The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pornpan.dmsu, 2022-07-12 03:52:12

บทที่ 3

บทที่ 3

ประเภทของสารอันตราย
ประเภทที่ 1 วตั ถรุ ะเบดิ
ประเภทที่ 2 กา๊ ซ
ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ
ประเภทที่ 4 ของแขง็ ไวไฟ
ประเภทที่ 5 วตั ถุออกซไิ ดสแ์ ละออรแ์ กนิกเปอรอ์ อกไซด์
ประเภทท่ี 6 วัตถุมีพิษและวตั ถตุ ดิ เชอื้
ประเภทท่ี 7 วัตถกุ มั มนั ตรงั สี
ประเภทท่ี 8 วตั ถกุ ดั กรอ่ น
ประเภทท่ี 9 วตั ถอุ ่นื ๆทเี่ ป็นอนั ตราย

ประเภทท่ี 1 วัตถุระเบิด (explosive)
วัตถรุ ะเบิดได้

ของแขง็ หรอื ของเหลว หรอื สารผสมทส่ี ามารถ
เกิดปฏิกริ ยิ าทางเคมดี ว้ ยตัวมนั เอง ทาให้เกดิ กา๊ ซทม่ี คี วามดนั
และความร้อนอยา่ งรวดเรว็ กอ่ ให้เกดิ การระเบิดสรา้ งความ
เสียหายแกบ่ รเิ วณโดยรอบได้

วตั ถุระเบดิ : สามารถระเบิดไดเ้ มื่อถกู กระแทกเสียด
สี หรอื ความร้อน

ตัวอย่างเช่น ทีเอ็นที ดนิ ปืน พลุไฟ ดอกไมไ้ ฟ



ประเภทท่ี 2 กา๊ ซ (Gases)
กา๊ ซ หมายถึง สารท่อี ุณหภมู ิ 50 องศาเซลเซยี ส มี
ความดันไอมากกว่า 300 กโิ ลปาสกาล หรือมสี ภาพเปน็ กา๊ ซ
อย่างสมบูรณท์ ่ีอณุ หภูมิ 20 องศาเซลเซยี ส และมีความดัน
101.3 กิโลปาสกาล
เมือ่ เกดิ การรวั่ ไหลสามารถกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายจากการลกุ
ตดิ ไฟ และ/หรอื เปน็ พษิ และแทนทีอ่ อกซเิ จนในอากาศ

กา๊ ซ

ก๊าซไวไฟ : ติดไฟงา่ ยเม่ือถกู ประกายไฟ เช่น ก๊าซหงุ ตม้
ก๊าซไฮโดรเจน ก๊าซมีเทน กา๊ ซอะเซทลี นี



ก๊าซไม่ไวไฟและไม่เปน็ พษิ (Non-flammable Non-toxic
Gases)

อาจเกดิ ระเบดิ ได้เม่อื ถกู กระแทกอย่างแรง หรือไดร้ บั ความ
รอ้ นสงู จากภายนอก เชน่ ก๊าซออกซเิ จน ก๊าซไนโตรเจนเหลว
ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์

กา๊ ซออกซิเจน กา๊ ซไนโตรเจนเหลว
กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์

ก๊าซพษิ (Poison Gases)
อาจตายไปเมอ่ื สดู ดม ก๊าซคลอรีน กา๊ ซแอมโมเนยี ก๊าซ

ไฮโดรเจนคลอไรด์

เกรด็ ความรเู้ ก่ียวกบั แอมโมเนีย

แอมโมเนยี (NH3) เปน็ ก๊าซไมม่ ีสที ีอ่ ณุ หภมู แิ ละความดันปกติ
กลิ่นฉนุ คลา้ ยปสั สาวะรนุ แรงมาก น้าหนักโมเลกลุ 17.03 จดุ เยอื กแขง็
-77.70 ๐C จุดเดือด -33.4 ๐C เม่อื อดั ด้วยความดนั สูงจะกลายเปน็
ของเหลว หากปลอ่ ยใหร้ ะเหยจะดูดความรอ้ น จงึ ใชก้ า๊ ซแอมโมเนียใน

อปุ กรณท์ าความเย็นได้ แอมโมเนยี ละลายนา้ ไดด้ ี ไดส้ ารละลาย
แอมโมเนียไฮดรอกไซด์ ความเขม้ ขน้ สูงสดุ ในนา้ ประมาณรอ้ ยละ
25-29 และความเขม้ ขน้ รอ้ ยละ 10 ใชส้ าหรบั เป็นยาประจาบา้ น

ก๊าซชนดิ นี้ตดิ ไฟไดเ้ องทอ่ี ณุ หภมู ิ 651 ๐C

ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ (Flammable Liquids)

ของเหลวไวไฟ หมายถงึ ของเหลว หรือของเหลวผสมท่มี จี ดุ วาบไฟ
(Flash Point) ไมเ่ กิน 60.5 องศาเซลเซยี สจากการทดสอบดว้ ยวธิ ถี ว้ ยปดิ
(Closed-cup Test) หรอื ไมเ่ กนิ 65.6 องศาเซลเซยี สจากการทดสอบดว้ ยวธิ ีถว้ ย
เปดิ (Opened-cup Test) ไอของเหลวไวไฟพรอ้ มลกุ ตดิ ไฟเมอื่ มีแหลง่ ประกายไฟ

ของเหลวไวไฟ : ตดิ ไฟงา่ ย เม่ือถกู ประกายไฟ
เช่น นา้ มนั เชือ้ เพลงิ ทนิ เนอร์ อะซโิ ตน ไซลนิ



ประเภทท่ี 4 ของแขง็ ไวไฟ สารทลี่ กุ ไหมไ้ ด้เอง และสารท่ี
สมั ผัสกบั นา้ แลว้ ใหก้ า๊ ซไวไฟ

ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids)
ของแขง็ ท่สี ามารถตดิ ไฟได้ง่ายจากการไดร้ บั ความ

ร้อนจากประกายไฟ/เปลวไฟ หรือเกดิ การลกุ ไหมไ้ ด้จาก
การเสียดสี

ของแข็งไวไฟ : ลกุ ติดไฟงา่ ย เมื่อถกู เสียดสี หรือความรอ้ นสงู
ภายใน 45 นาที
ตวั อยา่ งเชน่ ผงกามะถนั ฟอสฟอรสั แดง ไม้ขีดไฟ



สารท่ีสัมผัสกบั นา้ แลว้ ทาใหเ้ กดิ กา๊ ซไวไฟ
สารทท่ี าปฏิกริ ยิ ากบั นา้ แลว้ มแี นวโนม้ ทจ่ี ะเกดิ การตดิ

ไฟได้เอง หรอื ทาใหเ้ กดิ กา๊ ซไวไฟในปรมิ าณทเ่ี ปน็ อันตราย
สารทส่ี ัมผัสกบั นา้ แลว้ ทาให้เกดิ กา๊ ซไวไฟ
เชน่ แคลเซยี มคารไ์ บด์ โซเดยี ม

สารทม่ี ีความเสยี่ งต่อการลกุ ไหมไ้ ด้เอง
สารทมี่ แี นวโนม้ จะเกดิ ความรอ้ นขน้ึ ไดเ้ องในสภาวะการขนส่ง

ตามปกตหิ รอื เกดิ ความร้อนสงู ขน้ึ ได้เม่อื สมั ผสั กบั อากาศ และมีแนวโนม้
จะลุกไหม้ได้

วัตถุทีเ่ กดิ การลกุ ไหมไ้ ดเ้ อง : ลุกตดิ ไฟได้
เมื่อสมั ผสั กบั อากาศ ภายใน 5 นาที
เชน่ ฟอสฟอรสั ขาว ฟอสฟอรสั เหลอื ง

โซเดยี มซลั ไฟต์

ฟอสฟอรสั ใช้ทาอะไร
การผลิตวตั ถรุ ะเบิด อตุ สาหกรรมสารเคมี การผลิตสารเบ่อื
หนู การผลติ ปยุ๋ เคมฟี อสฟอรสั แดงใชท้ าหัวไม้ขดี ไฟ

ประเภทท่ี 5 สารออกซไิ ดซ์
และสารอนิ ทรยี เ์ ปอรอ์ อกไซด์
สารออกซิไดส์ (Oxidizing Substances)
ของแขง็ ของเหลวทต่ี ัวของสารเองไม่ตดิ ไฟ แตใ่ ห้
ออกซิเจนซง่ึ ชว่ ยใหว้ ตั ถอุ ่นื เกดิ การลกุ ไหม้ และอาจจะ
กอ่ ให้เกดิ ไฟเมอื่ สัมผัสกบั สารที่ลุกไหมแ้ ละเกดิ การระเบดิ
อยา่ งรุนแรง

วัตถอุ อกซไิ ดซ์ : ไมต่ ิดไฟ แตท่ าใหส้ ารอนื่ ลกุ ไหม้ได้ดขี น้ึ
ตัวอยา่ งเชน่ แคลเซียมไฮโปคลอไรท์ โซเดียมเปอร์ออกไซด์ โซเดยี มคลอเรต

แอมโมเนียมไนเตรท โปแตสเซยี มคลอเรต ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์

สารอนิ ทรยี ์เปอรอ์ อกไซด์ (Organic Peroxides)
ของแขง็ หรอื ของเหลวท่ีมโี ครงสร้างออกซเิ จนสองอะตอม -O-O- และ

ช่วยในการเผาสารท่ลี กุ ไหม้ หรอื ทาปฏกิ ิรยิ ากบั สารอนื่ แลว้ กอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายได้
หรือเมื่อได้รบั ความร้อนหรือลกุ ไหมแ้ ลว้ ภาชนะบรรจสุ ารนีอ้ าจระเบดิ ได้

ออร์แกนคิ เปอรอ์ อกไซด์ : อาจเกดิ ระเบดิ ได้เม่อื ถูกความร้อนไวตอ่ การกระทบ
และเสยี ดสที าปฏิกิรยิ ารนุ แรงกบั สารอื่นๆ
เช่น อะซิโตนเปอรอ์ อกไซด์ , Methyl Ethyl Ketone Peroxide

ประเภทที่ 6 วตั ถุมพี ษิ และวตั ถตุ ิดเชอื้

วัตถมุ พี ษิ (Toxic Substances)
ของแขง็ หรอื ของเหลวทส่ี ามารถทาใหเ้ สยี ชวี ติ หรอื บาดเจบ็

รุนแรงตอ่ สุขภาพของคน หากกลนื สดู ดมหรือหายใจรบั สารนเี้ ขา้
ไป หรอื เม่ือสารนไี้ ดร้ บั ความรอ้ นหรือลกุ ไหม้จะปลอ่ ยกา๊ ซพษิ

วัตถุมพี ิษ : อาจทาใหเ้ สยี ชวี ติ หรอื บาดเจบ็ รนุ แรงจากการกนิ หรอื
การสดู ดมหรือจากการสมั ผัสทางผวิ หนงั
เชน่ อาร์ซีนคิ ไซยาไนด์ ปรอท สารฆา่ แมลง สารปราบศตั รพู ืช
โลหะหนักเปน็ พษิ

วตั ถตุ ดิ เชอ้ื (Infectious Substances)
สารที่มเี ชอ้ื โรคปนเปอ้ื น หรือสารที่มตี วั อยา่ งการตรวจสอบของ

พยาธิสภาพปนเปอื้ นทเ่ี ปน็ สาเหตขุ องการเกดิ โรคในสัตวแ์ ละคน
วัตถตุ ดิ เชอื้ : วตั ถทุ ี่มีเชือ้ โรคปนเปอ้ื น
และทาใหเ้ กดิ โรคได้ เช่น ของเสยี
อันตรายจากโรงพยาบาล เขม็ ฉีดยาทใี่ ช้
แลว้ เชอ้ื โรคตา่ งๆ

ประเภทท่ี 7 วัตถกุ ัมมนั ตรงั สี

วัสดุกัมมนั ตรังสี
(Radioactive Materials)

วัสดุทสี่ ามารถแผ่รงั สีทม่ี องไมเ่ หน็
อย่างตอ่ เนอื่ งมากกวา่ 0.002 ไมโครครู ี
ตอ่ กรมั ตวั อยา่ งเชน่ โมนาไซด์ ยเู รเนยี ม
โคบอลต์-60 เป็นต้น

ยเู รเนยี ม

โคบอล- 60

ประเภทท่ี 8 สารกดั กรอ่ น
ของแขง็ หรือของเหลวซง่ึ โดยปฏิกิรยิ าเคมมี ีฤทธ์ิกดั กรอ่ นทาความ
เสียหายตอ่ เนอ้ื เยอ่ื ของสง่ิ มชี วี ติ อยา่ งรุนแรง หรอื ทาลายสนิ คา้ /
ยานพาหนะท่ที าการขนสง่ เมอ่ื เกดิ การร่วั ไหลของสาร กรดเกลอื
กรดกามะถนั โซเดียมไฮดรอกไซด์

วตั ถุกอ่ ใหเ้ กดิ การระคายเคือง : อาจกอ่ ใหเ้ กดิ การระคายเคอื งต่อ
ระบบทางเดนิ หายใจ ทาลายเยอ่ื บผุ วิ หนงั และ เยอ่ื บุตา
เช่น กรดแก่ เบสแก่

ประเภทท่ี 9 วัสดอุ ันตรายเบด็ เตลด็
วสั ดุอนั ตรายเบด็ เตลด็ (Miscellaneous Dangerous
Substances and Articles)
สารหรอื สงิ่ ของทใ่ี นขณะขนสง่ เปน็ สารอนั ตราย
ซ่ึงไมจ่ ดั อยใู่ นประเภทท่ี 1 ถงึ ประเภทท่ี 8 ตัวอยา่ งเชน่
ป๋ยุ แอมโมเนยี มไนเตรต เปน็ ต้น


Click to View FlipBook Version