชยั
พนกั งานพินจิ
ารพินจิ ศนู ยฝ์ ึกฯ เขต 5
ปที ี่ 20 ฉบับท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565 นายจาตรุ งค์ คลา้ ยคลึง
Department of Juvenile พนกั งานพินิจ
Observation and Protection ศนู ยฝ์ ึกฯ เขต 6
นายปรชี า ซุ่นอื้อ
นางส�ำเริง บุรงี าม พนักงานพินจิ
พนักงานประกอบอาหาร สถานพนิ ิจฯ จงั หวัดตรัง
ศนู ย์ฝึกฯ เขต 2 นายวรี ะพนธ์ ภพู ลอย
นายอุดร บญุ ชิต พนักงานพนิ ิจ
พนกั งานพินจิ สถานพนิ ิจฯ จงั หวัดขอนแก่น
ศนู ยฝ์ ึกฯ เขต 5 นายโสภณ จนั ทรตั น์
พนักงานพินิจ
นางสุพพัต เฉลิมจกั ร์ สถานพินิจฯ จงั หวดั ตรงั
นายเอนก วิเศษสิงห ์
พนักงานพนิ จิ พนกั งานพินิจ
ศนู ยฝ์ กึ ฯ เขต 8 สถานพนิ จิ ฯ จงั หวัดนครปฐม
นายมาโนชญ์ เอี่ยมจรญู
พนักงานพนิ ิจ
สถานพินจิ ฯ กรุงเทพมหานคร
นางมาลา แววสวา่ ง
พนักงานพนิ จิ
สถานพนิ ิจฯ จังหวัดจันทบรุ ี
นางเขมณฏั ฐ์ โขวุฒิธรรม
พนักงานพินจิ
สถานพนิ จิ ฯ จังหวดั นครปฐม
30 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
นายวรี ะพันธ์ุ โพธิก์ ณั ฑ์ ส วารสาร
พนกั งานพนิ จิ ารพินจิ
สถานพนิ จิ ฯ จังหวดั นครราชสมี า
ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
นายประดษิ ฐ สมคั รพงค์
พนักงานพินจิ
สถานพนิ ิจฯ จงั หวดั พัทลุง
นางสาวพรลขิ ิต ปภาพันธ ์ุ นายสุวรรณศักดิ์ รา่ หมาน
พนกั งานพินจิ พนกั งานพินิจ
สถานพนิ ิจฯ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก สถานพินจิ ฯ จังหวัดภูเก็ต
นายนนั ทศักดิ์ แก้วแสนเมอื ง นายเวทิน พลเยีย่ ม
พนักงานขับรถยนต์ พนักงานพินิจ
สถานพินิจฯ จงั หวดั มหาสารคาม สถานพินิจฯ จงั หวัดยโสธร
นายวีระเดช ภมู ิเจริญ นางกนกวรรณ วรโรจนศิร ิ
พนกั งานพินิจ พนักงานพินจิ
สถานพินิจฯ จังหวดั ร้อยเอ็ด สถานพินิจฯ จังหวดั ระยอง
นางวรรณภา เกง่ การจับ นายสมบูรณ์ ไชยรุ่งเรอื ง
พนกั งานประกอบอาหาร พนักงานพินจิ
สถานพนิ ิจฯ จงั หวดั ล�ำปาง สถานพนิ จิ ฯ จังหวัดล�ำปาง
31วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร นายประกอบ ยวงใย
พนักงานพนิ จิ
ารพินจิ สถานพินจิ ฯ จังหวัดสุพรรณบุรี
นายปรญิ ญา มามาศ
ปที ี่ 20 ฉบับท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565 พนักงานพิทักษ์
ศูนยฝ์ ึกฯ ชายบ้านอเุ บกขา
Department of Juvenile นายอดลุ ย์ สมานนกลุ
Observation and Protection พนกั งานพินิจ
สถานพินิจฯ จงั หวดั นราธวิ าส
นางสาวสมจติ ร เป่ ียมจติ ร นางวฒั นา แพทยร์ กั ษ์
พนกั งานพินิจ พนักงานพนิ จิ
สถานพินจิ ฯ จังหวัดสมทุ รปราการ สถานพนิ ิจฯ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
นายสมพร ชิตเตชะ
พนกั งานสถานที่
สถานพินจิ ฯ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
นายสุทนิ เทียนงาม
พนกั งานพินจิ
ศนู ย์ฝึกฯ สิรินธร
นายทวศี ักดิ์ วณิชชาพาณชิ ย ์
พนักงานพินิจ
สถานพินิจฯ จงั หวดั ปัตตานี
นางสาวสุเมตตา ปานวุ งศ์
นกั จดั การงานทั่วไป
สถานพินิจฯ จงั หวดั สมทุ รปราการ
32 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
DJOP Centre ส วารสาร
ารพินจิ
ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
ศดู้นานยอ์สารช้าีพงโเอดก็กาแสลแะลเยะาบวรชิกนาร
ศูนย์สร้างโอกาสและบริการด้านอาชีพเด็กและเยาวชน รโ(อขาน่งคผาาด้า6ไใหห5ญม0ท่)ิชบชาูท
(DJOP Centre) เป็นศูนย์กลางในการจ�ำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ ทโขขอนนิช่งชาาผดดู ้าเกไลหล็กมางรารคาาคา204000บาบทาท
ที่ผลิตโดยฝีมือเด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในความดูแลของกรมพินิจและ
คุ้มครองเด็กและเยาวชน และเป็นศูนย์กลางการให้บริการจัดหางาน ราคา โ1อใ0ส่งส่0ผป�ำา้าบหกไหารกทัมบา
ให้กับเด็กและเยาวชน เพ่ือเป็นการแก้ไข บ�ำบัด และฟื้นฟูเด็กและ
เยาวชน เพื่อให้มีทักษะวิชาชีพ ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีงานท�ำ
มรี ายได้ และไมก่ ลับไปกระท�ำความผิดซ�้ำอกี
ผลิตภัณฑ์ : การประดิษฐ์โอ่งผ้าไหม
ผลิตภัณฑ์จาก : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
จังหวัดปทุมธานี
การประดิษฐ์โอ่งผ้าไหมเป็นการเพ่ิมมูลค่าของวัสดุที่มีอยู่ใน
ท้องถิ่น และเพ่ิมประโยชน์ในการใช้สอย เพื่อตอบสนองปัญหา
และความต้องการท่ีมีในยุคสมัยท่ีเปลี่ยนแปลงไป ในรูปแบบต่างๆ
เช่น โอ่งผ้าไหมส�ำหรับใส่กระดาษทิชชู่ โอ่งผ้าไหมส�ำหรับ
ใส่ปากกา แจกันดอกไม้โอ่งผ้าไหม โคมไฟโอ่งผ้าไหม เป็นต้น
อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดความแพร่หลายทางความคิดของ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการถ่ายทอดความรู้ให้กับคนในชุมชน
ตลอดจนบุคคลทั่วไป น�ำไปสู่การพัฒนาวิชาชีพให้กับเด็กและ
เยาวชน ภายในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัด
ปทุมธานี ปัจจุบันได้มีการน�ำเอาภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือภูมิปัญญา
ชาวบ้าน เข้ามามีส่วนร่วมในการฝึกทักษะวิชาชีพให้กับเด็กและ
เยาวชน เพื่อช่วยให้เด็กและเยาวชนได้มีโอกาสเรียนรู้และมี
ส่วนรว่ มในการนำ� เรอื่ งของภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์
ท่ีหลากหลายและเพ่ือเป็นการส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาและ
อาชีพให้กับเด็กและเยาวชนทอ่ี ยู่ในสถานควบคมุ
สอบถามและสั่งซ้อื ได้ที่ : รโคามคไาฟ2โอ,0่งผ0้า0ไหบมาท
ศูนย์สรา้ งโอกาสและบรกิ ารด้านอาชพี เด็กและเยาวชน
(DJOP Centre) โทร. 0 2141 3572
สถานพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชนจงั หวดั สุพรรณบุรี
โทร. 06 2663 5365 (คณุ นันทวนั )
ทกุ ท่านสามารถรว่ มเป็นส่วนหน่ึงในการสนับสนุนชว่ ยเหลือเด็กและเยาวชน
ผู้เคยก้าวพลาด ได้มีโอกาสสรา้ งผลงาน สรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้
ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ และไม่กลับไปกระท�ำผิดซ้ำ� อกี
33วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร
ารพินจิ
ปที ี่ 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
34 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปีท่ี 20 ฉบับท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
ความรเู้ ก่ียวกับ
พระราชบัญญัติ
ขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ
โดย....ศนู ยข์ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการกรมพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน
ขอ้ มลู การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่
เราอาจมีข้อสงสยั ว่า เจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ไปตรวจสอบเรือ่ งตา่ งๆ มากมายแลว้ เกบ็ เอกสารหลักฐานที่เก่ยี วกับเรอื่ งที่
ตรวจสอบไว้ด้วย เราจะสามารถขอดูเอกสารเหล่าน้ันได้หรือไม่ ถือเป็นข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานท่ีตรวจสอบหรือไม่
มาติดตามกนั ครบั
เรื่องนี้เร่ิมจากบริษัท A ซ่ึงเป็นโรงฆ่าสัตว์เพื่อส่งออก ถูกแจ้งความน�ำจับว่าฆ่าสัตว์โดยมิได้ระบุแหล่งที่มาของสัตว์
ส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัด B เข้าตรวจสอบพบว่า บริษัท A มีเอกสารแสดงแหล่งที่มาของสัตว์ออกโดยปศุสัตว์อ�ำเภอ C และ
ปศุสัตว์อ�ำเภอ D นาย ก จึงได้มีหนังสือถึงส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัด B ขอข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับส�ำเนาการปฏิบัติหน้าท่ีและ
หลักฐานที่ปศุสัตว์จังหวัด B ได้ตรวจสอบ เพราะไม่เช่ือว่าได้มีการตรวจสอบจริง ส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัด B แจ้งปฏิเสธการ
เปิดเผยโดยให้เหตุผลว่า เน่ืองจากเป็นข้อมูลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และเป็นข้อมูลส่วนตัวของผู้ประกอบการ และ
ส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัด B ไม่มีเอกสารต้นฉบับเก็บไว้ ขอให้นาย ก ติดต่อขอรับข้อมูลกับผู้ประกอบการหรือหน่วยงานที่ท�ำ
เอกสาร นาย ก จึงอุทธรณ์ตอ่ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยขอ้ มลู ขา่ วสาร
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขา
สังคม การบริหารราชการแผ่นดิน และการบังคับใช้กฎหมาย
วินิจฉัยสรุปว่า เอกสารส�ำเนาการปฏิบัติหน้าที่และหลักฐานที่
ส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัด B ได้ตรวจสอบเป็นข้อมูลข่าวสาร
ในการปฏบิ ตั ริ าชการตามปกติของส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัด B
แม้ว่าจะไม่มีต้นฉบับไว้ในการครอบครอง แต่ส�ำเนา
เอกสารดังกล่าวเม่ืออยู่ในความครอบครองของส�ำนักงาน
ปศุสัตว์จังหวัด B ก็ถือเป็นข้อมูลข่าวสารของราชการตาม
มาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
พ.ศ.2540 และไม่มีข้อความที่เข้าลักษณะอย่างหน่ึงอย่างใด
ทหี่ นว่ ยงานของรฐั หรอื เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั อาจมคี ำ� สง่ั มใิ หเ้ ปดิ เผย
ได้ตามมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน จึงเปิดเผยให้
ผู้อุทธรณ์ทราบได้ โดยให้ปกปิดข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลท่ี
ปะปนอยดู่ ว้ ยคอื ชอ่ื นามสกลุ ทอ่ี ยู่ และหมายเลขโทรศพั ทม์ อื ถอื
35วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร
ารพินจิ
ปที ่ี 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
ของฝาก
จากผอู้ ่าน...
ตามที่กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ได้จัดท�ำวารสาร “สารพินิจ” เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร
ความรู้ และสร้างความเข้าใจเก่ียวกับกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน ในโอกาสน้ี มีท่านผู้อ่านให้ความกรุณา
แสดงความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกับวารสาร “สารพินจิ ” เข้ามาหลายทา่ น อาทิ
ย งิ่ เตม็ ”“ความรยู้ ง่ิ ให้ ยง่ิ ได้ ยงิ่ เตมิ “เปน็ หนงั สอื ทมี่ เี นอ้ื หาสาระทดี่ ”ี
สถานพคกณุนิ รจิรนฯมนั กจทางั พรหรสว งดั เนนคอน้รยาทะสบหงรุฯ์า่ ี สถานนาพยนิ อจิ นกฯรพุ จรงงัมษหก์ วเารดัรอื กสงำ�งชแเยัคพศรงวิาเพเะวหชทฯร์
การปฏบิ“ไตั ดงิร้ าบั นทแรลาะบปนรโะยสบบากยารแณน”์วทาง ร ปู เลม่ ส“สี มนั เี สนวอื้ ยหงาาสมา”ระทเี่ ขา้ ใจงา่ ย
สถานนาพยนิรจิาฯเชนจงัทหรว์ อดั าลจำ� ชปนางะ ผอู้ ำ� นวยกานรสายถเาศนรพษนิ ฐจิ์ อฯนิ จทงั หรส์ววุดั รตราณก์
“เปน็ วารสารทด่ี ี มสี าระ”
สถานนาพยสนิ กจิ ลุฯชจางัยหวนดัาตคสากจั
กองบรรณาธิการขอขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้ และจะน�ำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของท่านผู้อ่าน
มาปรับปรงุ และพฒั นาการผลิตวารสารใหด้ ียิ่งขึ้นตอ่ ไป
**หมายเจหาตกุ*ท*่ากนอผงู้อบ่ารนรผณ่าานธกิกาารรสรแวกบนรวQมRข้อCมoูลdแeสดแบงคบวตาอมบคริดับเหวา็นรแสลาะรข“้อสเสานรพอินแนิจ”ะ
36 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปที ่ี 20 ฉบับท่ี 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
ขอเชญิ ชวนส่งบทความ/สารคดี
น�ำลงในวารสาร “สารพินิจ”
กองบรรณาธิการ “สารพินิจ” กล่มุ ประชาสัมพันธ์และสื่อสารองคก์ ร ส�ำนักงานเลขานกุ ารกรม ขอเชญิ ชวนบคุ ลากร
ของหน่วยงานในสังกัดกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน หรือท่านผู้อ่านที่สนใจเผยแพร่บทความ/ สารคดี ท่ีมีเนื้อหา
เก่ียวข้องกับกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน การศึกษา หรือการค้นคว้าวิจัย การศึกษาดูงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับภารกิจ
ของกรมพินิจฯ หรือเร่ืองราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ เพื่อเป็นการแบ่งปันประสบการณ์และความรู้แก่บุคลากรกรมพินิจฯ
องคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และประชาชนทว่ั ไป รวมทงั้ เพอื่ ให้ “สารพนิ จิ ” มเี นอื้ หาสาระและขอ้ มลู ทนี่ า่ สนใจเกย่ี วกบั เดก็ และเยาวชน
(วัยรุ่น) อย่างครอบคลุมในทุกๆ ด้าน โดยสามารถส่งบทความ/ สารคดี มาทาง E-mail: prdjop2563@gmail.com หรือ
ส่งเป็นเอกสาร พร้อม CD และภาพประกอบไปยังกลุ่มประชาสัมพันธ์และส่ือสารองค์กร ส�ำนักงานเลขานุการกรม กรมพินิจ
และคมุ้ ครองเด็กและเยาวชน อาคารกระทรวงยตุ ธิ รรม ช้นั 6 เลขท่ี 404 หมู่ 3 ถนนแจง้ วัฒนะ แขวงทุง่ สองหอ้ ง เขตหลักสี่
กรุงเทพฯ 10210
เนื่องจากหน่วยงานที่ส่งภาพกิจกรรมผ่านทาง Website บางภาพไม่คมชัด กองบรรณาธิการไม่สามารถน�ำมาลงได้
จึงขอให้ต้ังค่าของภาพให้คมชัด ห้ามพิมพ์ข้อความลงบนภาพ และพิมพ์ค�ำบรรยายของกิจกรรมหรือโครงการให้ครบถ้วน
พร้อมทั้งวัน เวลา และสถานท่ีจัดกิจกรรมให้ชัดเจน ถ้าส่งมาเป็นเอกสารขอให้จัดส่งมาเป็นกระดาษอัดรูปและค�ำบรรยาย
(พร้อม CD) เพอ่ื ความสะดวกการจัดส่งตน้ ฉบับไปยงั โรงพิมพ์
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม ได้เปิดรับฟังความคิดเห็นของผู้รับบริการและประชาชน
ทว่ั ไปให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพฒั นาระบบราชการของกรมพินิจฯ และการปฏิบัติงานของเจ้าหนา้ ท่ี อาทิ ไมไ่ ดร้ ับบรกิ ารท่ีดี
เจ้าหน้าท่ีพูดจาไม่สุภาพ พบเห็นข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่กรมพินิจฯ ทุจริต มีความประพฤติไม่เหมาะสมระหว่างปฏิบัติ
หน้าที่ หรือต้องการแนะน�ำบริการด้านต่างๆ ให้ดีและมีความสะดวกมากขึ้น โปรดแจ้งหรือส่งความคิดเห็นของท่านไปได้ที่
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม ชั้น 6 เลขท่ี 404 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง
เขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0 2141-6471 0 2141-6472 หรือตู้รับฟงั ความคดิ เห็นของหนว่ ยงานในสังกัดท่วั ประเทศ
(สถานพนิ จิ และค้มุ ครองเด็กและเยาวชนจงั หวดั และ ศูนยฝ์ กึ และอบรมเดก็ และเยาวชน) หรือ http://www.djop.go.th
พินิจด้วยรกั
พิทักษ์ด้วยใจ
37วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
สวารสาร
ารพินจิ
ปีท่ี 20 ฉบบั ที่ 2 ประจำ� เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
ขอความรว่ มมอื ตอบ
แบบตอบรบั
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ได้จัดท�ำวารสาร “สารพินิจ” ปีท่ี 20 เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้
และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน จึงขอมอบวารสาร “สารพินิจ” เพื่อให้ท่าน/หน่วยงาน
ของท่านได้น�ำไปใช้ประโยชน์ต่อไป หากได้รับวารสารเป็นที่เรียบร้อยแล้ว กรุณาตอบแบบตอบรับวารสาร “สารพินิจ”
โดยสแกนผ่าน QR Code หรือตอบแบบตอบรับ ส่งไปยัง กลุ่มประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร ส�ำนักงานเลขานุการกรม
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน อาคารกระทรวงยุติธรรม ชั้น 6 เลขท่ี 404 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง
เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ 10210 และเน่ืองด้วยในปี พ.ศ.2566 กรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน จะปรบั เปลี่ยนการเผยแพร่
วารสาร “สารพนิ ิจ” ในรูปแบบ E-book จึงขอสำ� รวจความคิดเห็นของทา่ น ผู้อ่าน มา ณ โอกาสน้ี
ช่อื -สกุล.......................................................................................................................................................................................
หนว่ ยงาน....................................................................................................................................................................................
(หากท่านเป็นกรรมการสงเคราะห์ของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน หรือ ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน
โปรดระบวุ า่ ท่ีใด)
ทีอ่ ยู่ ............................................................................................................................................................................................
โทรศพั ท์ .....................................................................................................................................................................................
หากมกี ารเปลยี่ นแปลงทอ่ี ยู่โปรดระบุ
....................................................................................................................................................................................................
ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกับวารสาร “สารพินจิ ”
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
ทา่ นต้องการรับวารสาร “สารพนิ ิจ” ในรูปแบบใด QR Code
แบบรูปเล่ม
แบบตอบรบั วารสาร
หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-book)
“สารพินิจ”
38 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
ส วารสาร
ารพินจิ
ปที ี่ 20 ฉบบั ที่ 2 ประจา�ำ เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection
39วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
วสิ ัยทศั น์
เปน็ องคก์ รทจ่ี ะทำ� ใหเ้ กดิ ความเปลย่ี นแปลงทด่ี แี กเ่ ดก็ และเยาวชน
ดา้ นพฤตนิ สิ ยั การศกึ ษาและอาชพี ภายใตก้ ระบวนการยตุ ธิ รรม
CRIME
DJOP
พินจิ ดว้ ยรกั พิทักษ์ดว้ ยใจ
จดั ทำ� โดย กลมุ่ ประชาสมั พนั ธแ์ ละส่อื สารองคก์ ร กรมพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน กระทรวงยุตธิ รรม
ตดิ ตามขา่ วสารไดท้ ี่ www.djop.go.th และ www.facebook.com/pr.djop.moj
โทรศพั ท์ 02-141-6474