The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

AW คู่มือกองทุนสิ่งแวดล้อม-4-3ebookAll

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suphasan Bamnejphan, 2020-03-19 12:27:25

คู่มือการให้คำแนะนำ

AW คู่มือกองทุนสิ่งแวดล้อม-4-3ebookAll

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงิแทลุนะสส่งิ่ิงแแววดดลลอ้อ้ มม

8. การมสี ว่ นร่วมในการด�ำเนินโครงการ

กองบริหารกองทุนส่ิงแวดล้อม เป็นหน่วยงานท่ีให้ความส�ำคัญในการมี
ส่วนร่วมกับโครงการท่ีขอรับการสนับสนุนงบประมาณฯ ตั้งแต่การร่วมรับรู้
ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมลงมือท�ำ ร่วมรับผลประโยชน์ และร่วมติดตาม
เพ่ือให้การด�ำเนินโครงการต้ังอยู่บนพ้ืนฐานความต้องการแก้ไขปัญหาที่มาจาก
ประชาชนอย่างแท้จริง เกิดการประสานความร่วมมือของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
รวมถึงมีการติดตามประเมินผลโครงการอย่างมีส่วนร่วมท้ังก่อนด�ำเนินโครงการ
ระหว่างด�ำเนินโครงการ และหลังส้ินสุดโครงการ ดังนั้น ผู้เสนอโครงการต้อง
ให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคส่วนที่เก่ียวข้องในทุก
ข้ันตอนของการด�ำเนินโครงการ รายละเอยี ดดงั ภาพท่ี ๑6
รป่วรมะตเมิดินตผาลม

ผลรป่วรมะรโยบั ชน์

ลงรม่วือมท�ำ

ตัดรสว่ มนิ ใจ

รว่ มคิด
รป่วญัมรหับารู้

การพัฒนาข้อเสนอโครงการ แผดขน�ำอเงนงานิ โนคโ/ครกรงจิ งกกการารรรม ผทตล่ีเดิกสตดิ �ำาขเรมน้ึ จ็

ผู้เสนอโครงการ ชุมชน สสภ. ทสจ. สผ. หน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง

ภาพที่ ๑6 การมสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

คมู่ อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ 49

อนมุ ตั งิ บประมาณ

ประเมนิ ผล

ดำ� เนนิ งาน ผลส�ำเรจ็



ข้นั ตอนการด�ำเนนิ โครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงิแทลุนะสสงิ่ิง่ แแววดดลลอ้อ้ มม

9. ขนั้ ตอนการด�ำเนนิ โครงการ
ข้ันตอนการด�ำเนินโครงการหลังจากโครงการได้รับการอนุมัติเป็นท่ี
เรียบร้อยแล้ว ผู้เสนอโครงการมีหน้าท่ีด�ำเนินกิจกรรมโครงการและใช้จ่าย
งบประมาณตามแผนท่ีก�ำหนด และต้องรายงานผลการด�ำเนินโครงการ
ให้กองบริหารกองทุนส่ิงแวดล้อมทราบในรายไตรมาส โดยในส่วนของ
กองบริหารกองทุนส่ิงแวดล้อมจะมีการลงพื้นที่ติดตามโครงการร่วมกับ
คณะอนุกรรมการฯ หรือคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม ในระหว่างด�ำเนิน
โครงการ และหลังส้ินสุดโครงการ รวมถึงรายงานผลการติดตามประเมินผล
โครงการให้คณะอนุกรรมการฯ และคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม
ตามขัน้ ตอนตอ่ ไป รายละเอียดดงั ภาพที่ ๑7

ค่มู อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลุม่ เปา้ หมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ 51

กส�ำอนงบกั รงาิหนารนกโยอบงาทยนุ แสลิง่ ะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มขั้นตอนการดำเนนิ โครงการผูเสนอสน�ิ สดุ โครงการ

ภาพท่ี ๑7 การดำ�เนนิ โครงการหลงั จากโครงการไดร้ บั การอนมุ ตั แิ ลว้ชุมชน อปท. ทสจ. สสภ. ทป่ี รกึ ษา ภาคสว นอน่ื ๆโครงการ
52 คู่มือการให้ค�ำแนะน�ำกลมุ่ เปา้ หมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ
ข้ันตอน รายงาน รายงาน รายงาน รายงาน ปท ่ี ๑ ปท ่ี ๒
เปดตวั ผลการดำเนนิ งาน ผลการดำเนิน ผลการดำเนิน โครงการท่ี
โครงการ สิ�นสุดโครงการ - ชุมชนทองถิ่น - ชุมชนทองถิ่น
รายไตรมาส โครงการ โครงการ - หนวยงานราชการ - หนวยงานราชการ
ระยะ ๖ เดอื น ระยะ ๑ ป -- ภผูเาสคนสอวโนคทรี่เงกกี่ยาวรของ -- ผภูเาสคนสอวโนคทรี่เงกกี่ยาวรของ

ระหวางการดำเนนิ โครงการ ตดิ ตามหลงั ส�ินสุดโครงการ

ตดิ ตาม ลงพน�้ ที่ นำเสนอรายงาน นำเสนอรายงาน ปที่ ๒
ผลการดำเนนิ งาน ตดิ ตามผล ผลการดำเนนิ งาน ผลระยะส�ินสดุ
การดำเนนิ งาน โครงการระยะ ๑ ป ประเมินความคุมคา
รายไตรมาส โครงการ
กก.กองทนุ ฯ
+อนฯุ กก. กก.กองทนุ ฯ กก.กองทนุ ฯ กก.กองทนุ ฯ กสองผทนุ .ฯ

กองบริหารกองทนุ ส่งิ แวดลอ ม

กเอคงรทอื ุนขส่างิ่ ยแพวเ่ี ดลลีย้ ้องม

๑๐

เครือขา่ ยพขี่เ้อลเย้ี สงนในอกโคารรงเขกยี านร

สกำ�อนงบักรงาิหนารนกโยอบงาทยนุ แสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

10. เครอื ขา่ ยพี่เล้ียงในการเขียนขอ้ เสนอโครงการ
กองทุนส่ิงแวดล้อมได้สร้างเครือข่ายการเป็นพี่เล้ียงในการเขียน
ข้อเสนอโครงการขึ้น เพื่อให้ค�ำแนะน�ำการจัดท�ำข้อเสนอโครงการแก่ผู้ที่สนใจ
ระดับพ้ืนท่ี โดยในปี พ.ศ. 2563 มีหน่วยงาน/องค์กรที่เข้าร่วมเป็นเครือข่าย
พ่เี ล้ียง รวมท้งั สิ้น 23 ราย กระจายใน 4 ภาค ไดแ้ ก่ ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออก
เฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ และได้ด�ำเนินการจัดท�ำฐานข้อมูลเครือข่าย
พี่เล้ียงฯ ในเว็บไซต์ของกองทุนสิ่งแวดล้อม (http://envfund.onep.go.th/)
เพ่ือช่วยให้ผู้เสนอโครงการรายใหม่สามารถเข้าถึงข้อมูลและได้รับค�ำแนะน�ำ
จากเครือข่ายพ่ีเลี้ยงฯ ตลอดจนสามารถพัฒนาข้อเสนอโครงการได้อย่างรวดเร็ว
และมีความถูกต้องตามคู่มือการพัฒนาข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณ
จากกองทุนส่ิงแวดล้อม ตามมาตรา 23 (4) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและ
รกั ษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 รายละเอยี ดดังภาพท่ี ๑8

54 คมู่ อื การให้คำ� แนะนำ� กลุม่ เป้าหมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงแิทลนุ ะสส่งิ่งิ แแววดดลล้อ้อมม

1. มูลนิธิพฒั นาชมุ ชนและเขตภเู ขา
2. คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3. สถาบันชุมชนเกษตรกรรมย่ังยนื
4. มูลนธิ พิ ัฒนาภาคเหนือ
5. มูลนธิ ิเพ่ือการพฒั นาทย่ี ั่งยืน (ภาคเหนอื )
6. มูลนิธิสอ่ื ประชาธรรม (ส�ำนักข่าวประชาธรรม)
7. สมาคมปกาเกอะญอเพอ่ื การพฒั นาสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม
8. มูลนิธิส่งเสรมิ การเรยี นรู้ชมุ ชน (วัดโป่งค�ำ)
9. มูลนธิ ฮิ กั เมืองน่าน
10. สมาคมเพื่อการอนุรักษแ์ ละพัฒนาเทือกเขาเพชรบูรณ์
11. สมาคมเพอื่ นภู
12. สถาบนั วจิ ยั วลัยรกุ ขเวช มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
13. มลู นธิ ิเพือ่ เยาวชนชนบท
14. มูลนธิ ขิ า้ วขวัญ
15. สมาคมเพอื่ นสง่ิ แวดลอ้ มจังหวดั ชมุ พร
16. มลู นธิ ปิ ่า - ทะเลเพื่อชวี ิต
17. องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบลศรสี ขุ
18. องค์การบริหารสว่ นตำ� บลนาดี
19. สภาองค์กรชมุ ชนตำ� บลหนองโรง
20. มลู นธิ อิ ีสต์ ฟอร่มั
21. มูลนิธกิ ารศกึ ษาเพอ่ื โลกสเี ขยี ว
22. สมาคมภมู ินิเวศพัฒนาอยา่ งยั่งยืน
23. เครือข่ายอาสาสมคั รพิทักษท์ รัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมหมูบ่ ้าน (ทสม.) อำ� เภอนาดี

ภาพท่ี ๑8 เครอื ขา่ ยพเ่ี ลย้ี งในแตล่ ะภาค
คู่มือการให้ค�ำแนะน�ำกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ 55

๑๑

ตกอวั องทยนุา่ งสโิ่งคแรวงดกลา้อรทม่ีไดต้ราบัมกมาารตสรนาับ2ส3นุน(4จา)ก

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงแิทลนุ ะสสงิ่ง่ิ แแววดดลล้ออ้ มม

11. ตัวอยา่ งโครงการท่ีไดร้ ับการสนบั สนนุ จากกองทนุ
สง่ิ แวดลอ้ ม ตามมาตรา 23 (4)

ปจั จุบนั มโี ครงการท่ีมีความโดดเดน่ และสามารถใช้
เป็นตัวอย่างการด�ำเนินงานที่ประสบผลส�ำเร็จ ในแต่ละกรอบการสนับสนุน
งบประมาณฯ ดงั นี้

กรอบทศิ ทาง หน่วยงาน ท่ีอยู่ตดิ ตอ่
การสนบั สนนุ ฯ รายชือ่ โครงการ เจา้ ของ
ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ โครงการ

๑. การปกปอ้ ง คุ้มครอง ๑.๑) โครงการรว่ มใจ สมาคม เลขท่ี ๓๗๒/๘ หมทู่ ่ี ๑
และฟ้นื ฟพู ้ืนทอ่ี นรุ กั ษ์ รักษาป่าต้นน�ำ้ แม่แจ่ม ปกาเกอะญอ ซอยเตอื นใจ ถนนสนั ทรายเกา่
พน้ื ที่ปา่ ตน้ น้ำ� ทรพั ยากร โดยภมู ปิ ญั ญา เพ่ือการพัฒนา ตำ� บลสันทรายนอ้ ย
ป่าไม้ สัตว์ป่า และทรพั ยากร ปกาเกอะญอ สงั คมและ อ�ำเภอสันทราย
ทางทะเลและชายฝัง่ สง่ิ แวดลอ้ ม จงั หวัดเชยี งใหม่ ๕๐๒๑๐

๑.๒) โครงการยกระดับ มลู นธิ ิ เลขที่ ๖/๒๐ หม่ทู ่ี ๓
การเรยี นรูส้ ูก่ ารจดั การ ปา่ - ทะเล ถนนเลย่ี งเมือง ต�ำบลมะขามเตี้ย
พื้นท่ีชุ่มน้�ำอา่ วบ้านดอน เพือ่ ชีวิต อ�ำเภอเมือง จงั หวดั
อย่างยง่ั ยนื   สรุ าษฎร์ธานี ๘๔๐๐๐ 

๒. การอนรุ กั ษแ์ ละ ๒.๑) โครงการพัฒนา ๒.๑.๑) ทีอ่ ยู่ส�ำนกั งานกลาง:
ใช้ประโยชนท์ รัพยากร ศักยภาพเครือขา่ ย มูลนิธเิ พ่อื เลขที่ ๔๐๙ ซอยโลหิตสขุ
ธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ทรัพยากรลุ่มนำ้� แม่แตง การพัฒนา ถนนประชาราษฎร์บำ� เพญ็
สง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติ ตอนบน เพื่อการอนรุ กั ษ์ ท่ยี ัง่ ยืน แขวงหว้ ยขวาง
สง่ิ แวดล้อมศิลปกรรม และ และฟืน้ ฟูต้นน�ำ้ แม่แตง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ
ความหลากหลายทางชีวภาพ ตอนบน อำ� เภอเวียงแหง ท่อี ยภู่ าคเหนอื :
ใหเ้ กดิ ความยง่ั ยืน จังหวัดเชียงใหม่ เลขท่ี ๗๗/๑ หมทู่ ่ี ๕
ตำ� บลสุเทพ อ�ำเภอเมอื ง 
จงั หวดั เชียงใหม่ ๕๐๒๐๐

๒.๑.๒) ศนู ยป์ ระสานงาน
เครือข่าย วัดกองลม
ทรัพยากร ตำ� บลเมอื งแหง
ลุ่มน�้ำแมแ่ ตง อำ� เภอเวยี งแหง
ตอนบน จังหวัดเชยี งใหม่ ๕๐๓๕๐

คู่มอื การให้คำ� แนะนำ� กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ 57

สก�ำอนงบกั รงาิหนารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลท้อรมพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กการรอสบนทับิศสทนานุ งฯ รายช่อื โครงการ หเนจว่า้ ยขงอางน ท่ีอย่ตู ดิ ตอ่
ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ โครงการ

๒.๒) โครงการเพม่ิ มลู นธิ ิพฒั นา เลขท่ี ๗๗/๑ หมู่ ๕
ประสิทธิภาพ ภาคเหนอื ตำ� บลสุเทพ อ�ำเภอเมอื ง
การอนรุ ักษ์ตน้ ไม้ใหญ่ จังหวัดเชยี งใหม่ ๕๐๒๐๐
และการจัดการพนื้ ท่ี
สีเขียวเมืองเกา่ เชียงใหม่
ตามแนวคดิ นเิ วศ
ประวตั ิศาสตร์
อย่างมีส่วนร่วม 

๓. การจัดการขยะ ๓.๑) โครงการส่งเสริม โครงการ กองบรหิ ารกองทนุ สิ่งแวดล้อม
และน้ำ� เสียทีแ่ หล่งก�ำเนดิ การมีส่วนร่วมของชุมชน เชงิ รุกของ สำ� นกั งานนโยบายและแผน
โดยกระบวนการ ในการคดั แยกขยะ กองบริหาร ทรัพยากรธรรมชาติและ
มีส่วนรว่ มของชุมชน ทต่ี ้นทาง กองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม
สง่ิ แวดลอ้ ม เลขที่ ๖๐/๑ ซอยพิบูลวัฒนา ๗
ถนนพระรามท่ี ๖ พญาไท
เขตพญาไท กรงุ เทพฯ
๑๐๔๐๐

๓.๒) โครงการ คณะ ถนนเชยี งใหม่ - พรา้ ว
การจัดการเศษวัสดุ วศิ วกรรม และ ตำ� บลหนองหาร
เหลอื ทิง้ ทางการเกษตร อุตสาหกรรม อ�ำเภอสันทราย
ใน ๘ จังหวัดภาคเหนือ การเกษตร จังหวดั เชียงใหม่ ๕๐๒๙๐
ตอนบนอยา่ งมีส่วนร่วม มหาวทิ ยาลัย
แมโ่ จ้

๔. การเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ (ยงั ไมเ่ คยมีโครงการ - -
ชุมชนในการรบั มือกบั ทีไ่ ดร้ ับการสนบั สนนุ )
การเปลยี่ นแปลง
สภาพภมู ิอากาศ

58 คูม่ อื การให้คำ� แนะน�ำกลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ

ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลุนะสสง่ิิง่ แแววดดลลอ้อ้ มม

กการรอสบนทบั ศิสทนาุนงฯ รายชือ่ โครงการ หเนจว่้ายขงอางน ทีอ่ ยตู่ ิดตอ่
ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ โครงการ

๕. การสนับสนุนการเกษตร ๕.๑) โครงการฟนื้ ฟู สถาบันชุมชน ๑/๖๒ ถนนงามวงศว์ าน ๔๓
ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ ระบบนิเวศเกษตร ท้องถิน่ พฒั นา แยก ๑๙ (ซอยชนิ เขต๑/๑๙)
พอเพียง และสง่ เสริม เพื่อสง่ิ แวดลอ้ ม (ช่ือเดมิ คอื แขวงทุ่งสองห้อง
การบรโิ ภคท่เี ปน็ มติ ร โดยชมุ ชนท้องถ่นิ มลู นิธิชุมชน เขตหลักส่ี กรุงทพฯ ๑๐๒๑๐ 
ต่อส่งิ แวดลอ้ ม จังหวดั นครพนม ทอ้ งถ่ินพัฒนา)

๕.๒) โครงการฟน้ื ฟู มลู นธิ ิ เลขท่ี ๑๓/๑
ระบบนเิ วศเกษตรและ ข้าวขวญั ถนนเทศบาลท่าเสด็จ ๑
ความหลากหลาย ซอย ๖ หมู่ ๓ ตำ� บลสระแก้ว
ทางชีวภาพของ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบรุ ี
พนั ธ์ุขา้ วพื้นบ้าน ๗๒๒๓๐
ในระบบเกษตรอินทรีย์ท่ี
เปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม

๖. การส่งเสรมิ และ ๖.๑) โครงการ ศูนย์ ศูนยส์ ารสนเทศ
สนบั สนนุ การวิจยั ด้าน การถ่ายทอดเทคโนโลยี สารสนเทศ ไส้เดอื นดนิ แม่โจ้
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ทีเ่ หมาะสม ไส้เดือนดิน ภาควชิ าทรพั ยากรดิน
สงิ่ แวดล้อม และการใช้ ในการจดั การขยะอนิ ทรยี ์ แมโ่ จ้ และส่งิ แวดล้อม
เทคโนโลยีท่ีสะอาด ส�ำหรบั ชุมชนขนาดยอ่ ม มหาวทิ ยาลยั คณะผลิตกรรมการเกษตร 
แมโ่ จ้ มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้
เลขที่ ๖๓ หมู่ ๔
ถนนเชยี งใหม่ - พร้าว
ต�ำบลหนองหาร
อำ� เภอสันทราย
จงั หวัดเชียงใหม่ ๕๐๒๙๐

๖.๒) โครงการพัฒนา ส�ำนกั งาน เลขท่ี ๑๒๖
แบบจำ� ลองเชิงพ้ืนท่ี ส่งิ แวดล้อม ถนนสมบรู ณก์ ลุ
แบบพลวัต เพอื่ ตดิ ตาม ภาค ๘ อ�ำเภอเมือง
และประเมนิ สถานการณ์ (ราชบรุ )ี จงั หวดั ราชบรุ ี ๗๐๐๐๐
คณุ ภาพน้�ำ กรณศี กึ ษา
แม่น้�ำเพชรบุรี

คมู่ ือการให้ค�ำแนะน�ำกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ 59

กส�ำอนงบกั รงาิหนารนกโยอบงาทยนุ แสล่งิ ะแแวผดนลท้อรมพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

โโคดรยงภกูมาปิ รัญรว่ ญมาใจปรกกั าษเกาอปะา่ ญตน้อนำ�้ แม่แจม่

สถานการณป์ ัญหา พื้นทดี่ ำ� เนนิ การ

พืน้ ท่ีปา่ ต้นนำ้� ในอ�ำเภอกลั ยาณิวัฒนา บา้ นห้วยฮอ่ ม บา้ นสันม่วง
มแี นวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง มสี าเหตุ และบ้านวดั จันทร์ ตำ� บลบา้ นจนั ทร์
จากการบกุ รุกแผ้วถางปา่ เพ่อื การเกษตร อ�ำเภอกัลยาณวิ ัฒนา จังหวดั เชยี งใหม่
เชิงเดี่ยว การใชส้ ารเคมีเพอ่ื การเกษตร

ท่มี ีแนวโน้มสูงข้ึน

ผลกระทบ การด�ำเนินงาน

• ความหลากหลายของชนิดพันธุ์พืช โดยสมาคมปกาเกอะญอ
และสัตว์ลดลง เพอื่ พัฒนาสงั คมและสงิ่ แวดล้อม
• เกิดการชะลา้ งพงั ทลายของพ้ืนที่
และเกดิ น�้ำป่าไหลหลาก พ.ศ. 2552 - 2555
• การสูญเสียภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ ส่งเสริม : การมีส่วนรว่ มในการรกั ษา
ป่าต้นน�้ำ
และจัดการปา่ อย่างถูกวธิ ี
บนพ้ืนฐานภูมปิ ัญญาดั้งเดมิ

ของปกาเกอะญอ

วัตถุประสงค์ เพื่อพฒั นาศักยภาพ/แนวคดิ และสรา้ งกระบวนการศึกษา
ในวิถีชีวิตและความเช่ือเก่ียวกับการดูแล รักษา และใช้
ประโยชน์จากปา่ ชมุ ชน


เพอ่ื ฟืน้ ฟูป่าตน้ น�ำ้ ปา่ ชมุ ชน แหลง่ อาหาร ด้วยภมู ปิ ญั ญา
ปกาเกอะญอ รวมถึงการเรียนรู้การจัดท�ำแผนที่การใช้
ประโยชน์ทด่ี ิน และข้อมูลภูมิสารสนเทศ

60 คู่มือการให้ค�ำแนะนำ� กลุม่ เป้าหมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

สำ� นักงานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลุนะสสง่ิ่ิงแแววดดลล้อ้อมม

แผนงาน/กิจกรรม สร้างองคค์ วามรู้และแลกเปลย่ี นประสบการณ์
การอนุรักษป์ า่ ต้นน้ำ� ปกาเกอะญอ


การฟนื้ ฟูทรัพยากรธรรมชาตปิ า่ ชมุ ชนปกาเกอะญอ

รณรงค์เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธโ์ ครงการ

การติดตามนิเทศโครงการ

ผลสำ� เรจ็ ท่เี กดิ ข้ึน
1) ผืนป่าจ�ำนวน ๓๙,๔๖๓ ไร่ ได้รับการดูแลรักษาด้วยภูมิปัญญาด้ังเดิม
ของกลมุ่ ชาตพิ นั ธปุ์ กาเกอะญอ
2) ปา่ รมิ ล�ำหว้ ยและปา่ ครอบครัวได้รบั การฟนื้ ฟู
3) เกิดศูนย์การเรียนรู้ระบบนิเวศป่าไม้ ชีววิทยา และวนศาสตร์เบื้องต้น
จำ� นวน 1 แหง่
4) เกิดฐานข้อมูลแนวเขตท่ีดินรายแปลงใน 3 หมู่บ้าน โดยกระบวนการ
มสี ่วนร่วม

คมู่ อื การให้คำ� แนะนำ� กลุ่มเป้าหมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ 61

กส�ำอนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยนุ แสลิ่งะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

โพคื้นรทงกช่ี าุม่ รนย�ำ้ กรอะ่าดวบับกา้ านรดเรอียนนอรยู้สา่ กู่งายรง่ั จยัดนื การ

สถานการณป์ ัญหา พน้ื ท่ดี �ำเนินการ

ชุมชนในพื้นท่ีอา่ วบ้านดอนมีการใช้ อบต. 9 แห่ง ในอำ� เภอท่าฉาง
ประโยชนจ์ ากทรัพยากรประมง อำ� เภอไชยา อำ� เภอกาญจนดษิ ฐ์
การจับสัตว์น้ำ� เกินศกั ยภาพในการผลติ อำ� เภอดอนสกั จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
และการใช้เครอ่ื งมอื ประมงทมี่ ีลักษณะ และโรงเรียนรอบอา่ นบา้ นดอน 9 แห่ง

ทำ� ลายลา้ ง

ผลกระทบ การดำ� เนนิ งาน

ทรพั ยากรลดลง เกดิ การแย่งชงิ โดยมลู นธิ ิป่า - ทะเลเพอ่ื ชีวิต
การใช้ประโยชน์ พ.ศ. 2556 - 2559

สง่ ผลกระทบต่อรายได้ สง่ เสรมิ : การพฒั นาศกั ยภาพองค์กร
และเกิดความขัดแยง้ ชุมชนในการร่วมกันจัดการทรัพยากร

ของคนในชุมชน อา่ วบา้ นดอน

วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ เสริมสรา้ งศกั ยภาพใหก้ บั องคก์ รชมุ ชน และ
หน่วยงานต่าง ๆ ใหเ้ ข้ามามบี ทบาทในการจดั การ
ทรัพยากรธรรมชาติ


เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติฯ
ทเี่ หมาะสมและเป็นต้นแบบการจัดการสู่ความยัง่ ยนื

เพอ่ื พฒั นาพื้นทช่ี ุม่ น�้ำอ่าวบา้ นดอนเปน็ แหล่งเรยี นรู้

62 คู่มือการให้คำ� แนะน�ำกลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ

สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลุนะสส่งิ่งิ แแววดดลล้ออ้ มม

แผนงาน/กิจกรรม
เกบ็ รวบรวมข้อมลู การใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรฯ

แเสลระิมเศคักรือยขภา่ายพใขนีดกคาวราอมนสรุ ากั มษา์แรลถะใหฟอ้น้ื งฟคทู ก์ รรัพชยุมาชกนรฯ
อนุรกั ษ์และฟนื้ ฟอู า่ วบ้านดอน

เแสกรนิมนศำ�ักชยมุ ภชานพอในงคก์การรบปรกหิคารรอจงดัสกว่ นารททอ้ รงพั ถย่นิ ากรฯ
แผนพฒั นาหลักสตู รท้องถิ่น

รณรงค์ประชาสัมพนั ธ์โครงการ

ผลส�ำเร็จทีเ่ กดิ ขนึ้

2 1)) โเมมโมเมรกมททรกดะลกแีีีกีขีำ�งิดยศหอุ่หมาลเใ้อมรขบหปรว่มุอลมียีม้กอ่าา้เทกงงู่ลกนงลลูำ�บคอ.อกดิมหคัน์กญจ1ง1นักูลน่าทร�ำรุ 2ญาสคดชนักแุนรงูัต่แุมาษหวแปทถกินจนชห์ท่งรำ�งึ าานวับงง่ร9ก1รเาทพัเขมใกนป5่ีจยตแชหีรรล1ัดาห/้ปะล่ว่ียแกต,่งมรบ5กันหรั้งะกสเว1ปเขลขคโนัูตน้ึนร3่งา้ยรระกอมใ,ช่อืท8หมาาานง้อหร0งมมม์ททมงาีส่ม6อืถรีเี่สา่วีคปปน่ิ/งบ่นววทรน็ตดนาราะอี่แ้ารท่วมรมยนหงม่วเงขขู่กลใม(้มนอจาง่Dขงแเรคำ� อรiสอขนrณียงeตัน็งวนทะcวนุรรทุมกtท์ักู้ขีกภ�ำ1ะษbองาาเ0ท์างลeรคนชรแหnกสัพมุขลาeล่วชอยยกfุ่มนiนงาาเtปชกกsขุมล)รอ2ธช่ียขงรนนจอรทเอุดมงร้อบทียชงนาตรถตัพร.่นิ อิู้ปย9า่ราวะกแบสรห้าบป่นงกรดาแะอรลมนณะง์
6 875 43))))))

คู่มือการให้คำ� แนะนำ� กลุ่มเปา้ หมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ 63

กสำ�อนงบกั รงาิหนารนกโยอบงาทยุนแสล่ิงะแแวผดนลท้อรมัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

แแโคมมร่่แแงตตกงงาตตรออพนนัฒบบนนนาศเอพัก�ำยอ่ืเภภกอาาเรพวอเียคนงรุรแือักหขษงา่์ แยจลทังหะรฟวพั ัด้นืยเาฟชกูปยี รงา่ ลใตมุ่หน้ นมน้�ำ่ ำ�้

สถานการณป์ ัญหา พ้นื ที่ดำ� เนนิ การ
7 หมูบ่ ้าน ในต�ำบลเปียงหลวง
ชุมชนในพืน้ ทอ่ี ำ� เภอเวียงแหงถูกละเมิดสิทธิ และต�ำบลแสนไห
ในการเขา้ ถงึ และใช้ประโยชน์จากฐาน อำ� เภอเวยี งแหง จงั หวดั เชยี งใหม่
ทรัพยากรธรรมชาติ อนั เป็นผล
มาจากโครงสร้างทางกฎหมายที่เปล่ยี น
ระบบจากรปู แบบสทิ ธิรว่ มไปเป็นสิทธิ
แบบเบด็ เสรจ็

ผลกระทบ การด�ำเนินงาน

 ชาวบา้ นขาดพ้นื ท่ีทำ� กนิ และ โดพยม.ศลู .น2ิธ5พิ 5ัฒ7นา-ภ2า5ค5เห9นือ
ขาดแหล่งอาหารเกดิ ผลกระทบตอ่ สง่ เสรมิ : การพัฒนาศกั ยภาพองค์กร
รายไดข้ องครอบครวั ชุมชน ในการเสนอแผนจดั การที่มาจาก
 ชาวบา้ นและเจ้าหน้าทภ่ี าครัฐ ชมุ ชน และการจดั ทำ� ข้อมลู แนวเขต
ขาดการท�ำงานร่วมกัน ทำ� ใหเ้ กดิ
ความขดั แย้งเรือ่ งแนวเขตอยเู่ ปน็ ระยะ อยา่ งมสี ่วนร่วม

วัตถุประสงค์

เพ่อื เสรมิ สรา้ งศักยภาพเครอื ข่ายทรพั ยากร
ลุ่มนำ�้ แม่แตงตอนบนในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ

เพื่อยกระดบั องคค์ วามรู้ ส่กู ารจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์
เครอื ขา่ ยองคก์ รชาวบา้ นในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ

เพอื่ พฒั นากลไกความรว่ มมอื เครอื ขา่ ยองคก์ รชาวบา้ น อปท.
ภาคีในพ้นื ท่ี ผลักดนั ขอ้ เสนอนโยบายสาธารณะทอ้ งถ่นิ

64 คมู่ ือการใหค้ ำ� แนะน�ำกลุ่มเปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงิแทลนุ ะสส่งิิ่งแแววดดลล้อ้อมม

แผนงาน/กจิ กรรม พจำ�ัฒนนวนาศ1ักยเคภราอื พขเา่คยรือข่ายทรัพยากรลุ่มน้�ำแม่แตงตอนบน


สแผนนับยสทุ นธุนศกาาสรตถรอ์เคดรบอื ทขเ่ารยียทนรพัยกยารกะรดับชุดความรู้สู่การจัดท�ำ

ใจนัดรทะด�ำบัแชผมุ นชกนาแรลจะเัดคกรอืาขรา่ทยรลัพมุ่ นยำ�้าแกมรแ่ ธตรงรตมอนชบานติและสิ่งแวดล้อม

พในัฒกนาารเจคัดรืทอข�ำ่แายลคะวสานมับร่สวมนมุนือขร้อัฐเสทน้อองถนิ่นโยภบาาคยีทสี่เากธี่ยาวรขณ้อะง
ในระดบั ทอ้ งถิน่
ผลส�ำเร็จท่ีเกดิ ข้นึ

1) พื้นที่ป่าไม้จ�ำนวน 6,500 ไร่ ได้รับการฟื้นฟู ป้องกัน และดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
โดยการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน
2) มีกลุ่มเครอื ข่ายทรพั ยากรล่มุ น้�ำแม่แตงตอนบน จำ� นวน 2 เครือข่าย
3) เกิดข้อมูลแนวเขตที่ดินโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่ช่วยให้เกิดแผนที่ท่ีชัดเจน
และเป็นระบบ
4) มีกลไกความร่วมมือเครือข่ายองค์กรชาวบ้าน อปท. และภาคีในพื้นที่ ผลักดันข้อเสนอ
นโยบายท้องถน่ิ
5) เกดิ แผนยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มลมุ่ นำ้� แมแ่ ตงตอนบน
1 ฉบบั
6) เกิดเทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถ่ินว่าด้วยเร่ือง ระบบผังชุมชนในการจัดการ
ทรพั ยากร ดนิ นำ�้ ปา่ 2 ตำ� บล

คมู่ อื การให้คำ� แนะน�ำกลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ 65

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยนุ แสล่ิงะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

โแตคลารมะงกแกานารวรจเคพัดิดก่ิมนาปเิ รวรพศะนื้ปสททิระี่สธวิภเี ขัตาียิศพวากเสมาตรอื รองอ์ นเกยุรา่่าักเงชษมยี์ตสี ง้น่วใไนหมรม้ใ่ว่หมญ่

สถานการณป์ ัญหา พน้ื ท่ีด�ำเนินการ

ตน้ ไมใ้ หญใ่ นเมอื งเกา่ เชยี งใหมก่ วา่ 320 ตน้ เขตเมอื งเกา่ เชียงใหม่
ขาดการดแู ลรกั ษาอยา่ งถกู วธิ ี และถนนสายตน้ ยางนา ระยะทาง
และขาดการเชอื่ มโยงองคค์ วามรู้ 6 กโิ ลเมตร เขตเทศบาลต�ำบลยางเน้งิ
เรอ่ื งพน้ื ทสี่ เี ขยี วกบั การวางแผน
การพฒั นาเมอื ง จังหวดั เชียงใหม่

ผลกระทบ การด�ำเนนิ งาน

 ต้นไมใ้ หญเ่ กิดความเสอ่ื มโทรม โดยเครอื มขลู า่ นยธิเชิพียฒั งนใหามภ่าเขคเียหวนสือวย หอม
 ประชาชนทอ่ี าศัยบรเิ วณตน้ ไมใ้ หญ่ ส่งเสริมพ:.ศก.า2รอ5น5ุร6ักษ- ์ต2้น5ไ5มใ้8หญ่ตาม
ขาดความปลอดภัยในชวี ติ และ
ทรพั ยส์ ิน แนวคดิ นิเวศประวัตศิ าสตร์ และ
 การลดลงของพ้นื ทีส่ ีเขยี ว การจัดทำ� แนวทางการจดั การจากชมุ ชน

วัตถปุ ระสงค์ สง่ เสริมกระบวนการมสี ่วนรว่ มของประชาชน
และองค์กรภาคีฯ ในการฟืน้ ฟูอนรุ กั ษต์ ้นไม้ใหญ่
และพ้นื ทส่ี เี ขียวในพืน้ ที่ 5 ชมุ ชนนำ� ร่อง


เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและศกั ยภาพของหมอตน้ ไม้
ในการอนรุ กั ษ์ ฟนื้ ฟู ดแู ลตน้ ไมใ้ หญ่

รณรงค์สรา้ งจติ สำ� นกึ นิเวศประวตั ศิ าสตร์เชยี งใหม่
ให้กับประชาชนชาวเชียงใหม่

66 ค่มู ือการใหค้ ำ� แนะนำ� กล่มุ เปา้ หมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ

สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงิแทลนุ ะสสิง่่ิงแแววดดลล้อ้อมม

แผนงาน/กจิ กรรม สง่ เสรมิ กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและองคก์ ร
ภาคฯี ในการฟน้ื ฟอู นรุ กั ษต์ น้ ไมใ้ หญ่ และพน้ื ทส่ี เี ขยี ว


เพม่ิ ประสิทธิภาพและศักยภาพของหมอต้นไม้

รณรงค์สรา้ งจติ สำ� นกึ นเิ วศประวัตศิ าสตรเ์ ชยี งใหม่
ให้กบั ประชาชนชาวเชยี งใหม่ และผลักดัน
นโยบายสาธารณะดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม

ผลส�ำเรจ็ ทีเ่ กิดข้นึ
1) มีคณะท�ำงานระดับชุมชนเรื่องการอนุรักษ์ต้นไม้ใหญ่ในเขตเทศบาลต�ำบลยางเน้ิง
และในเขตเมืองเก่าของอำ� เภอเมอื งเชยี งใหม่
2) ใช้แนวคิด "นิเวศประวัติศาสตร์" (Eco - history) หรือประวัติศาสตร์เชิงนิเวศ
เปน็ เครื่องมือสำ� หรับสรา้ งความภมู ใิ จและส�ำนกึ รกั ษ์สิง่ แวดล้อมแกช่ ุมชน
3) มีชุดข้อมูลด้านปริมาณ ต�ำแหน่ง คุณภาพ และสภาพของต้นไม้ใหญ่มีหมอต้นไม้
และอาสาสมัครรุ่นใหม่เกดิ ขนึ้
4) มีข้อเสนอการจัดการสิ่งแวดล้อมและพัฒนาเมืองเชียงใหม่จากคณะท�ำงาน
ในพืน้ ท่นี �ำรอ่ ง 1 ฉบบั
5) เกิดพ้ืนท่ีสีเขียวตัวอย่างจ�ำนวน ๔๐ แห่ง ในเขตเมืองเก่า อ�ำเภอเมือง จังหวัด
เชียงใหม่

คมู่ ือการใหค้ ำ� แนะน�ำกลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ 67

สก�ำอนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยนุ แสลง่ิ ะแแวผดนลท้อรมพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

ใโคนรกงากราครดั สแ่งยเสกรขิมยกะาทร่ีตมน้ ีสทว่ านงร่วมของชมุ ชน

สถานการณป์ ัญหา พืน้ ท่ีดำ� เนนิ การ
ปัญหาขยะชมุ ชนท่ีเพิ่มข้นึ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่
จากการใชท้ รพั ยากร ทว่ั ประเทศ 76 จงั หวัด
และการขาดการจัดการ จ�ำนวนรวมกวา่ 500 แห่ง
ที่ถกู วธิ ี

ผลกระทบ การด�ำเนินงาน
ปัญหาขยะสะสมในชมุ ชน
และยากต่อการบรหิ ารจดั การ สโเดง่ ทสเยสศ่วอรบคนงิมวาตคาล�ำ์ก:มตบรกใรำ�ปนลาู้คบรกกวพมลาคารสี.มรศจว่อแเ.ขัดนงล2า้กรสะใ5าว่ว่จอรม5นขงขแคอท8ยลงก์้อะะช-างเุมร2ถสบชนิ่ร5นรมิ ร6ิหสะ0าดรร้าับง

วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื สง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของชมุ ชนในการคดั แยกขยะ
ท่ีต้นทาง


เพอ่ื สนบั สนุนสำ� นกั งานทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อมจงั หวัด และส�ำนกั งานสิง่ แวดลอ้ มภาคต่าง ๆ
รว่ มผลกั ดนั นโยบายให้มผี ลไปสกู่ ารปฏิบตั ิ
ในระดับชมุ ชนและครัวเรอื น

68 คูม่ ือการใหค้ ำ� แนะน�ำกลุม่ เปา้ หมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ

ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงิแทลุนะสสิ่ง่งิ แแววดดลล้ออ้ มม

แผนงาน/กิจกรรม กปารระอเภบทรมขยใหะค้มวลู าฝมอรยู้ ศกึ ษาดงู าน การคดั แยก
แกลาระคขดัยแะยทกวั่ ขไปยะอนิ ทรีย์ ขยะรไี ซเคิล ขยะอันตราย
หการรอื จกดั �ำกจาดั รขหยระอื แนต�ำไ่ลปะใปชรป้ ะรเะภโทยช(เนก)์ บ็ รวบรวม บ�ำบดั
ติดตาม ประเมนิ ผล และการถอดบทเรยี น





ผลส�ำเร็จท่ีเกดิ ข้นึ
1) อปท. จ�ำนวน 531 แห่ง มบี ทบาทในการสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การคดั แยกขยะ
ในครวั เรือนไดเ้ ปน็ อย่างดี
2) คัดแยกขยะท้ัง 4 ประเภท (ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และ
ขยะทัว่ ไป) รวม 574,875 ตนั /ปี ได้อย่างถูกตอ้ ง
3) ลดปริมาณขยะที่ต้องน�ำไปก�ำจัดได้มากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยลดปริมาณขยะ
ทต่ี อ้ งนำ� ไปกำ� จดั ไดเ้ ฉลย่ี รอ้ ยละ 50 - 60 ของปรมิ าณขยะ 1,149,750 ตนั /ปี
ทเี่ กิดขน้ึ กอ่ นเริม่ ดำ� เนินโครงการ
4) เกิดชุมชนน�ำร่อง 531 แห่ง ท่ีสอดคล้องกับนโยบาย "จังหวัดสะอาด" และ
แผนปฏิบตั กิ าร "ประเทศไทยไรข้ ยะ 3Rs ประชารฐั "

คมู่ อื การให้คำ� แนะนำ� กลุม่ เปา้ หมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ 69

กส�ำอนงบักรงาิหนารนกโยอบงาทยุนแสล่ิงะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

โใคนร๘งกจางัรหกาวรดั จภดั ากคาเหรเนศอืษตวอสั นดบเุ หนลออื ยทา่ งงิ้ ทมสาี งว่ กนารรว่ เมกษตร

สถานการณ์ปญั หา พนื้ ทด่ี ำ� เนินการ

การก�ำจดั เศษวสั ดุเหลือทงิ้ พ้นื ทภ่ี าคเหนือตอนบน 8 จังหวัด
ทางการเกษตร ไดแ้ ก่ เชยี งใหม่ เชยี งราย ลำ� พนู

ทม่ี ปี ริมาณมาก ด้วยการเผา ล�ำปาง แพร่ นา่ น พะเยา
สรา้ งปัญหาหมอกควันในพื้นท่ี และแม่ฮอ่ งสอน

ผลกระทบ การด�ำเนินงาน

ปญั หาหมอกควันสง่ ผล โดยคณะวศิ วกรรมและอุตสาหกรรม
ตอ่ สขุ ภาพอนามยั ของประชาชน การเพก.ษศต. ร25ม5หา4ว-ิท2ยา5ล5ัย5แม่โจ้
และกระทบตอ่ ธุรกจิ การทอ่ งเท่ียว
สง่ เสรมิ : การพัฒนาเทคโนโลยกี ารผลิต
ของภมู ิภาค ปุย๋ อินทรยี ์แบบไม่พลกิ กลบั กอง

วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื นำ� เทคโนโลยกี ารผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี แ์ บบไมพ่ ลกิ กลบั กองโดยใชว้ สั ดุ
เหลอื ทง้ิ ทางการเกษตร ถา่ ยทอดสกู่ ลมุ่ เกษตรกรเปา้ หมาย
เพอ่ื สรา้ งเครอื ขา่ ยฐานการเรยี นรกู้ ารจดั การเศษวสั ดุ
เหลอื ทงิ้ ทางการเกษตรแบบการมสี ว่ นรว่ ม
เพอ่ื ทราบขอ้ มลู และปจั จยั ทน่ี ำ� ไปสคู่ วามสำ� เรจ็ ของ
แตล่ ะฐานเรยี นรเู้ พอ่ื ถอดบทเรยี นเปน็ ชดุ ความรู้
เพอื่ ใหม้ แี หลง่ เรยี นรใู้ นการลดปญั หาหมอกควนั พษิ
ใน ๘ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบน




70 คมู่ ือการให้ค�ำแนะน�ำกลุม่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ

สำ� นักงานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงแิทลนุ ะสสง่ิิ่งแแววดดลลอ้อ้ มม

แผนงาน/กจิ กรรม การประชาสมั พนั ธว์ ธิ กี ารผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี แ์ บบ
ไมพ่ ลกิ กลบั กอง
วกิธาีกรอารบทรำ�มปเกุ๋ยษอตนิ รทกรรียใ์แหบ้เปบ็นไมวพ่ิทยลากิ กกรลถับ่ากยอทงอด
กลมุ่ เกษตรกรด�ำเนินงานฐานการเรียนรู้
การผลติ ปุ๋ยอินทรีย์ รว่ มกบั อปท. โรงเรยี น และวัด
ประชาสมั พนั ธ์ฐานการเรียนรู้





ผลส�ำเร็จที่เกดิ ข้นึ
1) เกดิ เครือขา่ ยฐานการเรียนรู้ด้านการจดั การเศษวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตร
ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน รวม 32 แห่ง
2) การใช้เทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง สามารถผลิตปุ๋ย
อนิ ทรียไ์ มต่ �ำ่ กวา่ 5 ตนั /เดือน/ฐานการเรยี นรู้
3) ฐานการเรียนรู้ในแต่ละแห่งมีเกษตรกรในพื้นท่ีเข้าชมและศึกษาข้อมูลจาก
ฐานการเรียนรู้และน�ำไปประยุกต์ใช้โดยเฉลี่ยประมาณ 40 คน/เดือน/ฐาน
การเรียนรู้
4) มีวทิ ยาการถ่ายทอดวธิ ีการทำ� ป๋ยุ อินทรยี ์แบบไม่พลิกกลับกอง

คู่มือการให้ค�ำแนะนำ� กล่มุ เปา้ หมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ 71

สก�ำอนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยนุ แสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

โโดครยงชกมุ าชรนฟทน้ื อ้ฟงรู ถะน่ิ บบจนงั หเิ ววศดั เนกคษรตพรเนพมอื่ สง่ิ แวดลอ้ ม

สถานการณ์ปัญหา พ้นื ทด่ี ำ� เนนิ การ

การบกุ รุกตัดไม้ท�ำลายปา่ อย่างตอ่ เนือ่ ง 10 หมบู่ า้ น ใน 7 ตำ� บล ใน อำ� เภอธาตพุ นม
ส่งผลให้พื้นทป่ี ่าไมร้ วมทั้งพื้นท่ีป่าหัวไร่ อำ� เภอเมอื งนครพนม
ปลายนาในจังหวัดนครพนมมพี น้ื ทีล่ ดลง
อำ� เภอท่าอุเทน อำ� เภอศรีสงคราม
และปญั หาจากการใช้สารเคมี อ�ำเภอนาทม ใน จ.นครพนม
ในการเกษตร
และ อำ� เภอดงหลวง จ.มกุ ดาหาร

ผลกระทบ การดำ� เนนิ งาน

 ทรพั ยากรดินเส่อื มโทรม โดยมพูล.ศน.ธิ 2ชิ มุ5ช5น2ท-อ้ 2งถ5่นิ 5พ5ฒั นา
เกิดการชะลา้ งพังทลายของหนา้ ดิน สง่ เสริม : การมีส่วนร่วมของชุมชน
 สารเคมีตกคา้ งในดนิ และน้ำ� การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ
 ผลกระทบต่อสขุ ภาพอนามัยของ
เกษตรกรจากสารเคมที ่ตี กค้าง และการทำ� เกษตรอนิ ทรยี ์
 ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง

วัตถปุ ระสงค์

เพอ่ื ฟน้ื ฟสู ภาพดนิ - นำ้� - ปา่ และความหลากหลายทางชวี ภาพ
ในระบบนเิ วศเกษตร
เพอื่ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นรู้ การฟน้ื ฟรู ะบบนเิ วศเกษตร
โดยกระบวนการสรา้ งจติ สำ� นกึ

เพอื่ สนบั สนนุ การใชภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และเทคโนโลยที เี่ หมาะสม
ในการฟน้ื ฟรู ะบบนเิ วศเกษตร

เพอื่ เปน็ ตน้ แบบใหก้ บั ชมุ ชนอนื่ ไดเ้ รยี นรแู้ ละขยายผล

72 คมู่ อื การใหค้ ำ� แนะน�ำกลุ่มเป้าหมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงแิทลนุ ะสส่ิง่งิ แแววดดลลอ้อ้ มม

แผนงาน/กิจกรรม
กกาารรถทอำ� กดาบรทเกเรษยี ตนรทองส่ี คมค์ ดวลุ ามรจู้ ากประสบการณ์
ลฟเพด้ืนอ่ื กฟลาูกดราใปชรญั ท้ปห�ำรเะากโทษยรชตพั นรยธจ์ ารากรกรมปชด่าานิชตมุ ินชแ้ำ� นละเสป่อื ่ามหโวั ทไรรมป่ ลแาลยะนา
การผสมผสานเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับวิถีชวี ิต
กแลาระแกลากรรเปณลรี่ยงนคปป์ รระะสชบาสกัมารพณันท์ธ์ไ่ี ด้จากการดำ� เนินงาน
ผลสำ� เรจ็ ทีเ่ กดิ ขนึ้
1) พ้ืนท่ีป่าหัวไร่ปลายนามากกว่า ๑๐๐ แปลง มีความหลากหลายทางชีวภาพ
เพ่มิ ขนึ้ และลดการใช้ไมจ้ ากป่าสาธารณประโยชน์ ๑๐ แห่ง
2) ดินในพ้ืนท่ีเป้าหมายมากกว่า ๘๐ แปลง มีธาตุอาหารพืชตามธรรมชาติเพิ่มขึ้น
จากการลดการใชป้ ยุ๋ เคมี
3) ชุมชนสามารถผลิตปุ๋ยคอกและปุย๋ หมัก เพอ่ื ใช้ในแปลงเกษตรธรรมชาติ
มากกวา่ ๘๐ แปลง
4) กลุ่มเปา้ หมายมากกวา่ ๑๐๐ คน สามารถใชข้ ้อมลู เพอื่ วางแนวทาง และ
แผนการทำ� งานไดอ้ ย่างเหมาะสม
5) เกดิ ชดุ องคค์ วามร้ใู นทอ้ งถน่ิ จากการถอดบทเรยี นของชุมชน
6) เกิดเครือข่ายในการเพิ่มป่าหัวไร่ปลายนา และการท�ำการเกษตรท่ีไม่ท�ำลาย
ส่ิงแวดลอ้ ม ๑๐ หมู่บ้าน ใน ๗ ต�ำบล

คมู่ ือการให้คำ� แนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ 73

สกำ�อนงบกั รงาหิ นารนกโยอบงาทยนุ แสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

ททโคเีา่ ปรงงน็ชกมีวาตภิ รราฟกพืน้ บั ขฟสอูรง่ิ งะแพบวนั ดบธลนข์ุ อ้ ิเา้วมวศพ:เกพน้ื ษบืน้ ตา้ทรนี่นแใำ�นลรระ่อะคงบวบจามังเกหหษวลตัดารสกอพุหนิ ลรทรารณยยี บ์ รุ ี

สถานการณป์ ัญหา พ้นื ทด่ี �ำเนนิ การ

การปรับเปลี่ยนพนั ธุข์ า้ ว อำ� เภอเดิมบางนางบวช
จากข้าวพื้นบ้านมาเปน็ อำ� เภอศรปี ระจนั ต์ อำ� เภอเมอื ง
ข้าวลกู ผสมทใ่ี หผ้ ลผลิตดี สพุ รรณบุรี และอำ� เภออู่ทอง
และการใช้สารเคมใี นการปลกู ข้าว
จงั หวัดสุพรรณบุรี

ผลกระทบ การด�ำเนินงาน

 ผเเชกสกกีวลาาษดิ รรภกกเสตารคาญูรพะมรกทเสี รสบญูมยี ตีตคหอ่ น้วาสายทขุมขุนภหอกาลงาพพารจกันผาหลธกลุข์ิตกา้าเาพยวรพ่ทิมใชขน้ืาง้นึ้บ้าน โดยมลู นิธิขา้ วขวญั
พ.ศ. 2558 - 2560
ใสนง่ กเสารรอมิ น:ุรกกั าษร์พมนัสี ธว่ ุ์ขนา้รวว่ พมื้นขอบง้าชนมุ แชลนะ
การทำ� เกษตรอินทรยี ์

วตั ถปุ ระสงค์

เพื่อพฒั นาองค์ความรกู้ ารฟน้ื ฟูระบบนิเวศเกษตร
และความหลากหลายทางชวี ภาพของพนั ธขุ์ ้าวพ้นื บา้ น

เพื่อสง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มของประชาชนและภาครฐั
ในการปกป้องพันธกุ รรมข้าว และพัฒนาระบบเกษตร
ที่เป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม

เพอื่ ใหช้ มุ ชนเขม้ แขง็ ในการกำ� หนดยทุ ธศาสตรแ์ ละ
แผนแมบ่ ทของชมุ ชนในการปกปอ้ งพนั ธกุ รรมขา้ ว

74 คมู่ ือการใหค้ ำ� แนะน�ำกลุ่มเปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

สำ� นักงานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลุนะสสงิ่งิ่ แแววดดลลอ้้อมม

แผนงาน/กจิ กรรม คทพกาวปฒ่ีั รารนเมบัปาหปลอลยร่ีงางุนคกใค์แหหวปเ้ลหาลามมงยรขาทใู้ะอนาสงกงสมชาภกวรี บาัฟภวพน้าื ะพฟน้ือขทรูาอะกขี่ บงาอพศบงนัเแนกธลเิษวข์ุะศตา้เปวเรกพนก็ ษรนม้ื ตภตบิ รารา้ แยกนลใบั ตะส้ งิ่ แวดลอ้ ม
กภสระ่งบัาเบคสสบริ่งรฐัแเมิ กวใใษดหนตลเ้กกรอ้ าดิทมรกปไ่ี มากรก่ ปมอ่ ้อสีใงห่วพนเ้ กนั ริดธว่ ปกุมัญรขรอหมงาขภมา้าลวคภีปแารลวะะะชพแาลัฒชะนนเปาแล็นะมิตร
พกำ�ันหธนกุ ดรรยมทุ ขธา้ศวาสตรแ์ ละแผนแม่บทของชุมชนในการปกปอ้ ง




ผลสำ� เร็จที่เกดิ ข้นึ

1) เกิดพื้นทที่ ำ� เกษตรอินทรยี ์ 1,000 ไร่ และสามารถลดการใชส้ ารเคมี
ทางการเกษตรได้ 2.1 ลา้ นบาท/1,000 ไร่ (ในระยะเวลาด�ำเนนิ โครงการ 1 ปี
6 เดือน) โดยการท�ำนาขา้ วอินทรียพ์ ันธข์ุ าวตาเคลอื บนม่ิ มีผลผลิตเฉลี่ย
650 กิโลกรัม/ไร่ มีค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย 2,120 บาท/ไร่ และแปรรูปขายเป็น
ขา้ วสารจะมีราคาสูงถึง 15,000 – 20,000 บาท/ตัน
2) เกดิ เทคนิคการทำ� เกษตรอินทรยี ์ 6 รูปแบบ ได้แก่ การใชพ้ ันธุข์ ้าวพนื้ บ้าน การปรบั ปรุง
บ�ำรุงดิน การจัดการศัตรูพืชด้วยชีววิธี การพัฒนาพันธุ์ข้าวพ้ืนบ้าน การลด ละ เลิก
การใช้สารเคมี และการไม่เผาฟาง
3) เกิดเครือข่ายจากภาครัฐและภาคประชาชนในการร่วมกันพัฒนาให้มีพันธุ์ข้าวพ้ืนบ้าน
ทดี่ แี ละมคี วามหลากหลาย
4) ไดย้ ุทธศาสตรก์ ารพฒั นาพนั ธกุ รรมขา้ วพนื้ บ้านและแนวทางการท�ำเกษตรอนิ ทรยี ์

ค่มู อื การให้ค�ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ 75

กสำ�อนงบกั รงาหิ นารนกโยอบงาทยนุ แสลิ่งะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

ใโคนรกงากราจรดั กกาารรถขา่ ยยะทออนิ ดทเรทยี คส์ โำ�นหโลรบัยชที มุเี่ หชมนาขะนสามดยอ่ ม

สถานการณ์ปญั หา พน้ื ที่ด�ำเนินการ

ปญั หาขยะในเมอื งเชยี งใหมไ่ มไ่ ดร้ บั อ�ำเภโรโอรงไงพชเรยยยีาปมเนบศรจหมาารังาลกงหษวฟสาวฐทิ รันอัดกยรทเิจตาชต์ รพลลียวาาอยังทิยดใเแยพหสศมายีมดูนโ่ลจงเ่ ยจยั ้ ์เดรแยียี ล์แนะมรคู่้ รัว
การจดั การอยา่ งถกู วธิ กี อ่ ใหเ้ กดิ วกิ ฤตขยะลน้
เมอื งเชยี งใหมท่ เ่ี กดิ ขนึ้ เมอื่ ปี พ.ศ.2538
และ 2540 โดยองคป์ ระกอบหลกั ของขยะ

ทพี่ บ คอื ขยะอนิ ทรยี ์

ผลกระทบ การด�ำเนนิ งาน

คณุ ภาพสิง่ แวดล้อม มโหดาสยใวนง่ศทิ เกนูยสายารรล์สิมจยัาัด:แรกกสมาาโ่นรจรขเ้มทพยีสศะ.ศ่วไอนส.ิน2้เรดทว่5อืรม5ียนข1์แดอลงิน-ะชแ2เมุ ศม5ชษ่โ5นจ2้
เกดิ ความเสอื่ มโทรม วพกสัาัฒรดจนุทัดาากง:กาเราทขรคเยกโะนษอโตนิลรยทแีรลยี ์แะรลปูะแเศบษบวัสดุ
และนำ� ไปส่ปู ัญหาสขุ ภาพ 

ของประชาชน ทางการเกษตรดว้ ยไสเ้ ดอื นดิน
และเศรษฐกิจของเมืองเชยี งใหม่

วตั ถปุ ระสงค์

สร้างโรงเรือนต้นแบบก�ำจัดขยะอนิ ทรยี แ์ ละวสั ดเุ หลือใช้
ทางการเกษตรด้วยไส้เดือนดนิ รวม 10 ตนั /วนั
ในพน้ื ท่เี ป้าหมาย 5 แห่ง

76 คมู่ อื การให้ค�ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงิแทลนุ ะสสงิ่ิง่ แแววดดลลอ้อ้ มม

แผนงาน/กจิ กรรม ทสรา้างงกโารรงเเกรือษนตตรด้นว้แยบไบสกเ้ ดำ� ือจนัดดขนิยะอินทรยี ์และวสั ดเุ หลอื ใช้
ดทถ่าา้ายนงกทกาอารรดเกกเท�ำษจคตดัโรนขดโย้วละยยอไแี นิสลทเ้ ะดรขือียยนแ์ าดลยนิะแวหัสลด่งเุ ศหกึ ลษอื าใชดู้งาน
จผาลกติ ขปยุ๋ยะหอมินกั ทมรูลยี ไ์แสลเ้ ดะอืวนัสดดเุินหแลลอื ะในช้�ำท้ หามงกกั ามรูลเกไสษเ้ ตดรอื นดิน




ติดตามนเิ ทศโครงการ

ผลสำ� เรจ็ ท่ีเกิดขนึ้
1) มีโรงเรือนต้นแบบการก�ำจัดขยะอินทรีย์และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรฯ
ขนาด 6 x 24 เมตร ในพื้นที่เป้าหมาย 5 แห่ง แห่งละ 1 โรง สามารถ
ลดการเผาวัสดุทางการเกษตรโดยนำ� มาผลติ ป๋ยุ อนิ ทรยี ์ได้ ประมาณ
4,480 ตนั
2) มีการถา่ ยทอดเทคโนโลยีและขยายแหลง่ ศึกษาดงู านฯ ในพนื้ ท่ี
และชุมชนใกล้เคยี ง
3) ไดป้ ยุ๋ หมกั มลู ไส้เดอื นดนิ และน�ำ้ หมักมลู ไส้เดือนดินจากขยะอินทรยี แ์ ละ
วสั ดเุ หลอื ใชท้ างการเกษตร

คู่มอื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 77

กส�ำอนงบกั รงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลิง่ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

โครงการพฒั นาแบบจำ� ลองเชงิ พนื้ ทแี่ บบพลวตั เพอ่ื ตดิ ตาม
และประเมนิ สถานการณค์ ณุ ภาพนำ้� กรณศี กึ ษาแมน่ ำ�้ เพชรบรุ ี

สถานการณป์ ญั หา พน้ื ท่ดี ำ� เนินการ

คณุ ภาพนำ้� ในแมน่ ำ้� เพชรบรุ ี จแังมห่นว�ำ้ดั เเพพชชรรบบรุ ุรี ี
ไดเ้ สอ่ื มโทรมลงจาก

การปลอ่ ยของเสยี และสง่ิ ปฏกิ ลู จาก
ภาคครวั เรอื น เกษตรกรรม
และอตุ สาหกรรม

ผลกระทบ การด�ำเนินงาน

 ประชาชนทใี่ ช้น�ำ้ เพ่อื การอปุ โภคและ พแสเปหรลารรัฒง่ มโือะะดดนาสภร่วยรับาิทนาถสคมธท:แ�ำพสภิือีอ่กกนว่กา.าาป้ศกันพบัจร.ัญงทจจปาดะัเี่หัญ2นกเกาก5ยี่สหไาิดวง่ิด5ารขแขอ้ป5หอ้ว้ึนยัญรดงไา่-อืหสดงล2เาเอ้า้อหบม5เยมชตด็า5า่ งิภกุรเงร7สถาามกุรครปี จ็ณทรับ่ี์ 8ตวั
บรโิ ภคได้รบั ผลกระทบจาก
การเปลี่ยนแปลงคณุ ภาพน้ำ�
 เกดิ การเสอ่ื มโทรมของระบบนิเวศน์
แหลง่ นำ�้

วตั ถุประสงค์

เพื่อพัฒนาแบบจ�ำลองเชิงพื้นที่แบบพลวัต (Dynamic
Spatial Model) ในการศกึ ษา พฒั นา ติดตาม และประเมนิ
สถานการณ์คุณภาพน้�ำ โดยจะเน้นพิจารณาตามแนวทาง
Activity - based Approach (ใช้กิจกรรมเป็นฐาน)
เป็นหลัก

78 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กล่มุ เปา้ หมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ

สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลุนะสสิ่งิง่ แแววดดลลอ้้อมม

แผนงาน/กิจกรรม ทบทวนเอกสารขอ้ มลู คณุ ภาพนำ�้ และเทคโนโลยี
ทใ่ี ชใ้ นปจั จบุ นั พรอ้ มกำ� หนดวธิ กี ารในการพฒั นาขอ้ มลู


พฒั นาระบบแบบจำ� ลองเชิงพน้ื ที่เพ่อื ตดิ ตาม
และประเมินสถานการณ์คุณภาพน�้ำ

สรา้ งกรอบความคดิ เชิงนโยบายสำ� หรับผู้บรหิ าร
เพ่อื นำ� ไปส่กู ารจดั ท�ำแผนยทุ ธศาสตร์

ผลสำ� เร็จทเ่ี กดิ ขึ้น

1) ได้แบบจ�ำลองเชิงพื้นที่แบบพลวัต ท่ีสามารถแสดงแผนที่แม่น้�ำเพชรบุรี พร้อมข้อมูล
คุณภาพนำ�้ เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา หรือนำ� เสนอข้อมลู แบบ real - time
2) มีระบบส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย (General Packet Radio Service (GPRS)) ท่ีเช่ือมต่อ
กับฐานข้อมูลของหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการคุณภาพน�้ำในพ้ืนท่ี
ไดอ้ ย่างรวดเร็ว
3) มีข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินงานในการขับเคลื่อนให้บรรลุ
วัตถปุ ระสงค์ท่กี ำ� หนด
4) มเี ครอื ขา่ ยการเฝา้ ระวงั คณุ ภาพนำ้� แมน่ ำ้� เพชรบรุ ที มี่ กี จิ กรรม เพอื่ ตดิ ตามการเปลยี่ นแปลง
ของคณุ ภาพน�ำ้ อย่างตอ่ เน่อื ง 1 เครอื ขา่ ย
5) มีเว็บไซต์ระบบตดิ ตามและประเมินสถานการณค์ ุณภาพนำ้� แมน่ �ำ้ เพชรบุรี
(http://reo๐8pcef.mnre.go.th) เพื่อเผยแพร่ข้อมลู สู่สาธารณะและภาคสว่ น
ทเี่ กย่ี วขอ้ ง

คมู่ ือการให้คำ� แนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ 79

กสำ�อนงบกั รงาิหนารนกโยอบงาทยนุ แสลิ่งะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

หนังสอื อา้ งอิง

๑. ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ๒๕๖๑.
คู่มือการจัดท�ำข้อเสนอโครงการที่จะขอรับการสนับสนุนจากกองทุนส่ิงแวดล้อม ตาม
มาตรา ๒๓ (๔) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
พ.ศ. 2535. พมิ พท์ ี่ บรษิ ทั สอื่ ตะวนั จ�ำกัด, กรุงเทพมหานคร.
๒. ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ๒๕๖๑.
กองทุนสิ่งแวดล้อม แหล่งเงินอุดหนุนด้านการส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม.
ม.ป.ท.

80 คูม่ ือการใหค้ �ำแนะน�ำกลุ่มเป้าหมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลนุ ะสสง่ิ่งิ แแววดดลลอ้อ้ มม

ค่มู อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 81

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

82 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลนุ ะสสง่ิ่งิ แแววดดลลอ้อ้ มม

ค่มู อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 83

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

84 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลนุ ะสสง่ิ่งิ แแววดดลลอ้อ้ มม

ค่มู อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 85

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

86 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลนุ ะสสง่ิ่งิ แแววดดลลอ้อ้ มม

ค่มู อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 87

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

88 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลนุ ะสสง่ิ่งิ แแววดดลลอ้อ้ มม

ค่มู อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 89

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

90 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลนุ ะสสง่ิ่งิ แแววดดลลอ้อ้ มม

ค่มู อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 91

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

92 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลนุ ะสสง่ิ่งิ แแววดดลลอ้อ้ มม

ค่มู อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 93

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

94 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลนุ ะสสง่ิ่งิ แแววดดลลอ้อ้ มม

ค่มู อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 95

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

96 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลนุ ะสสง่ิ่งิ แแววดดลลอ้อ้ มม

ค่มู อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 97

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

98 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ


Click to View FlipBook Version