The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวการพัฒนาพื้นที่โคก หนอง นา ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by training-nakhonnayok Library, 2021-06-29 00:22:01

Tips โคก หนอง นา ศพช.นครนายก

หนังสือรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวการพัฒนาพื้นที่โคก หนอง นา ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

Knowledge
Management

Tips โคก หนอง นา
ศพช.นครนายก

1.ชอื่ ชุดความรู้ เทคนิคการพฒั นาองคก์ รสกู่ ารเปน็ ศูนย์การเรียนรกู้ ารน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่วิถีชีวิต

2. ส่วนราชการ ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายก

3. องคค์ วามรทู้ บี่ ง่ ช้ี หมวดที่ 4 เสริมสรา้ งองค์กรใหม้ ีขดี สมรรถนะสงู

4. ทมี่ าและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้
ความรู้ (Knowledge) เป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างความไดเ้ ปรยี บในการแข่งขันขององค์กร เป็นทรัพยส์ ินอนั

มีค่ายิ่งที่ก่อให้เกิดความมั่นคงและมั่งค่ังต่อการเจริญเติบโตขององค์กร รวมท้ังคนในองค์กรน้ัน ๆ ต้องพัฒนาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงการจัดการความร้เู ป็นเครื่องมือท่ีองค์กรและบุคลากรสามารถนาไปใช้ประโยชนเ์ พอื่ การยกระดับงาน
ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและทิศทางการทางานที่เปล่ียนแปลงในอนาคต เพียงหนึ่งองศาขยับเราต้อง
ปรับตามวิกฤตท่ีเผชิญในทุกบริบทของประเทศ เป็นหนึ่งในความท้าทายของการทางานยุคสงครามโควิค 19 กาลัง
ระบาด และหนึ่งในความสาเร็จของการตอบสนองนโยบายกรมฯ ภายใต้“เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงชุมชนพ่ึงตนเองได้
ภายในปี 2565” ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาความมั่นคง
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ตลอดถึงความมั่นคงทางอาหาร กอปรกัปนโยบายกรมการพัฒนาชุมชน
ให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ การน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่วิถีชีวิต โดยลงมอื
ปฏิบัติจริงเห็นผลเป็นรูปธรรม จะพัฒนาผู้นาเขาต้องพัฒนาที่ศูนย์ฯ เราก่อน พร้อมสู้สู่ลงมือปฏิบัติ โดยการเตรียม
ความพรอ้ มทงั้ 4 มิติ คอื คน ความรู้ เครือข่าย และขยายผล ด้วยการฝกึ อบรมตามงานทถี่ นัดให้กับบุคลากรในศูนย์ฯ

ขยายไปยังพ้ืนท่ีเขตบริการ ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม นาเอาม้ือสามัคคีเป็นแรงผลักดัน สอดคล้องกับ
หลักปรัชญางานพัฒนาชุมชน มนุษย์ทุกชีวิต มีคุณค่า มีความหมาย มีศักด์ิศรี มีศักยภาพ มีฐานะแห่งความเป็นมนุษย์
โดยมนุษย์ทุกคนสามารถพัฒนาได้ถ้าได้รับโอกาส” เราพร้อมกับเวลาท่ีเหมาะสม เราจะพัฒนาศูนย์ศึกษาและพัฒนา
ชมุ ชนนครนายกเป็น ศนู ย์การเรียนร้กู ารนอ้ มนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูว่ ิถีชวี ิตอยา่ งยงั่ ยืน

ขอพ้นื ทเ่ี พียง 1 สว่ น 4 ของเน้ือที่ 45 ไร่ ของศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก เปน็ แหล่งเรียนรู้ผนวก
กับเรามีต้นทุนเดิมที่มีทรัพย์ในดินอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุไ์ ม้ท่ีหลากหลายบวกกบั ธรรมชาติที่งดงาม เม่ือมองลึกลงไป
ในการพัฒนาศนู ยศ์ กึ ษาเป็นแหลง่ เรียนร้ทู ่ีจะพัฒนาไปส่กู ารปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ตามแนวพระราชดารสั
ของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาเป็นแนวทางในการพฒั นา โดยยึดสภาพตามเชิงภูมิสังคมจริงของหน่วยงาน พัฒนาให้เป็น
ศูนย์การเรียนรู้น้อมนาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่วถิ ีชีวิต รวบรวมเป็นคลังความรู้ ถ่ายทอดเทคนิค วิธีการปฏิบตั ิ
แก่บุคลากรในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชน รวมท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพ่ือการยกระดับงาน
ยกระดับองค์รวมถึงทิศทางของการทางานท่ีเปล่ียนแปลงไปในอนาคต อันเป็นการเพ่ิมคุณค่าให้องค์กรอย่างลงตัว
ประสบการณ์จากการณ์เรียนรู้ด้วยตนเอง และการฝึกอบรม ทาให้บุคลากรของศูนย์สามารถไปปฏิบัติได้จริง
อย่างมปี ระสิทธภิ าพตามรูปแบบกระบวนงาน

5. รปู แบบ กระบวนการ หรือลาดบั ขน้ั ตอน เทคนิคการพัฒนาองค์กรเป็นการจดั การความรูใ้ กระบวนการพฒั นา
ศูนย์ฯ ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรนู้ อ้ มนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูว่ ิถชี ีวิต จากประสบการณ์ กบั เมล็ดพันธ์ทุ ี่หวา่ นลง
ไปคอื เรามี ตน้ ทางที่ดี กับ ต้นทนุ ท่ีมี และผลลพั ธ์ทไ่ี ด้

ตน้ ทางท่ีดี รับนโยบายจากกรมการพัฒนาชมุ ชน นาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
บุคลากรของศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายกเข้ารับการฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ

หลักสูตรผู้นาการขับเคล่ือนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอ้ือง เป็นต้นแบบท่ี
ทาใหเ้ กิดการเรยี นรู้ แลว้ นาไปพฒั นาต่อยอด

ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก ดาเนนิ การฝึกอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารหลักสูตรการพัฒนา
กสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง แก่ประชาชนและบุคลากรภาคีภาคส่วนต่างมีท่ีความสนใจเข้าร่วมโครงการ
100 คน ส่วนหลักสูตรเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยพ่ึงตนเองและรองรับภัยพิบัติแก่ผู้ที่ผ่าน

การคัดเลอื กจากหลักสตู รแรก 50 คน ทั้ง 2 หลักสตู รทั้งใหบ้ คุ ลากรของศูนยไ์ ด้เกิดการเรียนร้แู ละฝกึ ปฏิบตั ิไปพรอ้ ม ๆ
กบั ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมกบั องคค์ วามรู้ทไี่ ด้รับสามารถนาไปปฏบิ ตั ิไดจ้ รงิ และเหน็ ผลเป็นรปู ธรรม

ดาเนนิ งานโครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพศูนย์ฝกึ อบรมประชาชน เพอ่ื เสรมิ ทกั ษะให้บุคลากร
มีความรู้ความเข้าในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติ และพัฒนาศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง มีฐานเรยี นร้สู าหรบั ให้บรกิ ารแก่ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม โดยบคุ ลากรศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชน
นครนายกเข้ารบั การฝึกอบรม กิจกรรมที่ 1 การเตรียมความพร้อมศูนย์เรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
กจิ กรรมยอ่ ย 1.2 พัฒนาฐานการเรยี นรู้ ส่งผลให้การขบั เคลอื่ นงานผนวกกบั ตน้ ทุนท่ีเรามี

ต้นทนุ ทีม่ ี “พฒั นาและขบั เคลอ่ื นงานภายใต้ทรพั ยากรขององคก์ รท่ีมอี ยู่”
ศกึ ษาบริบทของพืน้ ทแ่ี ละทรัพยากรของศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายกเพื่อกาหนด

เป้าหมายวางแผนการทางาน รวบรวมองค์ความรู้ / แนวทางการปฏิบัติ ที่ได้รับจากการฝึกอบรมและจากการค้นควา้
จากแหล่งเรยี นรู้

นาขอ้ มลู ท่ไี ด้รวบรวมมาวิเคราะห์เพอื่ มาบ่งช้ีกาหนดฐานเรียนรู้และกจิ กรรมการพัฒนา
ศูนย์การเรียนรูก้ ารน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสวู่ ถิ ชี ีวิต รว่ มกนั วางแผนการดาเนินงานการกาหนดฐานเรยี นรู้
จานวน 6 ฐาน

1) ฐานฅนรักษ์แม่ธรณี เนื่องจากมีฐานแนวคิดมาจากการฝึกอบรมหลักสูตรหลักสูตรผู้นา
การขบั เคล่อื นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเออื้ ง และสถานท่มี ีเหมาะสม

2) ฐานคนมีน้ายา (ฐานเรียนรู้เรื่องดิน) เน่ืองจากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเป็นศูนย์ฝึกอบรมท่ีมี
การใช้บริการห้องพักฐานเรียนรู้คนมีน้ายา จึงมีการต้ังฐานที่สามารถลดค่าใช้จ่ายภายในศูนย์ฯ เช่น ลดค่าใช้จ่ายใน
การซ้ือน้ายาซักผา้ นา้ ยาถพู น้ื น้ายาลา้ งจาน

3) ฐานรักษ์โลก รักษ์ดิน (ฐานเรียนรู้เรื่องการทาปุ๋ยชีวภาพ) เน่ืองจากมีฐานแนวคิดมาจากการ
ฝึกอบรมหลักสูตรหลักสูตรผู้นาการขับเคลื่อนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ จังหวัด
นครนายก และเป็นกิจกรรมท่ีศูนย์ฯ เคยทามาก่อน ทาใหม้ คี วามพรอ้ มด้านสถานท่ี เหมาะสาหรับกจิ กรรมการหมักปุ๋ย
ชวี ภาพ

4) ฐานต้นกล้าสู่ความพอเพียง (ฐานเรียนรู้เรื่องการขยายพันธุ์พืช) เนื่องจากศูนย์ศึกษาและพัฒนา
ชุมชนนครนายกมีทรัพยากรพืช พันธ์ุไม้ที่หลากหลาย กอปรกับเป็นหน่วยงานในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน
เน่ืองมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
สามารถขายผลไปสู่การเพาะพันธ์ุเพ่ือใหเ้ กิดกจิ กรรม ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง

5) ฐานหนึ่งงานบ้านพอเพียง ฐานเรียนรู้เรื่องการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นท่ี 1
งานบ้านพอเพียง หลากหลายชนิดที่หย่อนเมล็ดพันธลุ์ วงไป หนึ่งในน้ันคือการปลูกมะนาวใน 3 รูปแบบ เพื่อหาความ
แตกต่างของผลผลิต ลงในพื้นทอี่ ย่างจากดั ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด

6) ฐานการจดั การขยะ เนือ่ งจากศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนนครนายกมีภารกิจและบทบาทหน้าที่ใน
การฝึกอบรม มีบุคลากพักอาศัยบ้านพักสวัสดิการ จึงมีขยะหลากหลายประเภทเกิดข้ึนภายในศูนย์ฯ จึงจาเป้นต้องมี
การจัดทาฐานเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะเพอ่ื เป็นตัวอย่างความสาเร็จและองค์ความรู้แก่บุคคลภายนอกมาเรยี นรู้
และนาไปปรับใช้

ทั้งนี้ฐานเรียนรู้ทั้ง 6 ฐาน จัดตั้งขึ้นถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านการฝึกปฏิบัติและตัวอย่างความสาเร็จ เช่น
ฐานคนมนี า้ ยา ทศ่ี นู ย์ศึกษาและสามารถลดคา่ ใช้จา่ ยและพง่ึ ตนเองมากขน้ึ หรือฐานรักษ์โลก รักษด์ นิ ทสี่ ามารถน้าปุย๋ ชีวภาพ
มาใชภ้ ายศนู ยฯ์ เพื่อดแู ลผกั ตน้ ไม้ โดยไมจ่ าเปน็ พ่งึ สารเคมีและลดคา่ ใชจ้ ่ายในการทาการเกษตรได้เป็นอย่างดี

การพฒั นาฐานเรยี นรู้ ท้ัง 6 ฐานการเรยี น เรมิ่ ตงั้ แต่
1) ร่วมกนั วางแผน มอบหมายผู้รบั ชอบฐานเรยี นรู้ ซง่ึ เปน็ บคุ ลากรทัง้ หมด แบง่ ความรับผดิ ชอบตาม
ความสามารถและเหมาะสมกับงาน

2) วางแผนการทางานของฐานเรียนรู้ โดยกาหนดกจิ กรรมให้สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ และกาหนดกิจกรรม
เพือ่ ให้เกิดองคค์ วามรใู้ นการพัฒนาฐานเรยี นรู้ และจดั ทาปฏิทนิ การปฏบิ ัติร่วมกันทุกฐานเรียนรู้

3) การพัฒนาผรู้ ับผิดชอบหรือวิทยากรประจาฐานเรียนรู้ ด้วยการศึกษาข้อมูลและลงมือปฏิบตั ิจริงเพ่ือให้เกิด
เรียนรู้และเรียนรู้หลักการปฏิบัติงานปราชญ์และผู้ท่ีมีประสบการณ์ในด้านท่ีเก่ียวกับฐานเรียนรู้ท่ีรับผิดชอบ เพื่อให้
วทิ ยากรสามารถถ่ายทอดองคค์ วามรไู้ ด้ มสี ่อื การเรยี นรู้ที่สามารถเขา้ ถงึ และเข้าใจงา่ ย สถานทีเ่ หมาะสมสาหรับกิจกรรม
และมีอุปกรณ์สาหรับการฝึกปฏิบัติ ซ่ึงกิจกรรมการพัฒนาสามารถฐานเรียนรู้ มุ่งเน้นการฝึกปฏิบัติของวิทยากรแต่ละ
ฐานเรียนรู้ เพื่อนาไปสู่การถ่ายองคค์ วามรูแ้ กค่ นภายนอกหรือผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม

4) ดาเนินงานกจิ กรรมตามท่ีกาหนดของฐานเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาทักษะ จัดสถานท่ี เตรียมอปุ กรณใ์ ห้เหมาะสม
และรวบรวมองค์ความรู้ โดยฝึกปฏบิ ตั ิและแลกเปลี่ยนความรู้รว่ มกัน ชว่ ยกนั เตมิ เต็ม ใหค้ าแนะนาซึ่งกันและกนั

5) การสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหวา่ งฐานเรียนรู้ ด้วยกจิ กรรมและทรพั ยากรของฐานเรียนรู้ โดย
เปน็ รูปแบบการทางานแบบพงึ่ พาอาศยั กนั โดยแตล่ ะฐานเรยี นรู้จะแลกเปลยี่ นเรียนรู้องคค์ วามรแู้ ละผลผลิตจากฐานนั้น
จนเป็นวัฎจักรของการแลกเปล่ียน แบ่งปัน ดาเนินงานด้วยสังคมเก้ือกูลกันเพ่ือให้เกิดการพัฒนาและเรียนรู้ร่วมกัน
ตวั อย่างเชน่

ฐานเรียนรู้รักษ์โลก รักษ์ดิน เป็นฐานเรียนรู้ท่ีรวบรวมองค์ความรู้เก่ียวกับปุ๋ยชีวภาพ จึงมี
ผลผลิตเปน็ ปุ๋ยชีวภาพ จงึ กระจายผลผลติให้ฐานเรียนรอู้ ีก 5 ฐาน นาไปใช้เพ่อื ไปบารงุ ดนิ ให้ดนิ เลยี้ งพืช หรือนาไปใส่
ขยะท่ถี กู คดั แยกในฐานการจดั การขยะ

ฐานเรียนรู้หน่ึงงานบ้านพอเพียง มีกิจกรรมการปลูกมะนาว สามารถให้ฐานเรียนรู้ต้นกล้าสู่
ความพอเพียงและบุคลากรไปร่วมศึกษาเรียนรกู้ ารตอนก่ิงมะนาวได้ เพ่ือเป็นการฝึกปฏิบัติแก่ผู้ท่ีจะทาหนา้ ที่วิทยากร
ประจาฐาน

2.5 การจดั การความรู้ โดยผู้รับผดิ ชอบฐานเรียนรู้รวบรวม กลั่นกรอง แลกเปลี่ยน และประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ใน
องค์กร โดยพัฒนาจากข้อมูลไปสู่การทาสื่อเพ่ือการเรียนรู้ในฐานเรียนรู้ และพัฒนาไปสู่การจัดทาชุดความรู้ของศูนย์
เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รับนโยบายจาก กรมฯ ศกึ ษาและ วิเคราะห์ขอ้ มลู พฒั นาฐาน การจดั การ
รวบรวม และกาหนด เรียนรู้ ความรู้
ขอ้ มลู กิจกรรม

ผลลพั ธท์ ่ีได้ “องค์ความรู้และวิธปี ฏิบัติ สู่การพฒั นา”
การพัฒนาศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนสู่ศูนย์เรียนรู้การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่
วิถีชีวิต ประสบการณ์ย่อมรับรู้ บทเรียนย่อมสั่งสม ถอดจาก Tacit Knowledge ส่งผลให้เกิดการจัดการความรู้ได้
เป็น Explicit Knowledge จานวน 6 best practice นามาซ่งึ ตัวอย่างความสาเร็จ ใหห้ ยิบยกมาเปน็ แบบอย่างได้ ดงั น้ี

องค์ความรู้ “เสียงกระซิบจากผืนดิน” จากฐานฅนรักษ์แม่ธรณี เป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาดิน
การขดุ คลองไสไ้ ก่ การหม่ ดิน และการทาคันนาทองคา

องคค์ วามรู้ “นา้ ยาประหยดั ด้วยสองมอื ” จากฐานคนมีนา้ ยา เป็นองคค์ วามร้สู ตู รการทาน้ายาเอนกประสงค์
เพ่อื ลดค่าใช้จา่ ยภายศูนยฯ

องคค์ วามรู้ “พลงั อินทรียส์ ู่วถิ พี อเพยี ง” จากฐานรกั ษ์โลก รกั ษด์ ิน องคค์ วามรู้สคู่ วามพอเพยี ง เป็นองค์ความรู้
เกยี่ วกับการจัดตั้งและการบริหารจัดการฐานเรียนรู้

องค์ความรู้ “เทคนิคการปลูกมะนาวนอกฤดูกาล” จากฐานหนึ่งงานบ้านพอเพียง เป็นองค์ความรู้เก่ียวกับ
เทคนคิ การปลกู มะนาวนอกฤดกู าล เพอ่ื ให้บคุ ลากรในศูนยฯ สามารถบรโิ ภคได้ตลอดปี และขยายผลสู่เกษตรกรคนปลูก
มะนาว

องค์ความรู้ “เสวยี นไมไ้ ผ่ เอาใบไมไ้ ปทาปุย๋ ” และ “ยิ่งแยก ยิ่งได้ กลายเป็นของมคี า่ ”จากฐานการจัดการขยะ
เปน็ ความรทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งกับการจดั การขยะด้วยการคดั แยกขยะภายในศูนย์ฯ จดั ต้ัง บริหารจัดการธนาครขยะแลกไข่ และ
การจัดทาเสวียนไมไ้ ผเ่ พ่อื กาจดั ใบไม้ เพม่ิ พ้นื ท่ีการทาปยุ๋ ชีวภาพ

องค์ความรู้ “ก้าวแรกสู่ความพอเพียง” จากฐานต้นกล้าสู่ความพอเพียง เป็นองค์ความรู้เก่ียวกับการดาเนนิ
กจิ กรรมเพอ่ื การพัฒนาฐานเรียนรู้

การขับเคลื่อนงานศูนย์เรียนรู้การน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่วิถีชีวิต โดยเรียนรู้หลักกสิกรรม
ธรรมชาติ ซง่ึ ได้รบั องค์ความร้มู าจาก มาบเอื้อง นามาปรบั ใช้กบั คน งาน และองคก์ ร

ปัจจัยสาคัญในการขับเคลื่อนงานพัฒนาศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายกสู่การเป็นศูนย์เรียนรู้
การนอ้ มนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่วิถชี วี ิต

การมีส่วนร่วม ร่วมคดิ รว่ มวางแผน ร่วมลงมือปฏบิ ัติ และรว่ มกนั แก้ไขปัญหา
การทางานเป็นทีม ภายใต้กิจกรรมการ “เอาม้อื สามัคคี” ในศูนย์ฯ เน่ืองจากทรัพยากรบุคคลมีจานวนจากดั
จึงต้องช่วยกันทากจิ กรรมและพัฒนาฐานเรียนรู้ไปด้วยกนั โดยมีปฏิทินการทางานในแต่ละสัปดาห์ เมื่อเกิดการทางาน
ร่วมกันเป็นทีม การทางานก็เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประหยัดเวลามาก
การศึกษา ค้นคว้า จากแหล่งเรียนรู้ เพ่ือมาซ่ึงองค์ความรู้และประสบการณ์ ท้ังจาก ปราชญ์ ผู้ท่ีมีความ
เชีย่ วชาญ หนงั สือ อินเตอรเ์ นต็ ศนู ย์การเรยี นรู้ และเครอื ข่าย
การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ประสบการณ์การทางานภายในและภายนอกศูนยฯ์
การเปดิ ใจยอมรับ การยอมรับของความคดิ ทแ่ี ตกต่างกนั และหาจุดลงตวั ของความคิดเพื่องานสามารถดาเนินตอ่ ไปได้
รับรู้และเขา้ ใจ ในงานที่กาลงั ทาให้ถูกตอ้ งและเขา้ ใจตรงกันทกุ ฝ่าย
การวางแผน การดาเนินงาน 4 ประเด็นหลัก คน งาน เวลา เงนิ
การมอบโอกาสในการทางาน โดยยึดหลักปรัชญาของกรมการพัฒนาชุมชน “มีความเชื่อม่ันและศรัทธาใน
มนุษยชาติว่า มนุษย์ทุกชีวิต มีคุณค่า มีความหมาย มีศักด์ิศรี มีศักยภาพ มีฐานะแห่งความเป็นมนุษย์
โดยมนษุ ย์ทกุ คนสามารถพัฒนาได้ถ้าไดร้ บั โอกาส”
การประเมนิ ผล ตนเองระหว่างการทางาน โดยกาหนดตัวชด้ี ้วยกิจกรรม และไปสู่เป้าหมายของฐานเรียนรู้
ยึดหลักการทรงงาน “ระเบิดจากข้างใน” ต้องสร้างความเข้มแข็งให้ในตัวบุคคลเสียก่อน ก่อนที่จะได้รับการ
พฒั นา ใหม้ สี ภาพพร้อมทีจ่ ะรับการพฒั นาเสียกอ่ น

6. เทคนคิ ในการปฏบิ ตั งิ าน
1. การพัฒนาคน เนื่องจากคนเป็นหัวใจของการพัฒนา ถือเป็นศูนย์กลางของการขับเคล่ือนและพัฒนางาน

โดยยึดปรัชญาการพัฒนาชุมชน “มนุษย์ทุกชีวิต มีคุณค่า มีความหมาย มีศักดิ์ศรี มีศักยภาพ มีฐานะแห่งความเป็น
มนษุ ย์ โดยมนษุ ย์ทุกคนสามารถพฒั นาไดถ้ า้ ไดร้ ับโอกาส”

พัฒนาดา้ นทกั ษะ ความสามารถ เพื่อใหเ้ หมาะสมการทางานและสามารถดาเนินงานตามหน้าทแ่ี ละ
วัตถุประสงค์ของงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการเรียนรู้ด้วยเอง / ปราชญ์ / ผู้รู้ / แหล่งความรู้อ่ืน ๆ เช่น
อนิ เตอรเ์ นต็ หนังสือ ศนู ย์การเรยี นรู้

ลงมอื ฝึกปฏิบัติจริงด้วยตนเอง มีการเปรียบผลการทางานและนามาปรบั ใช้ เช่น ฐานเรียนรู้
คนมนี า้ ยา มกี ารทดลองทาน้ายาล้างจาน ทดลองใช้ หาจุดบกพร่อง เพอ่ื นามาแก้ไข และเปรยี บการทางานของนา้ ยาว่า
สูตรใดมปี ระสทิ ธิภาพมากกวา่ กัน

2. ถอดบทเรยี นจากการทางาน เมื่อลงมือทา ทราบผลการปฏบิ ตั ิ จึงต้องมีการถอดบทเรยี นดว้ ยการบันทึกและ
นามาแลกเปล่ียนเรียนรู้กับวทิ ยากรฐานเรียนร้อู ื่น ๆ และเครือข่ายผู้เช่ียวชาญเรอ่ื งน้ัน ๆ เพื่อกลั่นกรององค์ความรูใ้ ห้
ตกผลึก

3. พัฒนาต่อยอดจากส่ิงท่ีมอี ยู่ กล่าวคือ บุคลากรในองค์กรมีความรู้พื้นฐานหรือมีความรู้เดิมอยแู่ ล้ว จึงนามา
ตอ่ ยอดความรู้ด้วยการฝึกอบรม เรียนรูจ้ าก Case study ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ เพอ่ื เพมิ่ พูนความสามารถมากข้ึนอกี

4. การเสรมิ แรงเชงิ บวก เปน็ ตวั จูงใจท่ีใช้ได้ผลทส่ี ุดในการเพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏิบัตงิ าน เชน่ การกลา่ วคาชมเชย
5. ผ้นู าทาก่อน โดยผบู้ รหิ ารและหวั หนา้ กลุ่มงาน (ผช.) ลงมือปฏิบตั ใิ หเ้ ห็นเปน็ ตวั อยา่ ง เกิดการทางานรว่ มกนั
เป็นทีม งานจงึ ขับเคลือ่ นไปไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

7. ปัญหาท่ีพบและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา

ปัจจยั ภายนอก การเกดิ โรคระบาดและภยั แล้ง ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายก
ปัจจยั ภายใน โจทย์ที่ท้าทายสาหรับบุคลกรให้งานไปส่เู ป้าหมายโดยลงมือปฏิบัติจริงรับผดิ ชอบฐานเรียนรู้
หรือวิทยากรประจาฐานยงั ขาดประสบการณ์และองคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั งาน โดยมีแนวทางการแก้ไขปญั หา คอื
ปรบั mine set เก่ียวกับงาน จากความท้าทายมาเป็นพลังในใจ เรยี นรู้สงิ่ ใหม่ พัฒนาทกั ษะ สมถรรถนะ
ด้วยการศกึ ษาและเรยี นรูง้ านดว้ ยตนเอง (ลองผิด ลองถกู ) และค้นคว้าเพิม่ เตมิ จากปราชญ์ ผู้ที่มคี วามเชย่ี วชาญ

8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้

คน (Knowledge Worker) ของสถาบันการพัฒนาชุมชนมีการพัฒนาบุคลากรให้มขี ีดสมรรถนะสูงต้องมีองค์
ความรู้ในเร่อื งการพฒั นาศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชมุ นครนายกสู่การเปน็ ศูนยก์ ารเรยี นรกู้ ารน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่วิถีชีวิต ทาให้บุคลากรในทุกตาแหน่งเกิดการพัฒนาทักษะและเพ่ิมพูนความสามารถในตัวบุคคล เพ่ิมขีด
สมรรถนะการทางานใหส้ อดคล้องกบั งานทเี่ ปลยี่ นแปลง เรียนรหู้ ลกั การทางานร่วมกนั และการยอมรบั ความแตกต่าง

งาน (Valuve Add) มีการสร้างมูลค่าเพิ่ม การพัฒนาศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมนครนายกสู่ศูนย์การเรียนรู้
การน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่วิถีชีวิต เพื่อการถ่ายทอดความรู้ เทคนิค วิธีการ ตามแนวปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ผ่านรูปแบบการเรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล แก่บุคลากรภายในและภายนอก ให้สามารถนาไป
ปฏิบตั เิ ป็นวถิ ีชีวติ ดว้ ยการพ่ึงตนเองได้ และศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนเปน็ คลงั ความรู้สาคัญเกี่ยวกับงานพฒั นาชุมชน
และแหลง่ เรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพอื่ ประชาชนและภาคเครอื ข่ายในเขตพน้ื ทบ่ี ริการ

องค์กร (Learning organization) ได้มีการพัฒนาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การพัฒนาศูนย์ศึกษาและ
พฒั นาชมุ นครนายกสูก่ ารเป็นศนู ยก์ ารเรียนรกู้ ารน้อมนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่วิถีชวี ติ ทาให้ศูนยฯ์ เป็นองคก์ ร
แห่งการเรยี นรู้ มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรงู้ านซ่งึ กันและกันและมีการถอดองค์ความรูอ้ อกมาเปน็ ชดุ ความรู้เพื่อการตอ่ ยอด
ในการขบั เคลอ่ื นงานในองค์กร

เทคนิคการยกระดบั มาตรฐานศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายกเปน็ ระดบั ดเี ยีย่ ม

นางประภา ปานนิตยกลุ
ผูอ้ านวยการศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก

1. ช่อื องคค์ วามรู้ เทคนคิ การยกระดับมาตรฐานศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนนครนายกเป็นระดับดีเยยี่ ม
2. ช่ือเจ้าของความรู้ นางประภา ปานนิตยกุล
3. องค์ความรทู้ ี่บง่ ชี้ หมวดท่ี 4 เสริมสร้างองค์กรให้มขี ีดสมรรถนะสูง

4. ที่มาและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้
สถาบันการพัฒนาชุมชน มีบทบาทหน้าท่ีในการฝึกอบรมข้าราชการ และผู้นาชุมชนเพ่ือขับเคลื่อน

ยุทธศาสตร์กรมฯ ให้บรรลุเป้าหมาย การดาเนินงานด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล องค์กรที่เป็นหน่วยงาน
รับผิดชอบคือศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน จาเป็นต้องมีเกณฑ์มาตรฐานในการปฏิบัติงาน ๓ เรื่อง ได้แก่
มาตรฐานการดาเนินการฝึกอบรม มาตรฐานนักทรัพยากรบุคคล และมาตรฐานการให้บริการ

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก ดาเนินการพัฒนาสภาพแวดล้อม บุคลากร และการให้บริการ
ตามเกณฑม์ าตรฐานทก่ี รมการพฒั นาชมุ ชน จนสามารถผ่านการประเมนิ มาตรฐานในทกุ ๆเรอ่ื งในระดบั ดีเยี่ยม
จึงควรมีการถอดบทเรียนและบันทึกความรู้ไว้สาหรับเป็นแนวทางการปฏิบัติที่ดีให้แก่องค์กรอื่นต่อไป
5. รูปแบบ กระบวนการ หรอื ลาดบั ขั้นตอน

เร่มิ ตน้ จากการศึกษารายละเอียดแนวทางการดาเนนิ งานเกณฑม์ าตรฐาน และตวั บง่ ชม้ี าตรฐาน
จดั แบ่งทมี งานรับผิดชอบการพัฒนาศนู ย์ตามตัวบ่งชม้ี าตรฐานการพัฒนาทรพั ยากรบุคคลประจาปี ๒๕๖๒
สนับสนนุ การดาเนนิ งานของทีมงานทรี่ ับผดิ ชอบการพัฒนาศูนย์ตามตวั บ่งชม้ี าตรฐานการพัฒนาทรพั ยากร
บุคคลประจาปี ๒๕๖๒ ในแตล่ ะด้าน แต่ละองคป์ ระกอบ ดงั น้ี

- ใช้เกณฑม์ าตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เปน็ เครอื่ งมือ checklist กากับ ตดิ ตามงาน เตรียม
ความพร้อมก่อน ระหวา่ ง และหลังการดาเนินการในทุกกจิ กรรม

- ประเมนิ ตนเอง (SAR) วา่ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และตวั บ่งช้มี าตรฐาน แลว้ หรอื ยงั โดยใชก้ ารประชุม
ตรวจติดตามงานในพ้นื ท่จี ริง รว่ มกนั ลงความเหน็ ว่ายังมอี ะไรต้องปรับปรงุ พัฒนาขน้ึ

- ดาเนินการ ปรบั ปรุงและพัฒนางานสาคัญทย่ี งั เปน็ จุดออ่ นการดาเนนิ งาน ๙ เรือ่ ง สาคญั ดงั น้ี
(๑) พฒั นาระบบประเมนิ ความพึงพอใจและแจ้งซ่อมโดยใช้ QR code ตดิ ในห้องพักทกุ ห้อง มอบให้
หวั หน้างานอานวยการเป็นผเู้ ก็บข้อมูลประจาวนั เพ่ือการแก้ไขปญั หาของผเู้ ข้าพกั ไดอ้ ยา่ งทนั เหตุการณ์และ

ปรบั ปรงุ การบรกิ ารได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เช่น แก้ไขสัญญาณทวี ี ฝักบัวเสยี กอ๊ กนาเสีย หลอดไฟเสีย ฯลฯ

(๒) พัฒนาระบบการบรกิ าร one stop service รบั รายงานตัวพรอ้ มกญุ แจเข้าพัก เพอ่ื อานวยความ

สะดวกแก่ผูเ้ ขา้ อบรม ลดขนั ตอน รวดเรว็ สร้างความพงึ พอใจแก่ผรู้ บั บรกิ าร

(๓) ติดตาม ควบคมุ คุณภาพ ปรมิ าณ และความสะอาดของอาหาร อาหารว่างในการฝกึ อบรม โดย

มอบหมายผู้รับผดิ ชอบเฉพาะเป็นผตู้ ิดตาม ตรวจสอบในทกุ มอื รายงานตรงผ้บู งั คบั บญั ชาเพ่อื รบั ทราบและ

แสดงถงึ การให้ความสาคัญกับคุณภาพ ปรมิ าณ ความสะอาดขอวอาหาร ทาให้ผ้รู บั บรกิ ารมีความพึงพอใจดา้ น

อาหาร อาหารว่างอยูใ่ นระดับมากที่สุด

(๔) กระต้นุ กาชบั ให้ทีมงานให้มคี วามพร้อมและมีความกระตือรือร้นในการใหบ้ รกิ าร ในการประเมนิ

ความพึงพอใจจากผูร้ ับการบรกิ ารจะอยู่ในระดับความพึงพอใจทรี่ ะดบั มากท่ีสุดทกุ ครงั

(๕) พฒั นาสภาพแวดล้อมรอบสถานทพี่ ัก กาจดั ผักตบ วชั พชื ในสระนาขนาดใหญ่ 2 สระ ปรบั

สภาพแวดลอ้ มใหเ้ ปน็ สถานท่พี ักผอ่ น โดยดาเนนิ การเปน็ ประจา ตอ่ เนือ่ ง ทาให้สภาพแวดลอ้ มรอบสระนา

สะอาด สวยงาม เหมาะแก่การเป็นสถานท่ีฝกึ อบรม

(๖) ปรบั ปรุงสวนหย่อมหนา้ ศนู ย์ฯ และหนา้ อาคารเหลอื งอนิ เดียตอ้ นรับผู้มาเยอื น โดยใชง้ บประมาณ

ของทางราชการและทไ่ี ดร้ บั การสมทบแรงงานจากผู้เขา้ อบรมช่วยกนั ทา

(๗) จัดทาป้ายสืบสานตานาน พัฒนาชุมชน เลา่ ขานงานพฒั นาชุมชนตังแตย่ ุคแรกถึงปจั จบุ ัน เพื่อให้

การเรียนรูแ้ ก่ผเู้ ข้าอบรม มีความรกั และศรัทธาในองค์กร “กรมการพฒั นาชุมชน”

(๘) จัดทาเคานเ์ ตอร์ประชาสมั พันธ์ สาหรับการติดต่อ สอบถาม ประสานงาน

(๙) จัดทาลานพกั ผ่อนบรเิ วณใต้อาคารอานวยการให้บรกิ ารสาหรบั การพักผอ่ นและนันทนาการ

ส่ิงที่ต้องทำควบคู่กันไป คือกำรเสริมสร้ำงขีดสมรรถนะองค์กรโดยกำรนำแนวคิด “Happy

Workplace” 8 H มำดำเนนิ กำรอยำ่ งจริงจัง ดงั นี้

๑) Happy Body : จัดออกกาลังกายร่วมกนั ในวันองั คารอย่างนอ้ ยครงั ละ ๒๐ นาที
๒) Happy Heart : อวยพรวันเกิดคนเกิดเดือนเดียวกัน เยี่ยมไข้ที่โรงพยาบาล ยินดีในโอกาสแห่ง

ความสาเรจ็ ของบุคลากร
๓) Happy society : ชวนบุคลากรทาอาหารเองและหิวป่ินโตร่วมทานอาหารกลางวันด้วยกันในวัน

ประชมุ ประจาเดอื น ลดขยะพลาสตกิ ลดคา่ ใช้จา่ ย ไดค้ วามสมั พนั ธ์ทด่ี ตี อ่ กัน
๔) Happy Relax : จัดกิจกรรม “จิบกาแฟ แลงานศิลป์” เพ่ือให้บุคลากรได้ร่วมกันทาขนมไทย วาด

งานศิลปะด้วยกาแฟ และเชิญชวนผู้อบรมเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเพลิดเพลิน สุดท้ายช่ืนชมงาน
ศิลปะบนหอศิลป์จังหวัดนครนายกซ่ึงตังอยู่บนอาคารอานวยการชัน ๒ ได้ฟื้นฟูหอศิลป์ควบคู่กับ
การทากิจกรรมที่ผ่อนคลายของบุคลากร นอกจากนัน ยังได้สร้างลานผักผ่อนใต้อาคารอานวยการ
โดยมาใชง้ บประมาณทางราชการ และปรับปรุงสวนหยอ่ ม ปลกู ไม้ดอก ไม้ประดบั สรา้ งความสุข
๕) Happy Brain : สนับสนุนให้บุคลากรพัฒนาตนเองโดยจัดมุมหนังสือ วารสาร และจัดให้มีการ
แบง่ ปนั ความรู้ เทคนิคในการทางานระหว่างบคุ ลากรในการประชมุ ประจาเดือนเป็นประจา
๖) Happy Soul : จัดกิจกรรมสวดมนต์ ไหว้พระ สวดบทสรรเสริญพระพุทธคุณ ก่อนการประชุม
ประจาเดอื นทกุ ครัง เชิญชวนและจัดกจิ กรรมเสริมหลกั สตู รให้บุคลากรและผู้เข้าอบรมทุกหลักสูตร
ใสบ่ าตร ถวายอาหารพระสงฆ์ และเขา้ รว่ มกิจกรรมดว้ ยตนเองทุกครัง

๗) Happy Money : จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้การปลอดหนีจากบุคลากรท่ีทาได้สาเร็จ เล่าให้
ผูอ้ ืน่ ฟัง จากนนั แต่ละคนกาหนดแผนการปลอดหนี และวิธีทีจ่ ะปลอดหนี จัดเวทพี ดู คยุ เลา่ ให้กนั ฟัง
ว่าแต่ละคนได้ดาเนินการตามแผนท่ีวางไว้หรือไม่ เพราะอะไร เพ่ือให้เทคนิค และเป็นการให้
กาลังใจซ่ึงกนั และกัน

๘) Happy Family : ให้ความสาคัญกับการสร้างความรกั ความอบอุ่นในครอบครัว ช่ืนชมกับครอบครัวท่ี
เป็นต้นแบบ และให้กาลังใจครอบครัวท่ีมีปัญหา เชิญสมาชิกในครอบครัวมาเข้าร่วมกิจกรรมของศูนย์
เสมอื นคนในองคก์ ร

6. เทคนคิ ในการปฏิบัติงาน
ในการปฏบิ ตั ิงานดงั กล่าว สิ่งที่เปน็ เทคนคิ สู่ความสาเรจ็ คอื เทคนิคการประสานสัมพนั ธ์ และสรา้ งความ

เข้าใจอันดี กับผู้บังคับบญั ชา เพ่อื นร่วมงานผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา และผู้มาตดิ ตอ่ ขอรับบริการ โดยดาเนินการ ดังนี
- รายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติราชการแก่ผู้บังคับบัญชา ในช่องทางต่าง ๆ อย่างทันการณ์ รวดเร็ว

เช่น โทรศัพท์ , ไลน์(Line) , message Facebook ฯลฯ

- จัด “Morning Talk” พบปะยามเช้าทุกเช้าวันจันทร์ เพื่อพูดคุย สนทนาอย่างไม่เป็นทางการกับ
ผู้ใตบ้ ังคบั บัญชา รบั ฟังแนวทางการทางาน แทนการประชมุ แบบเปน็ ทางการเพ่อื ใหท้ กุ คนผ่อนคลาย ไม่
เคร่งเครยี ด และเสนอไอเดียใหม่ๆ ทาให้ทุกคนมีความคดิ สร้างสรรค์ในการพฒั นางานร่วมกัน

- เปิดห้องทางานตลอดเวลาให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือผู้รับบริการเข้ามาพบปะ พูดคุย เสนอแนะให้ความ

คดิ เห็นในการปรบั ปรงุ พฒั นางานไดอ้ ยา่ งเปน็ กนั เอง เขา้ ถงึ งา่ ย ไม่มขี ันตอนการเข้าพบ เข้าถึงใหย้ ุ่งยาก

- นาป่นิ โตมารับประทานอาหารกลางวนั ร่วมกับผู้ใต้บังคับบญั ชา อยา่ งนอ้ ยเดือนละ ๑ ครัง โดยทุกคนจะ

นาอาหารป่ินโตมาจากบา้ นเพ่ือมารบั ประทานอาหารร่วมกัน

- ใส่ใจสุขภาพผู้ใต้บังคับบัญชา โดยจัดให้มีสมุดบันทึกสุขภาพประจาตัวบุคลากร มีการตรวจสุขภาพ

เบืองตน้ โดยเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข รณรงค์การบริโภคอาหารและเคร่ืองด่ืมเพอื่ สขุ ภาพ นอกจากนัน ยัง

กาหนดใหว้ นั พธุ เป็นวันจดั กิจกรรมออกกาลังกายร่วมกนั ในองค์กร

- จดั กจิ กรรม “Happy Society” สงั คมดี : คนทางานมีความสุข สร้างความสัมพนั ธ์ ความรูส้ ึกที่ดตี ่อกัน

ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาและเพ่ือนร่วมงานในท่ีทางานปัจจุบัน เช่น แสดงความยินดี

เนื่องในวนั คล้ายวันเกิด วันรับปรญิ ญา เยย่ี มไข้ ฯลฯ

- สรา้ งความสัมพันธ์ท่ดี กี ับคนในครอบครอบของผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชา โดยเชญิ เขา้ รว่ มกจิ กรรมในวาระสาคัญ

ตา่ ง ๆ เช่น สงกรานต์ วันขึนปใี หม่ ฯลฯ

- สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับบริการ โดยจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรการฝึกอบรม เช่น จิบกาแฟแลงาน

ศิลป์ กิจกรรมทาบุญใส่บาตรตอนเช้าวันสุดท้ายของการจัดอบรม งานพัฒนาส่ิงแวดล้อม “จิตอาสา” เราทา

ความดี ดว้ ยหัวใจ ในทุกหลักสตู ร

- สือ่ สาร สรา้ งภาพลกั ษณ์ update ข้อมูล ขา่ วสาร ภาพกิจกรรม ผ่านส่อื Social Media ช่องทางตา่ ง ๆ

ได้แก่ Facebook ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก , website ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก

www. Training-Nakhonnayok.cdd.go.th และจัดทาลงในช่อง YouTube CDLC Nakhonnayok เพอื่

สอ่ื สารและสร้างความสัมพันธ์ที่ดกี บั ผูบ้ งั คับบญั ชา เพอื่ นร่วมงานผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชา และผรู้ ับบรกิ าร

7. ปญั หาทีพ่ บและแนวทางการแก้ไขปญั หา -

8. ประโยชน์ขององคค์ วามรู้

๑) ผลสาเรจ็ จากการดาเนนิ งานทาให้ผู้รบั บริการดา้ นอาคารสถานท่ี หลักสตู รการฝึกอบรมต่าง ๆ มี
ความพงึ พอใจในการบริการของศนู ยฯ์ ในระดบั มากทส่ี ุด

๒) การพัฒนาบคุ ลากรและผนู้ าชุมชนของกรมการพฒั นาชมุ ชนมปี ระสทิ ธภิ าพ เป็นทรัพยากรทีเ่ ก่ง ดี
มคี ณุ ธรรม

พลังอนิ ทรีย์สู่วิถพี อเพยี ง

1. ชื่อองคค์ วามรู้ พลงั อินทรยี ส์ วู่ ถิ ีพอเพียง

2. ชื่อเจ้าของความรู้ นางชนม์สติ า พทุ ธชาติ นักวชิ าการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ

3. องค์ความรทู้ ี่บง่ ชี้ หมวดท่ี 4 เสรมิ สรา้ งองคก์ รให้มขี ีดสมรรถนะสงู

4. ทม่ี าและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้

วิถีชีวิตของทั้งคนเมอื งและชนบทของประเทศไทยทุกวันน้ีแม้จะเป็นประเทศเกษตรกรรม แต่เม่ือมอง
ในบริบทต่าง ๆ การผลติ อาหารและการบริโภคของเราแทบจะถกู ผูกขาดด้วยบรษิ ัทอุตสาหกรรมใหญ่เพยี งไม่กี่
บริษัทต้ังแต่เมล็ดพันธุ์ สารเคมี ไปจนถึงการรับซ้ือและแปรรูป การผลิตผลิตภัณฑ์จากการเกษตรข้ึนเพื่อ
การส่งออกเป็นหลัก แม้ว่าเกษตรกรจะเป็นผู้ผลิตอาหารให้กับเราแต่ส่วนใหญ่น้ันเป็นการผลิตพืชเชิงเดี่ยว
ท้ังด้วยนโยบายของรัฐที่ไม่ได้สนับสนุนเกษตรกรรมเชิงนิเวศที่เน้นความหลากหลาย แต่เน้นสร้างแรงจูงใจ
เฉพาะพืชอุตสาหกรรม ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ ปัญหาปากท้องของท้ังคนเมอื งและคนชนบทจึงยังห่างไกลจาก
ความสามารถในการพ่ึงพาตนเอง แต่ต้องพ่ึงกาลังการซ้ือเป็นหลัก เราจึงต้องสร้างสังคมที่มีความม่ันคงทาง
อาหาร คือยามเมื่อ “ทุกคนสามารถเข้าถึงอาหารท่ีปลอดภัย อุดมด้วยโภชนาการ และมีอย่างพอเพียง เพื่อ
ดารงชีวิตที่มีสุขภาวะที่ดีและแข็งแรง” การปลูกผักกินเองดูเหมือนจะเป็นตัวช่วยท่ีดีที่สุดในการพ่ึงพาตัวเอง
ทางอาหาร

การทาปุ๋ยไว้ใช้เองโดยที่ไม่พึ่งพาสารเคมีทาให้เรามั่นใจได้ว่าปุ๋ยที่เราใส่บารุงพืชผักท่ีเราปลูกจะ
ปลอดภัยแน่นอน ซึ่งการทาปุ๋ยน้ีนอกจากจะได้ปุ๋ยอินทรีย์ท่ีปลอดภัยแล้วเรายังสามารถนามาใช้เป็นกิจกรรม
ยามว่างรว่ มกันภายในครอบครัว หรือ ในชุมชนได้อีกด้วย การทาปุ๋ยโดยมีหลักการคือ เลี้ยงดิน ให้ดินเลี้ยงพืช
และ ใหพ้ ชื เลยี้ งเรา

5. รูปแบบ กระบวนการ หรือลาดบั ขั้นตอน

รูปแบบการดาเนนิ งาน

ใช้วิธีการจัดตง้ั ฐานเรียนรู้รักษ์โลก รกั ษด์ นิ (ป๋ยุ แห้งชีวภาพ นา้ หมักชวี ภาพ)ภายในศูนย์ศึกษา
และพฒั นาชุมชน การบรรยายวิธกี ารใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร การฝกึ ปฏิบัติในพน้ื ท่ี สอน
การบรหิ ารกลุ่มใหเ้ ขม้ แขง็ ถา่ ยทอดความรู้การใช้ปุ๋ยให้เหมาะสม ตามชนิดของดินและพืชในแต่ละพื้นที่ มกี าร
ตรวจเยี่ยมแปลงผัก แปลงพืชท่ีปลูก และกิจกรรมที่นาผลผลิตภายในฐานไปใช้ว่าเกิดประโยชน์อย่างไรบ้าง
มีข้อดี ข้อเสีย อย่างไร และนาผลการติดตามมาปรับปรุง พัฒนา สูตรให้เหมาะสมต่อไป ก่อให้เกิดองค์
ความรู้ที่ไดร้ ับจากแปลงและกิจกรรมทนี่ าปุ๋ยแหง้ ชีวภาพและน้าหมักชวี ภาพไปใช้ในพืน้ ท่ี

ขัน้ การดาเนินงาน

1. รับสมัครเจ้าหน้าที่ประจาฐาน โดยผลิตวิทยากรประจาฐาน (มดงาน) 1 - 2 คน
ตามความเหมาะสม โดยวิทยากรต้องสามารถให้ความรู้และปฏิบัติได้ และควรมีเวลาให้กับการทากิจกรรม
ภายในฐาน อย่างน้อยเดือนละ 1 - 5 วัน

2. อบรมวิทยากรประจาฐาน ได้แก่ ข้าราชการ และมดงาน ที่มีความพร้อมเป็นวิทยากร
ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการทาปุ๋ยแห้งชีวภาพ ปุ๋ยน้าชีวภาพ การใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทาง
การเกษตร วิธีการบริหารกลุ่ม และวิธีการขับเคล่ือนกลุ่ม ให้กลุ่มสามารถพ่ึงตนเองได้มีความเข้มแข็ง โดยไม่
ต้องรอการสนบั สนนุ งบประมาณ มกี ารทาบัญชี รบั -จ่าย ประจาฐาน

3. คัดเลือกสถานท่ีดาเนินกิจกรรมของฐานเรยี นรู้ สถานท่ีดาเนินการของฐานเรียนรู้ควรมี
โรงเรือนท่ีจะเก็บวัสดุ และปัจจัยการผลิต ของฐานเรียนรู้ได้ พื้นท่ีควรกว้างขวางพอสมควร มีแหล่งน้าไว้
ดาเนินการในการผลิตปยุ๋ อินทรียน์ ้า ปุ๋ยหมัก มีการจัดทาองค์ความรู้ประจาฐานเพื่อการศึกษาดูงานของบุคคล
ทัง้ ภายในและภายนอก

4. มีการจดั กิจกรรม “เอาม้ือสามคั คี” อยา่ งนอ้ ยเดือนละ 1 ครัง้ โดยมขี า้ ราชการ พนักงาน
ราชการ และมดงานภายในศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน มาร่วมกันทากิจกรรมผลิตปุ๋ยแห้งชีวภาพ ปุ๋ยน้า
ชีวภาพ

5. มีบริหารจดั การฐานเรยี นรู้ในการผลิตปุ๋ยแห้งชีวภาพ ปุ๋ยน้าชวี ภาพ ให้เพียงพอกบั ความ
ต้องการใช้ภายในศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ท้ังด้านการจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การบริหารจัดการกองทุน
หมนุ เวยี น การนาไปใช้ประโยชน์ในพนื้ ท่ีการเกษตร การสร้างเครือขา่ ยขยายผลสู่การผลิตระดับครวั เรอื นของ
เจ้าหน้าท่ีทกุ คนตามวถิ ีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง พงึ่ ตนเอง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้

6. ประสานกับปราชญ์ชาวบ้านและผู้นาชุมชนที่มีองค์ความรู้ในการผลิตปุ๋ยชีวภาพและน้า
หมักชีวภาพ เพ่ือขับเคลื่อนพัฒนาผลผลิตปุ๋ยแห้งชีวภาพและน้าหมกั ชีวภาพไปใช้ในการเกษตรสู่ระบบเกษตร
อนิ ทรยี ์อย่างมีประสิทธิภาพ

7. จัดอบรม สาธิตการผลิตปุ๋ยแห้งชีวภาพ และน้าหมักชีวภาพ และให้ผู้อบรมลงมือปฏิบตั ิ
จริง ในการทาปุ๋ยแห้งชีวภาพและนา้ หมกั ชีวภาพ โดยใช้สิ่งท่ีมีภายในศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชน มาทาน้า
หมักชีวภาพ เช่น น้าหมักรสขมจากบอระเพ็ด มีสรรพคุณฆ่าเชื้อแบคทีเรียเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับพืช
น้าหมักผลไม้จากขนุน มีสรรพคุณสาหรับการเร่งดอก ฉีดพ่นต้นพืชและผักทุกชนิด นาไปฉีดพ่นพืช ผัก
เพ่อื เรง่ การเจรญิ เตบิ โต โดยใหฉ้ ีดพ่นในชว่ งเชา้ หรือเยน็ ขณะไม่มีแสงแดดจัด

6. เทคนิคในการปฏิบตั งิ าน

เทคนิคในปฏิบัติงานฐานเรียนรู้ปุ๋ยแห้งชีวภาพ น้าหมักชีวภาพ คือการเรียนรู้ร่วมกันผ่าน
กระบวนการ “เอาม้ือสามคั คี” โดยนาทฤษฎี ข้อมูลทางวชิ าการ มาประยกุ ต์ใช้กับประสบการณข์ องแต่ละคน
ท่ีมาร่วมทากิจกรรม ความเชี่ยวชาญท่ีสั่งสม (ทุกอย่างจากการการพูดคุยแลกเปลี่ยนจะนามาพิจารณาและ
นาสู่การปฏิบัติจริง) และองค์ความรู้ที่ได้จากการลองทาและนาไปใช้ในแปลงจริง นาผลที่ได้จากการนาไปใช้
มาปรับปรุง พัฒนา และต่อยอด เนน้ การใช้ทรพั ยากรภายในศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชน ใหค้ ุม้ ค่า

ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับ

1. บุคลากรของศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชน มกี จิ กรรมทาร่วมกันผา่ นการ “เอามอื้ สามคั คี”
มีการพูดคยุ แลกเปลยี่ นประสบการณ์การทาปุ๋ยแห้งชีวภาพ น้าหมกั ชีวภาพ

2. บุคลากรมคี วามกระตือรอื ร้นในการศึกษา คน้ ควา้ เก่ียวกบั สูตรปยุ๋ แห้งชวี ภาพและนา้
หมกั ชวี ภาพ ที่ทาและอยากจะทาต่อไป

3. การใชส้ ารเคมีทางการเกษตรภายในองคก์ รลดลง ลดรายจ่าย
4. ผลผลิตมีความปลอดภยั ตอ่ ผู้บรโิ ภค รสชาติดมี ีคณุ ภาพ
5. ฟื้นฟูดินให้ดีขน้ึ มคี วามยั่งยืนทางการเกษตร และรักษาสิง่ แวดลอ้ ม

7. ปัญหาทพ่ี บและแนวทางการแก้ไขปญั หา

การเกาะติดสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ปุ๋ยแห้งชีวภาพ น้าหมักชีวภาพ แต่ละสูตรมีประโยชน์
ท่ีแตกต่างกัน ให้ผลเร็ว ช้า แตกต่างกัน ทุกอย่างไม่ใช่ปัญหา แต่เป็นสิ่งที่จะทาให้รู้ว่าสูตรไหนเหมาะสม
กับอะไร บันทึกไว้เพื่อเป็นตาราเปรียบเทียบกันดูว่า อะไรเหมาะจะแก้ปัญหาอะไรในดิน ในพืช ใช้กับ
ดินอะไร พืชอะไร ถือเป็นความพยายามช่วยกันขับเคลื่อนไปก่อน...ต่อไป คือ การคิดไปข้างหน้า
พร้อมกับการปรับปรุงสูตรปัจจุบัน ให้เข้ากับบริบทพื้นที่ของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน แล้วสถานการณ์
ที่เกิดจากการติดตามผลผลิตที่ถูกนาไปใช้จะบอกเราเอง

8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้

องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาทางวิชาการและนามาปฏิบัติจริงจะก่อให้ผู้ท่ีสนใจได้เห็นถึงการพฒั นา
การเปล่ียนแปลงที่ต้องมีตลอดเวลา กับการที่จะทาเกษตรแบบอินทรีย์และการผลิตปุ๋ยแห้งชีวภาพ น้าหมัก
ชวี ภาพ ใช้เอง ซึ่งตอ้ งสอดคลอ้ งกบั บริบทพ้ืนที่ของตนเองเป็นสาคญั มิไดเ้ กดิ จากตารา หรอื สตู รใดสูตรหน่ึง
อย่างเฉพาะเจาะจง

เทคนคิ การปลูกมะนาวนอกฤดู

1. ช่อื องคค์ วามรู้ เทคนคิ การปลูกมะนาวนอกฤดู

2. ชอื่ เจ้าของความรู้ นางสาวอรวยี ์ แสงทอง นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการ

3. องค์ความรทู้ ี่บ่งช้ี หมวดที่ 4 เสริมสรา้ งองคก์ รใหม้ ีขีดสมรรถนะสูง

4. ท่ีมาและความสาคัญในการจัดทาองค์ความรู้
ขอเพยี ง “หน่งึ งานบา้ นพอเพียง” จากพนื้ ท่ี 45 ไร่ ของศนู ย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนนครนายก ในยคุ

สงครามโควิค 19 กาลังระบาด ทาใหส้ ภาพสงั คมเศรษฐกจิ เปล่ียนแปลงเพียงหน่ึงองศาขยับเราก็ต้องปรับตาม
เป็นหนง่ึ ในความสาเร็จและเปน็ หน่ีงในความทา้ ทาย กอปรกับนโยบาย กรมการพฒั นาชมุ ชนปฏิบัตกิ าร 90 วัน
ปลูกผักสวนครัว เพ่ือเตรียมความพรอ้ มสู่ความม่ันคงทางอาหาร (Quick win 90 day) รองรับภัยพบิ ัติในทุก
รูปแบบ เป็นชีวิตท่ีเลือกได้ กับการอยู่ให้รอดบนความพึ่งพาตนเองก่อน เป้าหมายในพื้นที่ หนึ่งงาน มี
หลากหลายชนิดท่ีหย่อนเมล็ดพนั ธุ์หรือต้นกล้าลงไป หนึ่งในน้ันคือ การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ หลังจากวาง
ไมค์ในบทบาทการเป็นนักทรัพยากรบุคคลลงช่ัวคราว หันมาศึกษาการปลูกมะนาวใน 3 รูปแบบ คือ
1) ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ทม่ี ีฝาปิดใต้ฐาน 2)ปลูกมะนาวในทอ่ ซีเมนต์โดยปล่อยใหร้ ากลงดนิ โดยไม่มีฐานปิด
3) ปลูกมะนาวลงดินล้วน ๆ เพื่อหาความแตกต่างของผลผลิตว่าแบบไหนได้รับผลมากกว่า เป็นการวิจัยไป
พรอ้ ม ๆ กัน แนวคิดนไี้ ดท้ าการศึกษาจากตารา และจากปราชญ์เกษตรกรผู้ท่ปี ลกู มะนาวหลายท่าน ก็ทาการ
ปลกู ไปพรอ้ มกันท้ัง 3 แบบ วันนี้ขอถอดองคค์ วามร้ทู ไ่ี ดท้ ดลองมา คือ การปลกู มะนาวในท่อซเี มนต์โดยมีฐาน
ปิด เพื่อบังคับราก แนวคิดน้ีเกิดข้ึนได้อยา่ งไร จากการศึกษาการปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์โดยบังคับรากใหอ้ ยู่
ในวงจากดั เหตุการณท์ ี่เกิดขน้ึ กบั เกษตรกรซ้าแล้วซา้ เล่าเร่อื งของผลผลิตมะนาวตกตา่ ยามที่มะนาวมีราคาแต่
ผลผลิตไม่มีขาย วนเวียนอยู่แบบนี้นับสิบ ๆ ปี เลยมีแนวคิดท่ีคิดค้นนวัตกรรมการปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
โดยวิธกี ารบังคับให้มะนาวออกลกู นอกฤดูกาล ถอื เปน็ แนวทางเลือกหนึง่ ของเกษตรกร ง่ายต่อการจดั การง่าย
ต่อการรดน้าเพื่อบังคับให้ออกผลนอกฤดูหรือตลอดท้ังปี ง่ายต่อการดูแลรักษา และป้องกันโรคบางชนิดจาก
สภาพดนิ ทีไ่ ม่เหมาะสม

5. รูปแบบ กระบวนการ หรือลาดบั ขน้ั ตอน

1. การเตรยี มดนิ ไว้ในวงบอ่ ใชด้ ินรว่ นปนทราย ชเี้ ถ้าแกลบดา กาบมะพร้าว ขีว้ ัว ใบไม้ ฝางขา้ ว สาร
เร่งย่อยสลาย (จุลินทรีย์) ในอัตราสว่ น 2:1 หรือ 3:1

2. คัดเลือกกง่ิ พันธุ์มะนาว ทีน่ ิยมปลูก เชน่ แปน้ พจิ ติ ร แปน้ ราไพ

3.จดั วางบ่อซเี มนต์ในระยะหา่ งแถว และระยะตน้ 2-4X2-4 เมตร

4. นาดินทผี่ สมแลว้ ใส่ลงในบ่อซีเมนต์ให้ระดบั ดินตา่ กว่าบอ่ ประมาณ 10 เซนตเิ มตร ใสด่ ิน 2 ใน 3
ของบ่อ แลว้ นาต้นมะนาวลงบอ่ ใสด่ ินกลบทีหลัง หลงั จากนน้ั กลบหนา้ ดินให้แน่นพอประมาณ พร้อมนาวสั ดุ
อินทรียโดรบกลบปากบอ่ เชน่ แกลบดา ข้เี ถ้า ขยุ มะพรา้ ว เศษใบไม้ ปุ๋ยหมักจุลนิ ทรีย์ ใหห้ ลีกเลย่ี งการใสข่ ีเ้ ถ้า

เนอ่ื งจากขี้เถ้ามีสารอนิ ทรีย์ทเ่ี ป็นแร่มาก เมื่อละลายนา้ จะเปน็ กรด อาจทาให้รากมะนาว และต้นเห่ียวตาย
หรอื ดนิ มสี ะภาพเปน็ กรด

5. ถ้าเปน็ ก่งิ พนั ธ์ขุ นาดเล็กให้ใช้ไมไ้ ผ่ปักขา้ งลาต้นพร้อมผกู เชือกให้ลาตน้ ตรงจนกวา่ ลาต้นแขง็ แรง
เมอื่ ตน้ ขนาดใหญใ่ หม้ ีกนิ สาขาแผก่ วา้ งออกไปให้ใชไ้ ม้ไผป่ ักค้ายันทั้ง 4 ด้าน

6. เมื่อปลูกเสรจ็ ใหร้ ดนา้ ใหช้ มุ่ นาฟางขา้ ว แกลบหรือเศษไมม้ ากลบบรเิ วณโคนตน้ เพื่อเลีย้ งดนิ ให้ชุ่ม
ชื่นเพ่ือให้ดนิ เลย้ี งลาตน้ การให้น้า ให้วนั เวน้ หนง่ึ วันก็ได้ ขึ้นอยกู่ ับสภาพหน้าดนิ และสภาพอากาศ

7. การใสป่ ุย๋ สูตรมะนาวท่ีหมักไว้ เป็นสูตรมะนาวโดยเฉพาะ โดยใสใ่ นช่วงบงั คบั การออกดอกหรอื
ระยะการออกดอกติดผลเท่านัน้ ส่วนปุ๋ยคอกให้ใส่ 1 ถงั ทกุ ๆ 3 เดอื น

สตู รปุย๋ หมกั ชวี ภาพ
- สว่ นผสม

1. หนอ่ กลว้ ย เอาพรอ้ มราก เงา้ ของหนอ่ กลว้ ย สูงไม่เกิน 1 เมตร 3 กโิ ลกรัม
2. กากนา้ าตาล 1 กิโลกรมั
- วธิ ีทา
1. น้าหน่อกล้วยทีไ่ ดม้ าหนั่ เป็นแวน่ บางๆ ต้าหรือบดให้ละเอียด จา้ นวน 3 กโิ ลกรมั
2.น้ามาคลุกกับกาก้น้าตาลจา้ นวน1กโิ ลกรัมคลกุ เคล้าให้เขา้ กนั น้าใส่ถาดหมักไว้ 7วนั คนทุกวัน
3. เชา้ - เยน็ พอถึง 7 วัน น้ามาคัน้ เอาแต้่น้ามาใช้ ใสถ่ ังปดิ ฝาให้สนทิ -เก็บได้นาน
- วธิ ีใช้
ใช้ 2 ชอ้ นโตะ๊ ผสม้น้า 20 ลิตร อาทติ ยล์ ะคร้งั
- ประโยชน์
ใช้ปรับปรังดนิ ปอ้ งกันกาจดั ศตั รูพชื , ใช้ในการขยายจุลนิ ทรียต์ ่าง ๆ

8. การตัดแต่งก่ิง ควรตัดแต่งก่ิงให้มีทรงพุ่มเสมอกันในทุกด้าน หรือตัดกิ่งท่ีเป็นโรคหรือไม่
เจริญเติบโตทิง้ เสยี

9. การออกดอก เดด็ ดอกท้ิงจนกว่าตน้ จะมอี ายุ 6-8 เดือน จนมลี าตน้ และจานวนกง่ิ จนกวา่ จะมคี วาม
พรอ้ มในการออกดอก และตดิ ผลมะนาว เพราะการปลกู มะนาวในวงบอ่ ซีเมนต์จะใช้กิง่ พนั ธุ์ทีไ่ ด้จาการตอนก่ิง
หรือการติดตา คุณลักษณะคือ จะติดดอกต่อเน่ืองหลังจากการปลูกไม่ก่ีเดือน ถ้าต้นยังเล็กไม่ควรให้ติดผลใน
ระยะน้ี

การบังคบั ใหม้ ะนาวออกลูกนอกฤดู โดยปกตมิ ะนาวจะติดดอกในช่วงเดือน มีนาคม-เมษายน จะเก็บ
ผลผลิตในช่วงเดือนพฤษภาคม จนถึงเดือนตุลาคม ระยะเดือนน้ีมะนาวจะมีราคาถูก จะแพงมากในช่วงฤดู
พฤศจกิ ายน – เมษายน จะขายไดใ้ นราคาสูงขน้ึ มากหลงั จากปลูกในทอ่ ซีเมนตแ์ ลว้ 8 เดอื นขึ้นไป ใหเ้ ลือกก่ิง
แก่หรือก่ิงท่ีมีใบแก่แล้ว และทาการตัดแต่งกิง่ งดการให้นา้ มะนาวเป็นเวลา 7-10 วัน จนใบเห่ียวหรอื เริ่มรว่ ง
หากในช่วงดังกล่าวมีแนวโนม้ ฝนจะตกให้ใช้ผ้าใบพลาสติกคลุมรอบปากท่อทั้งหมด หลังจากงดให้น้าประมาณ
7-10 วนั จะสังเกตใบจะเหี่ยวหรอื มใี บร่วงไม่ต้องตกใจ

6. เทคนคิ ในการปฏบิ ตั งิ าน

6.1 เคล็ดลับการปลูกมะนาวให้ลูกดกและอายุยืน คือการคัดเลือกก่ิงพันธม์ุ ะนาวที่ใช้ปลูกในกระถาง
หากตอ้ งการย่นระยะเวลาการเก็บผลใหเ้ ร็วขึ้นควรใช้กง่ิ พันธขุ์ นาดใหญ่ที่มกี ารอนุบาลนาน 8 เดือนถงึ 1 ปี ก่งิ
พนั ธ์ทุ เี่ ลอื กควรเป็นกงิ่ พนั ธทุ์ ส่ี มบูรณ์ ไมม่ โี รค กิ่ง และใบดก

6.2 การผสมวัสดุปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์ควรมีการผสมระหว่างดินกับวัสดุทางการเกษตร เช่น ปุ๋ย
คอก และมูลสตั ว์ ตา่ ง ๆ ปยุ๋ หมกั แกลบ ขเี้ ถา้ ขเ้ี ล่อื ย เปน็ การเพิ่มอินทรยี วัตถใุ นดิน

6.3 การคลมุ หนา้ ดนิ ใช้ฟาง เศษใบไม้เปน็ การชว่ ยให้ความชืน้ ของดินในบ่อซีเมนตไ์ ม่สูญเสียง่าย สว่ น
การปล่อยไสเ้ ดือนถือเป็นการเพม่ิ อตั ราการยอ่ ยสลายอินทรียวัตถุในดนิ

6.4 การให้น้า ให้ปุ๋ย นิยมให้โดยระบบน้าหยดความถี่ 1-2 ครั้ง/วัน มีปริมาณที่หน้าดินในระยะ 5-
15 เซนตเิ มตร แนะนาใหใ้ ชป้ ุ๋ยคอกเปน็ หลัก ส่วนปยุ๋ เคมใี หใ้ นระยะการเร่งดอกออกผลนอกฤดเู ท่าน้ัน

เทคนิคในการปฏิบัติงาน การปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์ส่วนใหญ่จะใช้วัสดุปลูกในวงซีเมนต์เพียง
เสมอวงบ่อเท่าน้ันเมื่อรดน้าไปได้เพียงสัปดาห์เดียววัสดุปลูกจะยุบตัวลงประมาณ 1 คืบมือ ถ้าเกษตรกรเติม
วัสดุปลูกลงไปจะไปกลบน้าต้นมะนาว ปัญหาเร่ืองโรคโคนเน่าจะตามมา ดังนั้นในการใช้วัสดุปลูกลงในวงบ่อ
ซีเมนต์จะต้องใส่ให้พูนเป็นภูเขา ต้องเน้นเป็นพิเศษขณะที่ใส่วสั ดุปลูกลงไปนั้น คือ จะต้องขึ้นเหยียบวัสดุปลูก
ขอบ ๆ วงบ่อ บริเวณตรงกลางไม่ต้องเหยียบ การใส่วัสดุปลูกจะช่วยในเรื่องดินยุบลงมาเสมอวงบ่อได้นานถงึ
1 ปี

7. ปัญหาทพี่ บและแนวทางการแก้ไขปญั หา

7.1 การปลูกมะนาวมักจะมีดอกและลูกดกมาก ในขณะท่ตี ้นยังเลก็ ถา้ ดอกมากทาให้ลูกไม่โต ต้อง
แก้ไขด้วยวิธกี ารเดด็ ทง้ิ ไม่ตอ้ งเสยี ดาย

7.2 การเกิดโรคระบาดหรอื ทเี่ รียกวา่ แฮงเกอ้ ให้ตัดกง่ิ หรือเผาทันที อยา่ งทง้ิ ก่งิ ท่ีตัดทงิ้ ใต้โคนตน้
เพราะจะทาใหโ้ รคระบาดไปตดิ ลาตน้ ลามไปที่กิง่ ใหม่อกี

7.3 กรรไกรการตัดแต่งกง่ิ ควรมีการทาความสะอาดฆา่ เชอื้ ทกุ ครั้ง

8. ประโยชน์ขององคค์ วามรู้

8.1 วิธีการคัดเลือกก่ิงพันธุ์ ตอ้ งเป็นกิง่ พนั ธท์ุ ีส่ มบรู ณ์ วสั ดุปลกู ดตี อ้ งมีส่วนผสมให้ได้สดั สว่ น
8.2 วิธีการใหน้ ้าใส่ปยุ๋ อยา่ งถกู ต้อง
8.3 การควบคุมแมลงศตั รพู ืช
8.4 การตดั แต่งกิ่งและทรงพุม่
8.5 วิธีการบังคบั ใหม้ ะนาวออกลูกนอกฤดกู าล





นำ้ ยำประหยัดดว้ ยสองมือ

1.ชอ่ื องคค์ วำมรู้ น้ำยำประหยดั ด้วยสองมอื
2.ช่อื เจำ้ ของควำมรู้ นำงสำววดี เพ็ชระ
3.องคค์ วำมรู้ท่ีบ่งชี หมวดท่ี 4 เสรมิ สร้ำงองคก์ รใหม้ ขี ีดสมรรถนะสงู
4.ทีม่ ำและควำมสำ้ คัญในกำรจัดท้ำองคค์ วำมรู้

ปัจจุบันน้ำยำท้ำควำมสะอำดบ้ำนได้มีพัฒนำ และปรับสูตรขึนเรื่อย ๆ โดยเฉพำะ "น้ำยำท้ำควำม
สะอำด" ที่มีสูตรต่ำง ๆ ใหเ้ ลือกมำกมำย ทงั แบบไร้สำรเคมี หรือไม่เป็นอันตรำยตอ่ เดก็ เล็ก เป็นตน้ แตบ่ ำงครัง
ก็มีรำคำที่ค่อนข้ำงแพง และคงจะดีไม่น้อยหำกเรำสำมำรถท้ำเองท่ีบ้ำนได้ เพื่อช่วยประหยัดรำคำ แถมยัง
สะอำดปลอดภัยอีกด้วย วันนี เลยมีวิธีท้ำ น้ำยำอเนกประสงค์มำฝำก ซ่ึงบอกเลยว่ำมีขันตอนกำรท้ำท่ีไม่
ซับซ้อนวุ่นวำยเกินไป และใช้อุปกรณ์เพียงไม่ก่ีอย่ำงเท่ำนัน รับรองว่ำจะช่วยประหยัดได้มำกขึน น้ำยำ
อเนกประสงค์ เช่น น้ำยำซักผำ้ นำ้ ยำปรับผ้ำน่มุ น้ำยำลำ้ งจำน ฯลฯ
5.รูปแบบ กระบวนกำร หรือลำ้ ดบั ขนั ตอน

สูตรและวธิ ีกำรท้ำ
• Texopon N70 1 กิโลกรมั (สำรที่ช่วยใหเ้ กิดฟอง)
• F24 1 กโิ ลกรมั
• เกลอื ปน่ 1 กโิ ลกรัม
• น้ำเปล่ำ 10 ลิตร
• หวั นำ้ หอม 20 ซีซี
• ถงั นำ้ พลำสติก ขนำด 30 ลิตร
• ไมพ้ ำยถ้ำหำไมไ่ ดใ้ ห้ใช้ไม้หรือทัพพอี ะไรกไ็ ด้

ขันตอนกำรทำ้ น้ำยำซักผ้ำและส่วนผสม
• เตรยี มอปุ กรณใ์ หค้ รบตำมรำยกำรข้ำงต้น
• เท Texopon N70 จ้ำนวน 1 กโิ ลกรมั ลงในถังดงั กล่ำว จำกนันคอ่ ยๆ คนไปในทำงเดียวกนั จนสี
ขำวใสของ Texopon N70 เปน็ สีขำวข่นุ
• เทเกลอื ผสมกับ น้ำ 10 กิโลกรัม

• เท F24 จำ้ นวน 1 กโิ ลกรมั ผสมกบั น้ำเกลือที่เตรยี มไว้ 10 กโิ ลกรัม และคนให้ละลำย
• เทกรดน้ำมะนำว จ้ำนวน 1 กโิ ลกรมั และคนใหเ้ ข้ำกนั หลังจำกนนั เติมหัวนำ้ หอมลงไปตำม

สัดสว่ น
• บรรจใุ สขวดสะอำดทเ่ี ตรียมไว้

ข้อดี ก็คือคอ่ นข้ำงจะเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดำ้ เนินกำรมำแลว้ 3 ครงั ปริมำณกำรทำ้ แต่ละครัง
จ้ำนวน 16 ลิตร บรรจุขวดจ้ำนวน 10 ขวด น้ำยำซักผ้ำรวมรำคำต้นทุนกำรท้ำน้ำยำซักผ้ำ 349 บำท
ปริมำณท่ีท้ำได้ทังหมด 16 ลิตรคิดเป็นลิตรละ 21.81 บำท รำคำท่ีจ้ำหน่ำยในท้องตลำดเฉลี่ยอย่ทู ่ีลิตร

ละ 100 บำท จะประหยัดได้ลิตรละ 78.19 บำท เพ่ือให้พนักงำนและข้ำรำชกำรน้ำไปให้เบืองต้นกอ่ น
คนละ 1 ขวด นอกจำกนี ตน้ ทุนกำรผลิตก็ถอื วำ่ ต่้ำมำก สำมำรถทำ้ ใช้ไดเ้ องอยำ่ งงำ่ ยๆ ทส่ี ำ้ คัญประหยดั และ

เปน็ กำรลดต้นทุนคำ่ ใชจ้ ำ่ ยภำยในครัวเรือนได้อกี ดว้ ยน้ำยำซักผำ้

6.เทคนิคในกำรปฏิบตั งิ ำน
- น้ำเปล่ำที่เตรยี มไวจ้ ะตอ้ งเป็นน้ำเปล่ำทป่ี รำศจำกกลนิ่ คลอลีน ถำ้ เป็นน้ำประปำควรตังผึ่งอำกำศไว้

ให้คลอรนี ระเหยออกไปก่อนอย่ำงน้อย 1 วนั เพรำะคลอรนี เปน็ น้ำยำฆำ่ เชอื อำจจะมีผลตอ่ ตวั น้ำยำได้
- กำรละลำยนำ้ เกลอื กอ่ นจะท้ำใหง้ ่ำยกับกำรกวนนำ้ ยำ
- เกลอื ควรเป็นเกลือแกง หำ้ มใช้เกลอื ไอโอดนิ เพรำะจะทำ้ ใหส้ ว่ นผสมไม่หนดื

7.ปัญหำทพ่ี บและแนวทำงกำรแก้ไขปญั หำ
- กำรกวนน้ำยำจะตอ้ งกวนไปในทศิ ทำงเดยี วกันเท่ำนนั มเิ ช่นนันจะท้ำให้ส่วนผสมตำ่ ง ๆ ไมเ่ ข้ำกัน

และจับตัวเป็นก้อน จึงตอ้ งมกี ำรกวนไปในทำงเดยี วกันและกวนให้สมำ่้ เสมอ ไม่เร็วหรือช้ำจนเกนิ ไป
- กำรผสมสดั สว่ นจะตอ้ งไม่ข้ำมขันตอนหรือท้ำวิธกี ำรลัดขันตอนเดด็ ขำด เพรำะจะทำ้ ใหน้ ้ำยำไมต่ รง

สตู รแลหนืดและส่วนผสมทก่ี วนไม่แตกตัวเข้ำกัน

8.ประโยชน์ขององค์ควำมรู้
- สำมำรถลดรำยจ่ำยในครวั เรอื นได้
- สำมำรถเปน็ แนวทำงในกำรดำ้ เนินชีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพียงได้
- เพือ่ เพิ่มทศั นะในกำรเรยี นร้วู ธิ กี ำรท้ำน้ำยำอเนกประสงคไ์ ว้ใช้ในครัวเรือน เชน่ นำ้ ยำซกั ผำ้ นำ้ ยำ

ปรบั ผำ้ น่มุ นำ้ ยำล้ำงจำน ฯลฯ

ยง่ิ แยก ยงิ่ ได้ กลายเปน็ ของมคี ่า

1. ช่อื องคค์ วามรู้ ทำไง ให้ขยะมีคำ่

2. ชือ่ เจา้ ของความรู้ นำงสำวภรี ดำ ศิลปชัย

3. องคค์ วามรู้ท่ีบ่งชี้ เสรมิ สร้ำงองคก์ รให้มีขดี สมรรถนะสงู

4. ท่มี าและความสาคัญในการจัดทาองค์ความรู้

ปัจจบุ ันปัญหำขยะมูลฝอยเป็นปัญหำท่ีทกุ คนต้องให้ควำมสำคัญและใหค้ วำมร่วมมือในกำรแก้ปัญหำ
อย่ำงเต็มควำมสำมำรถ เน่ืองจำกปัญหำน้ีเป็นปัญหำท่ีทวีควำมรุนแรงขึ้นทุกวัน ซ่ึงเป็นผลมำจำกกำร
เจริญเติบโตทำงเศรษฐกจิ กำรขยำยตัวของสังคมเมือง จำนวนประชำกรท่เี พิม่ ขึน้ พฤตกิ รรมกำรอุปโภคบริโภค

ที่เปล่ียนไป ทำให้จำนวนขยะพลำสติก กล่องโฟม กระดำษโลหะ ฯลฯ ซ่ึงเป็นสำเหตุให้เกิดมลพิษ
ทำงสิง่ แวดล้อมรุนแรงมำกขนึ้ ประกอบกบั ประชำชนบำงส่วนยังขำดควำมรู้ในกำรคัดแยกขยะ ซึ่งกำรคดั แยก

แยกขยะ น้ันมีประโยชน์อย่ำงย่ิง เช่น ช่วยลดปริมำณขยะลง เพรำะเมื่อแยกวัสดุส่วนที่ยังมีประโยชน์
เชน่ แก้ว กระดำษ พลำสติก แก้ว โลหะ ฯลฯ จะเหลือปริมำณขยะที่นำไปกำจัดน้อยลง สำมำรถช่วยประหยัด
งบประมำณที่ใช้ในกำรกำจัดขยะ เมื่อขยะที่ต้องกำจัดลดลง เช่น กทม. ต้องเก็บขยะวันละเกือบ 9,000 ตัน

ใช้งบประมำณถึง 2,000 ล้ำนบำทต่อปี ใช้เจ้ำหน้ำที่กว่ำ 10,000 คน ใช้รถเก็บขยะกว่ำ 2,000 คัน
เรือเก็บขนขยะหลำยสิบลำ ถังขยะนับหมื่นใบ ต้องจ้ำงฝังกลบขยะตันละกว่ำ 100 บำท และต้องจ่ำยเป็น

เงินเดอื นเจ้ำหน้ำทอี่ ีกมหำศำลเมื่อใช้งบประมำณน้อยลง สำมำรถนำไปพัฒนำดำ้ นอน่ื เพื่อคุณภำพชีวิตที่ดีขึ้น
ได้ และช่วยลดกำรสิ้นเปลืองพลังงำนและทรัพยำกร ด้วยกำรนำวัสดุประเภท แก้ว กระดำษ โลหะ พลำสติก
ฯลฯ ไป Recycle หมุนเวยี นใชใ้ หม่ ซึง่ บำงอยำ่ งสำมำรถขำยไดช้ ว่ ยเพิ่มรำยได้อกี ด้วย

ศนู ย์ศึกษำและพัฒนำชุมชนนครนำยก เป็นอีกสถำนที่ท่ีมีขยะหลำกหลำยประเภท เนื่องจำก ศูนย์ฯ
มีหน้ำที่รับผิดชอบงำนบริกำรให้คำปรึกษำด้ำนกำรพัฒนำชุมชน งำนฝึกอบรม และบริหำรงำนฝึกอบรม

ทำให้มีจำนวนผู้มำใช้บริกำรเป็นจำนวนมำก ท้ังนี้ก็มีข้ำรำชกำรและเจ้ำที่ ท่ีอยู่บ้ำนพักสวัสดิกำรข้ำรำชกำร
ส่งผลให้เกิดขยะในทุกวัน ดังนั้น กำรบริหำรจัดกำรขยะจึงเป็นเร่ืองสำคัญและต้องทำอย่ำงเร่งด่วน
โดยเร่ิมต้นจำกสังคมเล็ก ๆ ในท่ีทำงำน ปลูกจิตสำนึกให้ทุกคนเล็งเห็นควำมสำคัญของกำรลดขยะ

รักษำส่ิงแวดล้อม และนำขยะมำใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด จึงจัดทำโครงกำรธนำคำรไข่ข้ึน ซึ่งมีแนวคิด
คือ “เปล่ียนขยะเปน็ ไข่ ใส่ใจส่ิงแวดลอ้ ม” เปน็ กำรบรหิ ำรจดั กำรขยะ โดยเรม่ิ จำกกำรปลกู จติ สำนกึ ระดับ

ปัจเจกบุคคล และขยำยผลไปสู่กำรเผยแพร่โครงกำรธนำคำรไข่ เป็นอกี หน่งึ แนวทำงเลอื กในกำรจดั กำรขยะได้
อยำ่ งง่ำยและเหน็ ผลอย่ำงเป็นรูปธรรม
5. รูปแบบ กระบวนกำร หรอื ลำดบั ขั้นตอน

1. นำขยะรีไซเคิล (ขยะประเภทขวดแก้ว, ขวดพลำสติกใส, กระป๋องอลูมิเนียม, กระดำษขำว และ
กระดำษลัง ) ไปขำยทรี่ ้ำนรบั ซอื้ ของเก่ำ เพ่ือนำเงินท่ไี ดม้ ำเป็นเงินทนุ สำหรบั ซื้อไขใ่ นกำรดำเนินโครงกำรฯ

2. กำหนดอตั รำกำรแลกเปลีย่ นขยะกับไข่
3. กำหนดวนั ดำเนนิ กิจกรรมโครงกำรฯ และประชำสัมพนั ธใ์ ห้กบั บคุ ลำกรศูนย์ฯ ทรำบโดยท่ัวกัน
4. ดำเนนิ กจิ กรรมโครงกำรฯ ถำ่ ยภำพและจัดเกบ็ ขอ้ มูลไว้เปน็ องค์ควำมรู้ของโครงกำรฯ

5. เมื่อจัดกิจกรรมในคร้ังแล้วเสร็จ รวบรวมขยะที่บุคลำกรนำมำแลกไข่ ไปขำยเพื่อเป็นทุนสำหรับ
จดั กจิ กรรมครัง้ ต่อไป

6. เทคนิคในกำรปฏิบตั งิ ำน

เทคนิคในกำรดำกจิ กรรมโครงกำรฯ
1. หำข้อมูลก่อนกำรดำเนินกิจกรรม โดยสืบค้นจำกที่ต่ำง ๆ ถึงวิธีที่สำมำรถจูงใจให้บุคลำกร
เกิดควำมรู้สึกอยำกคัดแยกขยะ ถ้ำนำมำแลกเป็นเงินอำจจะได้เงินเพียงเล็กน้อย แต่ถ้ำนำมำแลกเป็นสิ่งของ

อำจจะไดม้ ูลค่ำท่มี ำกกว่ำเมอื่ เปรียบเทยี บกบั เงนิ ซึ่งไข่ก็ถือเปน็ วัตถุดิบท่สี ำมำรถนำไปประกอบอำหำรได้ และ
หำได้ง่ำย จงึ คดิ วำ่ ควรจะเป็นกำรนำขยะมำแลกไข่

2. เม่ือเร่ิมดำเนินโครงกำร ได้จัดเก็บข้อมูล และเปรียบเทียบผลกำรจัดกิจกรรมในแต่ละคร้ัง
เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ เช่น กำรพัฒนำกำรจัดกิจกรรมคร้ังต่อไปให้มีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น และ
สำมำรถนำองคค์ วำมรู้นัน้ ไปเผยแพรใ่ นระดับชุมชนตอ่ ไปได้

7. ปัญหำท่พี บและแนวทำงกำรแกไ้ ขปัญหำ
7.1 ปญั หำทีพ่ บในกำรดำเนินกจิ กรรมโครงกำรฯ

7.1.1 กำรจัดหำไข่ในช่วยสถำนกำรณ์ Covid – 19 นั้น จัดหำได้ยำกเน่ืองจำกกำรจำกัด
จำนวนในกำรจำหน่ำยไข่จำกผปู้ ระกอบกำร

7.1.2 จำนวนขยะท่ีนำมำแลกไข่มีจำนวนมำก แต่เม่ือนำไปขำยที่ร้ำนรับซ้ือของเก่ำแล้วได้

เงินมำไม่เพยี งพอตอ่ กำรจัดซ้อื ไขส่ ำหรับกำรจดั กจิ กรรมคร้ังตอ่ ไป
7.1.3 ในวันจัดกิจกรรมเมื่อนำขยะมำแลกไข่ พร้อมกำรนับจำนวนขยะไปด้วย ทำให้ใช้เวลำ

ในกำรดำเนนิ กิจกรรมคอ่ นข้ำงมำก
7.2 แนวทำงกำรแก้ไขปญั หำ
7.2.1 จัดหำไข่จำกหลำกหลำยแห่ง และเพ่ิมจำนวนคนจัดหำไข่มำเพ่ิมเนื่องจำกปัญหำกำร

จำกดั จำนวนจำหนำ่ ย/คน/แพง
7.2.2 ปรบั ลดอัตรำกำรแลกเปลีย่ นลงเล็กนอ้ ย และตดิ ตำมผลในกำรจดั กิจกรรมครั้งต่อไป

7.2.3 จัดทำแบบฟอร์มเพื่อให้บุคลำกรนำไปกรอก และนับจำนวนขยะของตนมำก่อนกำร
จดั กจิ กรรมเพอ่ื ลดเวลำกำรจดั กจิ กรรมลง
8. ประโยชนข์ ององค์ควำมรู้

8.1 ทำใหบ้ ุคลำกรได้ทรำบวธิ กี ำรคดั แยกขยะรีไซเคิลแต่ละประเภทอย่ำงถูกต้อง
8.2 กำรทำกจิ กรรมรว่ มกนั ถือเป็นกำรเชอ่ื มควำมสัมพันธอ์ ันดใี นองค์กรวธิ หี นึง่

8.3 สำมำรถลดค่ำใชจ้ ่ำยในชวี ติ ประจำวนั ได้
8.4 ปัญหำและอุปสรรคจำกกำรจัดกิจกรรมโครงกำรฯ ทำให้เกิดองค์ควำมรู้ใหม่ สำมำรถนำไป
พฒั นำองคก์ รไดใ้ นอนำคต

8.5 ช่วยลดปญั หำส่ิงแวดล้อมจำกขยะมลพษิ ได้เป็นอยำ่ งดี

เสวยี นไมไ้ ผ.่ ..เอาใบไมไ้ ปทาปุ๋ย

1. ชื่อองคค์ วามรู้ เสวียนไมไ้ ผ่...เอาใบไม้ไปทาปุ๋ย

2. ชอื่ เจา้ ของความรู้ นายอัฐ โรจนกลุ

3. องค์ความรู้ทีบ่ ่งชี้ หมวดที่ 4 เสรมิ สร้างองคก์ รให้มีขีดสมรรถนะสงู
4. ท่มี าและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้

เน่ืองจากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก เป็นพื้นท่ีที่มีต้นไม้จานวนมากทั่วท้ังศูนย์ โดยต้นไม้
ดังกล่าวส่วนมากเป็นไม้ขนาดใหญ่ซ่ึงผลัดใบจานวนมาก โดยใบไม้จานวนมหาศาลทั่วท้ังศูนย์น้ีส่ งผลต่อ
ภาพลักษณ์ความสะอาดและสุขอนามัยภายในศูนย์ท้ังแมลงและสัตวเ์ ล้ือยคลาน จึงได้มองเห็นว่าควรมีวิธีการ
จดั การใบไมด้ ังกล่าว ให้เปน็ สดั ส่วนและยงั สามารถนามาต่อยอดให้เป็นประโยชน์ต่อไปได้ โดยวิธที ่ีเคยใช้ในการ
จดั การใบไม้แห้งคือการเผา แต่การเผาใบไม้ถงึ จะให้ผลลัพธ์ในการกาจัดปริมาณใบไมไ้ ด้เป็นท่ีน่าพอใจ แต่กส็ ง
ผลกระทบท่ีร้ายแรงต่อสภาพอากาศโดยรอบ จึงได้หาวิธีการใหม่ในการจัดการโดยได้เลือกใช้วิธีภูมิปัญญา
ชาวบ้าน ซ่ึงก็คือ “เสวียนไม้ไผ่” เป็นการใช้วัสดุท่ีมีในท้องถ่ิน ให้กลับมาเป็นประโยชน์ต่อปัญหาท่ีเกิดใน
ทอ้ งถน่ิ เอง เป็นวธิ ที ีง่ ่ายสามารถเรียนรไู้ ด้โดยไม่จาเป็นต้องผ่านกระบวนการที่ซบั ซ้อน สามารถจัดเก็บใบไม้ได้
อย่างมีประสิทธภิ าพ จาลองการทับถมของใบไม้ใหเ้ ก็บการยอ่ ยสลายไดอ้ ยา่ งรวดเร็วเพอ่ื จะแปลงสภาพไปเป็น
ปยุ๋ ธรรมชาติ และยังเปน็ อปุ กรณต์ กแตง่ ส่งเสริมภมู ิทศั น์ โดยรอบให้สวยงาม

เสวียน เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดจากภูมิปัญญาของชาวบ้าน ซึ่งเคยมีการใช้กนั มา ต้ังแต่บรรพบุรุษอาจมี
การขาดหายไปในบางช่วงจนระยะหลังมีปัญหาหมอกควัน เกิดข้ึนมาก ชาวบ้านจึงหันกลับมาใช้ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นท่ีถ่ายทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ การทาเสวียนเป็นการนาเอาไม้ไผ่มาสานรอบโคนต้นไม้เพ่ือใช้เก็บขยะ
ใบไม้ ใหใ้ บไมเ้ ศษไม้ย่อยสลายตามธรรมชาติ ลดฝุ่นละอองจากการเผาใบไมเ้ ศษ

5. รปู แบบ กระบวนการ หรือลาดับขนั้ ตอน

การดาเนินงานใช้วัสดุท่ีมีตามธรรมชาติโดยเลือกใช้ไม้ไผ่เป็นหลัก และอาจจะใช้อุปกรณ์ใน
เชิงอุตสาหกรรมอย่าเชน่ ลวดโลหะเข้ามาชว่ ยเสรมิ ความแข็งแรง

ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน
1.ตัดไม้ไผล่ วกหรอื ไม้ไผซ่ ่าง ความยาวประมาณ 1.00 – 1.20 เมตรเพ่อื ใชเ้ ปน็ เสาหลัก ปกั ลงดิน ตดั
แตง่ สว่ นท่จี ะปักลงดนิ ใหแ้ หลมหรือเป็นลิม่ เพ่ืองา่ ยตอ่ การตอกลงดนิ
2. ตอกเสาหลกั ลงดิน ใหเ้ หลือส่วนที่พน้ ดิน ประมาณ 60 – 100 เซนตเิ มตร (ตามแตข่ นาดความสูง
ท่ตี อ้ งการ) ระยะห่างระหว่างหลัก ประมาณ 30 - 50 เซนติเมตร กรณตี ้นไมใ้ หญ่จะใชป้ ระมาณ 13-15 หลกั
3. ผ่าไม้ไผ่ซางให้เป็นเส้นยาวแล้วนา มาสานขัดไปมารอบเสาหลักที่ตอกไว้รอบโคนต้นไม้ อาจจะใช้
ลวดโลหะในการมัดช่วยเพือ่ เสริมความแข็งแรงของเสวยี น

6. เทคนิคในการปฏบิ ัตงิ าน

การทาเสวียนดังกล่าวเป็นวิธีการทาที่ไม่ซับซ้อนแต่ก็มีวิธีการและเทคนิคที่อาจช่วยให้ผู้ดาเนินการ
สามารถทาได้รวดเร็วและประสบปญั หาได้นอ้ ยทส่ี ุด ดังน้ี

6.1 การเลือกพันธ์ุไผ่ที่นามาใช้อาจจะเป็นไผ่ลวกหรือไผ่ซ่าง ที่สาคัญควรเป็นไผ่สด เพราะมีความ
เหนียวของเนือ้ ไม้สามารถนามาดัดงอไดง้ า่ ย ไม้หกั แตกเมื่อนามาสาน

6.2 การปักหลัก เพ่ือเป็นแกนในการสานเสวียน จานวนไม้หลักอาจจะเยอะหรือน้อยตามแต่ขนาด
เสวียนท่ีต้องการสาน แต่ส่ิงทค่ี วรคานึงถึงคอื จานวนหลักท่ปี กั ควรจบท่ีเลขคู่ เพ่ือใหก้ ารสานจบและครบรอบใน
การขัดไม้ไผ่ เสวยี นจะแข็งแรงและสวยงาม

6.3 ในการสานอาจจะใชล้ วดโลหะช่วยในการเสริมความแขง็ แรงของเสวียน โดยเทคนิคทใ่ี ช้คอื การนา
ไม้ไผ่มาต่อกันโดยใช้ลวดโลหะในการต่อให้เป็นเส้นเดียวก่อนการนามาสาน จะช่วยให้การทางานรวดเร็วและ
แขง็ แรงมากขน้ึ

6.4 กรณีจะนาไปใช้กับต้นไม้ต้นเล็กหรือต้นใหญ่ ให้ไปสาเสวียนที่ต้นไม้ได้เลย โดยเฉพาะไมย้ ืนตน้ ท่ี
สามารถนาเศษใบไมท้ ร่ี ว่ งหลน่ เศษพชื ต่าง ๆ ใสท่ ับถมลงไปใหย้ อ่ ยสลายกลายเป็นปุย๋ สร้างความชมุ่ ช้นื

7. ปญั หาท่พี บและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา

ในการทาเสวียนไม้ไผ่ โดยภาพรวมไม่ได้เกิดปัญหาจากการทางานในกระบวนการ แต่เป็นปัญหาจาก
ปัจจัยภายนอกในการเลือกสถานท่ีตั้งของเสวยี นไม้ไผ่ เนื่องจากโดยท่ัวไปเสวียนไม้ไผ่จะนยิ มติดตั้งบริเวณโคน่
ต้นไม้ใหญ่ เพ่ือเป็นการรองรับใบไมจ้ ากต้นนนั้ ส่ิงท่ีพบคอื บรเิ วณใต้ต้นไมบ้ างตน้ จะเตม็ ไปดว้ ยรากไมข้ นาดใหญ่
จานวนมาก และดินบริเวณดังกล่าวจะแข็งซ่ึงส่งผลกระทบต่อการตอกไม้หลัก วิธีแก้ไขที่เลือกใช้คือต้องนาน้า
มารดใหด้ นิ อ่อนตวั ก่อน จงึ เร่ิมขุดเพ่ือสารวจรากไมห้ รอื ตอกไม้หลักลงไป

8. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้

ลดการใช้ปุ๋ย ลดขยะ ลดปัญหามลพิษ ลดปัญหาหมอกควัน สร้างสภาพแวดล้อมท่ีดีให้กับศพช.
นครนายก และยังสามารถปลูกพืชผักสวนครัวเสริมใส่เสวียนได้ ซ่ึงวิธีการทาไม่ยากนกั เพยี งมีไม้ไผ่ ก็สามารถ
สร้างเสวียนไมไ้ ผ่ได้ตามขนาดท่ีต้องการ ยงั สามารถสร้างเสวยี นขายในราคา 200-300 บาท เปน็ รายเสริมได้
ใหก้ ลับชุมชนไดอ้ ีกดว้ ย

“เสยี งกระซบิ จากผนื ดนิ ”

1.ช่ือองคค์ วามรู้ “เสยี งกระซิบจากผนื ดิน”

2.เจา้ ขององคค์ วามรู้ นายชาญณรงค์ จริ ขจรกุล นกั ทรพั ยากรบุคคล

3.องค์ความรู้ท่บี ่งชี้ หมวดท่ี 4 เสริมสรา้ งองค์กรใหม้ ขี ีดสมรรถนะสงู

4.ทมี่ าและความสาคัญในการจัดทาองค์ความรู้

“...การปรับปรุงที่ดินน้นั ตอ้ งอนรุ ักษผ์ วิ ดินซงึ่ มีความสมบรู ณไ์ วไ้ มใ่ ห้ไถหรอื ลอกหนา้ ดนิ ท้งิ ไปสงวนไม้ยนื
ต้นท่ียงั เหลอื อยเู่ พอื่ ท่ีจะรักษาความชมุ่ ชน้ื ของผืนดิน...”

พระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวฯ

เกีย่ วกับการอนรุ ักษด์ นิ

ในช่วยระยะเวลาเกือบ ๓๐ ปีท่ีผ่านมา การเพิ่มผลผลิตและรายได้ของประเทศมาจากการขยายพ้ืนท่ี
ก า ร เพ า ะ ป ลู ก ม า ก ก ว่ า ก า ร เพิ่ ม ผ ล ผ ลิ ต ต่ อ ห น่ ว ย พ้ื น ที่ จ น ถึ ง ข ณ ะ น้ี ป ร ะ ม า ณ ไ ด้ ว่ า พ้ื น ที่ ที่ เห ม า ะ ส ม
ต่อการเกษตรกรรมได้ใช้ไปจนเกือบหมด พื้นท่ีป่าไม้ถูกทาลายเพิ่มมากข้ึนเพราะการใช้ที่ดินกันอย่าง
ขาดความระมดั ระวงั และไมม่ ีการบารงุ รักษาซึง่ ทาให้เกดิ ความเสือ่ มโทรม

ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่มีความสาคัญอยา่ งยิ่งต่อสิ่งมีชวี ิตบนโลกโดยเฉพาะมนุษยไ์ ดใ้ ช้ทรัพยากร
ดนิ เป็นท่อี ย่อู าศัย เป็นแหล่งผลติ อาหาร เคร่อื งนุ่งหม่ และยารักษาโรค เป็นแหลง่ เกบ็ นา้ เพ่ือการอปุ โภคบริโภค
เป็นแหล่งสาหรับการพักผอ่ นหย่อนใจ เราจะใช้ท่ีดินเพื่อสนองความตอ้ งการของตนตลอดเวลา และนับวันจะ
ถูกใช้หนักข้ึนเร่ือยๆ จนทุกวันนี้สภาพความสมดุลของดินในหลายพ้ืนที่ของโลกได้เปล่ียนแปลงไป การใช้ท่ีดิน
ผิดประเภท การทาลายผิวดินในรูปแบบต่างๆ เชน่ การทาไร่เลื่อนลอย การตัดไม้ ทาลายป่า การใช้ปุ๋ยเคมี ล้วน
ส่งผลกระทบต่อสภาวะแวดลอ้ มอนื่ ๆ ในระบบนเิ วศดว้ ย

การทาการเกษตรของเกษตรกรไทยส่วนใหญ่ในปัจจุบันก็เช่นเดียวกันมีการ “ปอกเปลือก
เปลือยดิน” การเผาการใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อส่ิงมีชีวิตเป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม จึงเป็นวิธีการ
ที่ผิดธรรมชาตแิ ละทาลายธรรมชาตซิ ง่ึ จะกอ่ ให้เกิดปญั หาในอนาคต

การเกษตรท่ีไม่ทาลายธรรมชาติไม่ปอกเปลือกเปลือยดิน ไม่เผา ไม่ใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อ
สิง่ มีชีวิต เปน็ พิษกับสิ่งแวดล้อมท่ี และให้ความสาคัญกบั การปรับปรุงบารุงดินเปน็ อันดับแรกและถือเป็นหัวใจ
สาคัญ เพราะถือว่าดินเป็นต้นกาเนิดของชีวิตสังคมไทยในอดีตให้ความสาคัญของดินโดยการห่มดินหรือการ
คลุมดินไม่เปลือยดิน โดยใช้ฟาง เศษหญ้า หรือเศษพืชผลทางการเกษตรที่สามารถย่อยสลายได้เองตาม
ธรรมชาติ และการปรุงอาหารเลี้ยงดินโดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ชวี ภาพลงไปเพื่อให้เป็นอาหารของดิน แล้วดินจะ
ปลดปล่อยธาตุอาหารให้พืช โดยกระบวนการย่อยสลายของจุลนิ ทรยี ์เรียกหลักการนี้วา่ “เล้ียงดนิ ให้ดินเลี้ยง
พืช (feed the soil and letthe soil feed the plant)” การปฏิบัติเช่นน้ีจะทาให้ดินกลับมามีชีวิตพืชท่ี
ปลูกก็จะเจริญเติบโตแข็งแรงให้ผลผลิตดี ต้นทุนในการผลิตลดลง รวมถึงการท่ีผู้ผลิตและผู้บริโภค มีสุขภาพ
กายสขุ ภาพจติ ท่ีดี

จากขอ้ มลู ดังกลา่ วข้างตน้ และกรมการพฒั นาชุมชน มอบหมายให้ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนดาเนิน
โครงการ “ศูนย์การเรียนรู้ศาสตร์พระราชาน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่วิถีชีวิต”กิจกรรมที่ ๓
หลกั สูตร การพฒั นากสกิ รรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง และกจิ กรรมที่ 4 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลกั สูตรการ
ออกแบบเชิงภูมิสังคมไทย เพ่ือการพ่ึงพาตนเองและรองรับภัยพิบัติ ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายเป็นเจ้าหน้าที่
โครงการและเข้าร่วมศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพ่ือนามาประกอบในการเป็นผู้รับผิดชอบดูแลฐานเรียนรู้
“ฅนรักษ์แม่ธรณี” จึงได้เข้าร่วมฝึกอบรม ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้องเป็นระยะเวลา 3 วัน 2 คืน
หลงั จากนั้นไดม้ าดาเนินกิจกรรมตามโครงการดั่งกลา่ วข้างต้น เม่อื หลกั สตู รแล้วได้รว่ มออกแบบพ้นื ทีศ่ นู ย์ศกึ ษา
และพัฒนาชุมชนตาม Landscape ท่ีเหมาะกับภูมิสังคม และปรับปรุงพัฒนาฐานเรียนรู้น้อมนาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ โดยใช้พื้นท่ีประมาณ 3 งาน ในการบริหารจัดการดิน น้า ลม ไฟ คน เพ่ือ
เปน็ แปลงสาธติ ในการ ขุดคลองไส้ไก่ ห่มดิน และปลูกพืชบนคันนาทองคา ร่วมไปถึงการปลูกไม้ 5 ระดบั ตอบ
โจทย์ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ซ่ึงเป็นการเรียนรู้ /การปฏิบัติจริง สามารถเป็นฐานเรียนรู้ให้กับ
เจ้าหน้าท่ีและผู้สนใจได้ อีกท้ังยังเป็นการปรับปรุงพื้นท่ีดินให้กลับมามีความอุดมสมบูรณ์และสามารถใช้
ประโยชนไ์ ด้เต็มพ้นื ที่

5.รูปแบบ กระบวนการ หรอื ลาดบั ขนั้ ตอน

การลงพ้ืนที่ฝึกปฏิบัติ การออกแบบพื้นท่ีศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนตาม Landscape ท่ีเหมาะกับ
ภูมิสังคม โดยในรอบแรกใช้พื้นท่ีประมาณ 1 งาน (ยังไม่ผ่านการเรียนรู้กิจกรรมที่ 4 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
หลักสูตรการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทย เพื่อการพึ่งพาตนเองและรองรับภัยพิบัติ) ได้มีการออกแบบและขุด
คลองไส้ไก่ การทาคันนาทองคา ปลกู พืชรอบคันนาทองคา(สว่ นใหญเ่ ป็นผักสวนครัว)และทาการหม่ ดิน

ในรอบที่สอง หลังจากได้เรียนรู้กระบวนการครบแล้ว ได้การออกแบบพื้นท่ีศูนย์ศึกษาและพัฒนา
ชุมชนตาม Landscape ท่ีเหมาะกับภูมิสังคม โดยต่อจากพื้นท่ีในรอบแรกเนื้อท่ีประมาณ 1 งาน มีการ
ออกแบบโดยผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์การใช้ประโยชน์ในพ้ืนที่อย่างละเอียดมากขึน้ ตลอดจนการคานวณ
การขุดคลองไสไ้ ก่ การทาหลุมขนมครกรองรบั การทาคันนาทองคาและการใชป้ ระโยชน์ของคนั นาทองคา ปลูก
พนั ธุก์ ลว้ ยหายาก ปลูกตน้ ไม้เพือ่ ให้เกิด ไม้ 5 ระดับ ในพ้นื ที่

การห่มดิน คือ เป็นการป้องกันการระเหยของความชื้นท่ีอยู่ในดิน และเป็นที่อาศัยของจุลินทรีย์
ท่ีมีประโยชน์ จุลินทรีย์ชอบอยู่ในที่มืดท่ีมีความชุ่มช้ืน ซ่ึงจะทาให้จุลินทรีย์ทางานและขยายตัวได้อย่าง
มปี ระสทิ ธภิ าพ และจะทาใหด้ นิ มคี วามสมบูรณ์
การห่มดิน เป็นวิธีการป้องกันหญ้าที่ข้ึนในพ้ืนท่ีเราได้ด้วย เพราะหญ้าโดนคลุมไว้ก็ไม่สามารถเจริญเติบโตได้
และเป็นการเพ่ิมอินทรีย์วัตถุให้กับดิน หรือเป็นการปรับ ปรุงดินก่อนการเพาะปลูก ดินท่ีดีสังเกต
จะมีเชื้อราเกิดขึน้ และตอ้ งใช้รว่ มกบั น้าหมกั ชวี ภาพ จะทาใหด้ นิ มคี วามสมบูรณย์ ่งิ ขึ้น เขาจะเรยี กว่า แห้งชาม
น้าชาม ครับ

ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมายถึง สารธรรมชาติที่ได้จากกระบวนการหมักบ่มวัตถุดิบจากธรรมชาติต่างๆ
ทั้งพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และสารธรรมชาติต่างๆ ซึ่งเป็น
ท้ังอาหารของดิน ตัวเร่งการทางานของส่ิงมีชีวิตเล็กๆที่อาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่ปลายรากของพืช
ทส่ี ามารถสรา้ งธาตอุ าหารกว่า๙๓ ชนดิ ให้แกพ่ ชื
ประโยชนข์ องปยุ๋ อินทรยี ์ชวี ภาพ

๑. เป็นอาหารของสง่ิ มีชีวิตในดนิ เช่นแบคทเี รีย เชื้อรา และแอคติโนมยั ซีส

๒. ใหธ้ าตุอาหาร และกระตุ้นให้จลุ นิ ทรยี ์สร้างอาหารกว่า ๙๓ ชนิดแกพ่ ืช
๓. ชว่ ยปรบั ปรุงคณุ สมบัติ และโครงสร้างดินใหด้ ขี ึน้
๔. ช่วยดดู ซับ หรือดดู ยึดธาตอุ าหารไวใ้ ห้แกพ่ ืช
๕. ช่วยปรบั คา่ ความเป็นกรด-ดา่ ง (pH)ของดินให้อยู่ในระดบั ท่ีเหมาะแก่การเจรญิ เตบิ โตของพชื
๖. ช่วยกาจดั และต่อต้านเชอ้ื จุลินทรยี ท์ ก่ี ่อโรคตา่ ง ๆ
๗. ทาให้พืชสามารถสรา้ งพิษได้เอง ช่วยใหต้ ้านทานโรคและแมลงไดด้ ี

6.เทคนคิ ในการปฏบิ ัติงาน

ใน ก า ร ขุ ด ค ล อ ง ไส้ ไก่ น้ั น ก็ จ ะ ขุ ด ให้ ค ด เคี้ ย ว ไป ต า ม พ้ื น ที่ เพื่ อ ให้ เกิ ด ก า ร ก ร ะ จ า ย น้ า เต็ ม พ้ื น ที่
เพ่ือเพิ่มความชุ่มช้ืน ลดพลังงานในการรดน้าต้นไม้ และทาฝายทดน้าสลับกับการทาหลุมขนมครก
เพื่อเก็บน้าเข้าไว้ในพ้ืนท่ีให้มากท่ีสุด เพราะในพื้นท่ีโดยรอบไม่มีการกักเก็บน้า การทาคันนาทองคา
เพอ่ื ใช้ในการปลกู ผักสวนครวั เพ่อื การพงึ่ พาตนเองและรองรบั ภัยพิบัติ

ในการปรับปรุงบารุงดิน “เลี้ยงดิน ให้ดินเลี้ยงพืช (feed the soil and let the soil feed the
plant)” ใช้ฟางห่มดินสูงจากพื้นดินประมาณ 1 ฝามือ(แนวต้ัง) โดยให้ห่มคลุมเต็มพ้ืนที่ ยกเว้นบริเวณโคน
ตน้ ไม้ที่ปลูกให้เว้นห่างจากโคนต้นไม้ 1 คบื จากน้ันให้นาปุ๋ยหมักชีวภาพมาโรยให้ทั่วบริเวณทีห่ ่มฟาง จากนั้น
ใชน้ า้ หมกั ชีวภาพ (รสจดื ) นามารดให้ทว่ั กระบวนการน้เี รยี กวา่ “แหง้ ชาม นา้ ชาม”

ศกึ ษาและเรียนรู้ข้อมูล ดาเนนิ การตามแผน ปลกู พชื ตามคนั นา เกบ็ เก่ยี วผลผลิต
ออกแบบพน้ื ท่ที ี่จะ ขุดคลองไส้ไก่ ทองคา ปลกู พชื ผกั เพิ่มเติม
ดาเนนิ งาน การห่มดนิ
ดูแลระบบนา้ เพือ่ ต่อยอด
ปรบั ปรุงพืน้ ท่ี

7.ปญั หาทพี่ บและแนวทางการแก้ไขปัญหา

หลังจากท่ีได้ทาการ ขุดคลองไส้ไก่ ในรอบแรกแล้วก็พบปญั หาว่า เนอื่ งจากเรายังไมไ่ ด้เรียนรู้กิจกรรม
ท่ี 4 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการออ กแบบเชิงภูมิสังคมไทย ทาให้การคาน วณ และ
การออกแบบพ้ืนที่ไม่ละเอียด การใช้ประโยชน์พื้นที่ และการคานวณการไหลของน้าในคลองไส้ไก่
ทมี่ ีความเร็วเกินไปทาให้มีผลต่อการซมึ ของน้าเข้าสู่พน้ื ดิน(พ้ืนท่ีมคี วามลาดเอียงอยแู่ ล้ว) อีกทั้งการรักษาพ้ืนที่
โดยรอบทมี่ ีต้นไม้อยเู่ ดมิ นน้ั มีเนื้อท่ีให้การเจริญเติบโตน้อยเกินไปในบางจุด ในระหวา่ งที่ได้ดแู ลรับผดิ ชอบฐาน
เรียนรูน้ ี้จึงได้ใช้เวลาช่วงที่ว่างจากภารกิจแล้วปรับปรุงและแก้ไขเป็นระยะ ๆ ต่อเน่ืองเมื่อพบปัญหา ณ จุดใด
น้ัน โดยใช้วิธีการขุดลอกคลองไส้ไก่ปรับระดบั การขุดหลุมขนมครกให้ลึกขึ้นและเพ่ิมฝายชะลอน้าเป็นชว่ ง ๆ
โดยหาวัสดุในพ้ืนที่ เพ่ือให้การซึมของน้าเข้าสู่พื้นดินได้ดีขึ้น ในการดูแลต้นไม้เดิมน้ันช่วงแรกก็สังเกตการ
เจริญเติบโตของต้นไม้หากพบการเจริญเตบิ โตไม่ดีขึ้น อาจจะตอ้ งมีการขดุ ล้อมย้ายเพ่ือนาไปปลูกจุดใหม่ ส่วน
การปลูกผักสวนครัวนั้นได้ปลูกผกั หลากหลายชนิดแต่ปรมิ าณไม่มากและยังได้นกึ ถึงการใช้ประโยชน์เท่าท่ีควร
ไดม้ กี ารปรับปรงุ ปลกู เพม่ิ เตมิ ในส่วนที่เป็นความต้องการมากขนึ้ เช่น พรกิ มะเขือ เป็นต้น

ในรอบที่สอง ของการขุดคลองไส้ไก่นั้น รอบน้ีเราได้ผ่านการเรียนรู้การออกแบบพื้นท่ีแล้ว
มีการคานวณพื้นท่ี การใช้ประโยชน์ การรักษาซ่งึ ต้นไม้เดิม และการชะลอการไหลของน้าโดยการทาฝายชะลอ
น้า ก ารขุดห ลุมขน มครก รองรับ น้าที่มี ความลึกเป็น 2 เท่ าของคลอ งไส้ไก่ ก ารเว้น ช่วงห่ าง
รอบพ้ืนดินของต้นไม้เดิม และลาคลองไส้ไก่ท่ีมีความกว้างขึ้นกว่ารอบแรก เน่ืองด้วยการดาเนินกิจกรรม
มีระยะเวลาจากัด จึงทาให้เกิดความเร่งรีบและขาดความละเอียดในบางส่วน คือ ยังคงมีบางช่วง
ท่กี ารไหลของน้ายงั คงมีความเร็วมากเกินไป จึงได้แก้ไขปรบั พน้ื คลองไส้ไกต่ รงจดุ นัน้ และเพ่ิมการทาฝายชะลอ
น้า และดาเนิน การปลูกพื ชผัก ต่อเน่ืองและหลากหลายชนิดเพื่ อให้เกิดแตกต่างจาก การปลูก
ในชว่ งแรก

8.ประโยชน์ขององค์ความรู้

ศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชนนครนายกมีพนื้ ท่ฐี านเรียนร้เู ป็นแปลงสาธติ เสมือนจรงิ

1. เจ้าหน้าท่ีภายในเกิดการเรียนรู้และเห็นถึงประโยชน์ จนสามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้
ใน เบ้ือ ง ต้ น สาหรั บผู้ ที่ สน ใจเข้าม าศึ ก ษ าดู งาน พื้ น ท่ี และ ยั งสาม ารถเช่ื อ ม โย งไป ถึงก าร เรี ย น รู้ใน ส่ว น อื่ น ๆ
ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ฐานเรยี นรไู้ ด้

2. การใช้ประโยชน์ของพืชผักที่ทาการปลกู ไว้นามาประกอบอาหารและรบั ประทานในโครงการอาหารกลางวัน
“ห้ิวปิ่นโต รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน” ของ ศพช.นครนายก อีกทั้งยังให้ เจ้าหน้าท่ี ลูกจ้าง ภายใน
นาไปประกอบอาหารเย็นโดยแจง้ ความประสงคต์ อ่ ผ้รู ับผิดชอบดูแลฐานเรยี นรู้

3. การนาความรู้ที่ได้จากการดูแลรักษาดินโดยการห่มดิน “การเล้ียงดิน ให้ดินเลี้ยงพืช” ต่อยอดในพื้นท่ีของ
ศพช.นครนายก เพื่อรักษาความชุ่มชื้น น้าในผวิ ดนิ และทาให้พืชเจริญเติบโตและอยูใ่ นสภาวะอากาศร้อนการ
ขาดน้าไดน้ านข้ึน

4. การทาป้ายส่ือประกอบการเรียนรู้ในฐาน จากการได้เรียนรู้จัดทาเป็นป้ายท่ีสามารถเคลื่อนท่ีได้
ยงั นาไปใช้ประโยชนต์ ่อการลงพ้ืนที่สาหรับจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล ได้ ในกิจกรรม การเอา
มือ้ สามคั คี ของเครือขา่ ยผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม ซึ่งนาไปจัดแสดงในพื้นที่เป็นข้อมูลสาหรับผู้ที่สนใจเข้าร่วมงาน
ได้เรยี นรู้เป็นประโยชนแ์ ละสามารถนาไปต่อยอดได้

5. เป็นพ้ืนที่สาหรับการเรียนรใู้ นกิจกรรมของ ศพช. นครนายก และการฝึกอบรมในโครงการต่างๆ ที่มีความ
เกย่ี วข้อง เพื่อให้เกิดการแลกเปลย่ี นเรียนรูข้ องพ้ืนทที่ ่ีมีการ ขุดคลองไสไ้ ก่ การหม่ ดิน และการปลูกไม้ 5 ระดับ

ก้าวแรกของตน้ กล้าสคู่ วามพอเพยี ง

1. ชอื่ องคค์ วามรู้ กา้ วแรกของต้นกล้าส่คู วามพอเพยี ง

2. ช่ือเจ้าของความรู้ นางสาวสฑุ ามาศ อมั รนิ ทร์ นกั ทรพั ยากรบคุ คล

3. องค์ความรู้ที่บ่งชี้ หมวดท่ี 4 เสริมสร้างองค์กรให้มขี ดี สมรรถนะสูง

4. ทมี่ าและความสาคัญในการจัดทาองคค์ วามรู้
ก้าวแรกของ “ต้นกล้าสู่ความพอเพียง” ไม่ใช่เร่ืองง่าย เป็นการเดินกา้ วแรกที่ได้รับประสบการณ์และ

ความรู้ใหม่ ๆ มากมาย การจดั ทาฐานเรียนรู้อาจเปน็ เรอ่ื งงา่ ยของใครหลายคน แต่สาหรบั คนทีไ่ ม่มคี วามรู้ ไมม่ ี
ประสบการณ์ เป็นท่ีส่ิงท่ีท้าทายพอสมควร และเม่ือลงมือทาในสิ่งท่ีไม่เคยทา ก็จะได้มาซ่ึงส่ิงที่ไม่เคยได้

กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ดาเนินงานโครงการศูนย์ศึกษาและ
พัฒนาชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ กาหนดให้มีการเตรียมความพร้อมใน 4 มิติ คือ คน ความรู้
เครือขา่ ย และการขยายผล ดาเนินการฝึกอบรมและพฒั นาบุคคลากรในสงั กัด บุคลากรทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาชน ซ่ึงศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก ขับเคล่ือนงานภายใต้โครงการศูนย์ศึกษาและ
พัฒนาชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายใต้บริบทพื้นที่และทรัพยากรท่ีมีอยู่ในศูนย์ฯ อย่าง
ต่อเน่อื ง

“ฐานเรียนรู้” เป็นกิจกรรมอย่างย่ิงในการขับเคล่ือนโครงการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจ เป็นองค์ประกอบสาคัญและให้ดาเนินการภายใต้รับผิดชอบของบุคลากรในศูนย์ฯ เพ่ือ
ถา่ ยทอดองค์ความรู้และรองรับการฝึกอบรมในเขตพน้ื ท่บี ริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชน จงึ นามาซึง่ การ
จัดทาฐานเรียนรู้การขยายพันธ์ุไม้ ช่ือ “ฐานต้นกล้าสู่ความพอเพียง” เพื่อขยายและรวบรวมพันธ์ุไม้ ป่า 5
ระดับ ได้แก่ สูง กลาง เตี้ย เรี่ยดิน และใต้ดิน ซึ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญในการบริหารจัดการพนื้ ท่ีในรูปแบบ
“โคก หนอง นา โมเดล” และเพ่ือดาเนินการปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ตามแนว พระราชดารัส
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร "...การปลูกป่า 3 อย่าง
แต่ให้ประโยชน์ 4 อย่าง ซึ่งได้ไม้ผล ไม้สร้างบ้าน และไม้ฟืนน้ัน สามารถให้ประโยชน์ได้ถึง 4 อย่าง คือ
นอกจากประโยชนใ์ นตัวเองตามช่อื แล้ว ยังสามารถใหป้ ระโยชน์อันที่ 4 ซง่ึ เป็นขอ้ สาคัญ คอื สามารถช่วย
อนุรกั ษด์ นิ และตน้ นา้ ลาธารด้วย..."

5. รูปแบบ กระบวนการ หรือลาดบั ข้นั ตอน
1. กระบวนการจดั ต้ังฐานเรียนรู้ “ต้นกล้าสู่ความพอเพยี ง”
1.1 ศึกษาบริบทและทรัพยากรที่มีในพ้ืนที่เพ่อื นามาพัฒนาให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดและศึกษา
องค์ประกอบสาคัญของฐานเรียนรู้ ได้แก่ วิทยากร องค์ความรู้ การถ่ายทอด และส่ือถ่ายทอดองค์
ความรู้

1.2 ประชุมและวางแผนการดาเนนิ งาน
- กาหนดผู้รับผิดชอบในการดาเนินงาน โดยงานของฐานต้นกล้าสู่ความพอเพียงจะ

แบ่งออกเป็น 4 งานหลัก ได้แก่ งานดูแลกล้าไม้และโรงเพาะชา งานขยายพันธ์ุไม้ งานจัดทา
ฐานข้อมลู พนั ธไุ์ ม้ และการจัดเกบ็ องค์ความรู้และทาส่ือเกีย่ วกับการขยายพนั ธ์ุ การดแู ล และ
ความรู้เกย่ี วป่า 5 ระดับ เพื่อการถ่ายทอดในการฝกึ อบรม และในการกาหนดผู้รับชอบต้องมี
คัดเลือกผู้มีประสบการณ์ตามวัตถุประสงค์ของฐานเรียนรู้มากที่สุด เพื่อการต่อยอดพัฒนา
ฐานเรียนรู้ได้เร็วและถูกต้องมากย่ิงขึ้น โดยเฉพาะอย่างย่งิ การเป็นวิทยากรประจาฐาน ต้อง
อาศยั ความเช่ยี วชาญและชานาญ ผู้ท่ีไมม่ คี วามรู้และประสบการณ์ กเ็ รียนจากผู้ร้แู ละค้นคว้า
ศกึ ษา และลงมอื ปฏิบตั ิ ใหเ้ กดิ การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง

- ต้ังวัตถุประสงค์ของการจัดทาฐานเรียนรู้ให้ชัดเจน โดยฐานเรียนรู้ต้นกล้าสู่ความ
พอเพียง มีวัตถุประสงค์ เพื่อขยายพันธ์ุรวบรวม แลกเปลี่ยน และแจกพันธ์ุไม้ ป่า 5 ระดับ
และเป็นแหล่งเรียนรู้การขยายพนั ธไ์ุ ม้ ปา่ 5 ระดบั

- ต้ังงบประมาณและใช้อย่างคุ้มค่า สามารถบริหารจัดการภายใต้งบประมาณที่
กาหนดและเหลือเพอื่ บริหารจดั การฐานเรียนรภู้ ายในอนาคต
- กาหนดกิจกรรมและปฏิทินการทางานให้ชัดเจน เน่ืองจากทรัพยากรบคุ คลมีอย่าง
จากัด ไม่เพียงพอกับงานในศูนย์ จึงต้องมีการวางแผนกาหนดกิจกรรมและเวลา
เพอื่ ใหส้ ามารถฐานเรยี นรู้อื่น ๆ ดาเนนิ กจิ กรรมด้วย
1.3 แสวงหาแหล่งความรู้เพิ่มเติม ปราชญ์ หนังสือ อินเตอร์เน็ต ศูนย์การเรียนรู้ ฯลฯ เพื่อ
เพม่ิ เตมิ องค์ความรูแ้ ละประสบการณ์แก่วทิ ยากรประจาฐาน
1.4 รวบรวมองค์ความร้นู ามาจัดใหเ้ ปน็ ฐานขอ้ มูลองคค์ วามรู้
1.5 ฝกึ ปฏบิ ตั ิและทดลองทาอยูเ่ สมอ การขยายพนั ธไุ์ ม้ มีหลากหลายวธิ ี เชน่ ตอนกิ่ง ทาบกิง่
ปักชา เพาะเมล็ด ติดตา เสียบยอด ฯลฯ “การทาให้ดู ย่อมดีกว่าการบอกเล่า” วิทยากรจึงจาเป็น
ตอ้ งการฝึกฝนและเรียนรูอ้ ยู่เสมอเพอื่ ให้เกดิ ความชานาญ
1.6 ส่งต่อองค์ความรู้ให้เกิดข้ึนภายในศูนย์ฯ เพ่ือให้บุคลากรมีความรู้และเป็นตัวอย่างแก่ผู้
เขา้ อบรม “ผูน้ า ทาก่อน”
1.7 ถ่ายทอดองค์ความรู้และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ บั คนภายนอก
2. ปัจจยั ความสาเรจ็ ของก้าวแรกของต้นกล้าส่คู วามพอเพยี ง
- คน “เมอื่ งานปรบั คนก็ต้องปรับตาม” คนเปน็ แรงสาคัญในการขบั เคลอื่ นงาน จงึ การพฒั นา
คนใหต้ อบสนองงาน เนือ่ งจากเรม่ิ จากคนท่ีไม่มีความรแู้ ละประสบการณ์ ผูร้ ับผดิ ชอบจึงต้องพฒั นาตนเองให้มี
องค์ความร้ใู หม่เพ่ือนามาปรับกับงาน และมีทัศนคติที่ดีในการทางานทีไ่ ม่ถนัดหรอื ไมเ่ คยทา พร้อมสาหรับการ
เรยี นรู้สงิ่ ใหม่ ๆ

- การมีส่วนรว่ ม ฐานตน้ กลา้ สูค่ วามพอเพยี ง กา้ วเดินไดด้ ว้ ยการร่วมแรง รว่ มใจ และรวมพลัง
ความคิดของบุคคลากรภายในศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก คนมีหลากหลาย ความรู้ก็หลากหลาย
ตามไปดว้ ย จงึ ต้องฟัง คดิ และให้โอกาสผู้อ่ืน เพื่อการพัฒนาฐานเรียนร้ใู หด้ ยี งิ่ ข้ึน

- งบประมาณ ทเี่ พียงพอและพอดีสาหรับการดาเนินงาน
- พ้ืนท่ีเหมาะสมสาหรับการเรียนรู้เร่ืองการขยายและรวบรวมพันธุ์ไม้ เนื่องจากศูนย์ศึกษา
และพัฒนาชมุ ชนนครนายกเปน็ พ้นื ท่ที ่มี ีความหลากหลายของพืชพนั ธ์นุ านาชนดิ
- เครือข่าย เครือข่ายการทางานเกิดจากผู้เข้าอบรมท่ีเป็น ปราชญ์ มีความรู้ มีประสบการณ์
ทาใหม้ กี ารถ่ายทอดและแลกเปลย่ี นรู้ความรู้ เป็นคลงั ความรทู้ ส่ี าคญั

6. เทคนคิ ในการปฏิบัติงาน
1) หาโอกาส แสวงหาความรู้ เนื่องจากผู้รับผิดชอบไม่มีองค์ความรู้และขาดประสบการณ์ จึงต้อง

ค้นคว้าและศกึ ษาใหต้ กผลึก เพอื่ ให้สามารถถา่ ยทอดความรไู้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
2) ลงมือปฏิบัติและทดลองทาอยู่เสมอ “ลองผิด ลองถูก” “ไม่ทา ไม่รู้” เนื่องจากการขยายพันธุ์ไม้

เป็นเร่ืองละเอียด และมีข้อพึงระวังหลากหลาย จึงต้องฝึกฝนและปฏิบัติอย่างถูกต้องจนเกิดความเคยชินและ
ชานาญ

7. ปัญหาท่พี บและแนวทางการแก้ไขปญั หา

ปัญหาของการดาเนินการจัดทาฐานเรียนรู้ คือ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดาเนนิ งานจดั ทาฐานเรยี นรู้ไม่มี
ความรู้ และขาดประสบการณ์ด้านการขายพันธ์ุไม้และแนวคิดป่า 5 ระดับ โดยมีแนวทางแก้ไขปัญหา คือ
ค้นคว้า แสวงหา และเปิดใจพร้อมรับความรู้และประสบการณ์ใหม่ ๆ มีทัศนคติต่องานที่ไม่เคยทา เพ่ือให้มี
แรงจูงใจและแรงผลักดันท่ีนาความรู้มาพัฒนาฐานเรยี นรูเ้ ป็นประสบความสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ “ถ้าเราทา
ในส่งิ ที่ไมเ่ คยทา เราจะมาซง่ึ สิ่งที่ไมเ่ คยได้”

8. ประโยชน์ขององคค์ วามรู้

1. ระดบั ปัจเจก ไดร้ บั ประสบการณก์ ารทางานและความรูใ้ หม่ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาตนเอง
2. ระดับองค์กร สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการขบั เคล่ือนงานโครงการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใหเ้ ป็นไปตามเปา้ หมาย
3. แนวทางการดาเนนิ งานจัดตง้ั ฐานเรียนรู้ศนู ยเ์ รยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

กระบวนการจัดซ้ือจัดจา้ งโดยวิธีเฉพาะเจาะจง

1. ช่อื องคค์ วามรู้ กระบวนการจัดซือ้ จัดจา้ งโดยวธิ เี ฉพาะเจาะจง

2. ชอ่ื เจ้าของความรู้ นางวณี า ประดาสขุ เจา้ พนกั งานธรุ การชานาญงาน

3. องคค์ วามรู้ทบี่ ง่ ชี้ หมวดที่ 4 เสริมสรา้ งองคก์ รใหม้ ขี ดี สมรรถนะสงู

4. ทีม่ าและความสาคัญในการจดั ทาองคค์ วามรู้
ในวันที่ต้องมาทาหน้าที่เจ้าหน้าท่ีพัสดุของหน่วยงาน เน่ืองจากเจ้าหน้าที่คนเดิมได้ย้ายไปบรรจุที่อ่ืน

เจ้าหนา้ ทม่ี ือใหมต่ อ้ งกมุ ขมับ กับงานทม่ี ขี ั้นตอนเยอะ และมีขอ้ ระเบยี บ ขอ้ กฎหมายเขา้ มาเกีย่ วข้อง แตก่ ระนั้น
งานทกุ อยา่ งเราสามารถศึกษาเรยี นรู้ไดจ้ ากคมู่ ือตา่ ง ๆ หนงั สือระเบยี บ กฎหมาย ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องได้

จากเหตุการณ์ที่ต้องเจอในวันแรก ๆ ที่ต้องมาปฏิบัติหน้าท่ีเจ้าหน้าที่พัสดุ จากที่ต้องค่อย ๆ ศึกษา
เรียนร้ดู ว้ ยตนเอง รวมไปถึง สอบถามจากเพ่ือน ๆ เจา้ หนา้ ที่พัสดุมือเก่าผู้มีความชานาญ จงึ เกิดแรงบันดาลใจ
ในการถอดบทเรยี นกระบวนการจัดซ้ือจดั จ้างโดยวธิ ีเฉพาะเจาะจงข้ึน เพือ่ เปน็ ความรูใ้ หผ้ ู้ท่ีสนใจหรอื เจา้ หน้าที่
พสั ดุมอื ใหมไ่ ดศ้ กึ ษา และสามารถนาไปใชป้ ฏิบตั ิงานได้จรงิ

5. รปู แบบ กระบวนการ หรอื ลาดบั ขัน้ ตอน
กระบวนการจัดซอื้ จัดจา้ ง โดยวธิ ีเฉพาะเจาะจง
1. เจา้ หน้าท่ี/ผูไ้ ด้รับมอบหมายจดั ทาแผนการจัดซ้ือจัดจา้ งประจาปี
2. คณะกรรมการ/เจ้าหน้าท่ี/ผู้ท่ีได้รับมอบหมาย จัดทาร่างขอบเขตของงาน/ รายละเอียดคุณ

ลักษณะเฉพาะของพสั ดุ
3. เจา้ หนา้ ท่จี ดั ทารายงานขอซอื้ /ขอจา้ ง เสนอหวั หน้าหนว่ ยงานโดยผา่ นหวั หนา้ เจ้าหน้าท่ี
4. หัวหน้างานให้ความเห็นชอบรายงานขอซ้ือ/ขอจา้ ง
5. การเชญิ ชวน/เจรจาต่อรอง
5.1 กรณีดังต่อไปนี้ให้คณะกรรมการซอื้ หรอื จ้างโดยวธิ ีเฉพาะเจาะจงจัดทาหนงั สือเชญิ
ชวนผูป้ ระกอบการตามคณุ สมบัตทิ ก่ี าหนด
- ใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปและวิธคี ัดเลือกแล้ว ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ/ข้อเสนอไม่ได้
รบั การคดั เลือก
- มีผู้ประกอบการซ่งึ มีคณุ สมบตั ิโดยตรงเพยี งรายเดียว
- จาเป็นต้องใช้พสั ดโุ ดยฉุกเฉนิ เนอื่ งจากอุบตั ิภัย/ภยั ธรรมชาต/ิ เกิดโรคติดต่อ
- เป็นพัสดุท่เี ก่ียวพันกับพสั ดุทีไ่ ด้จดั ซอื้ จดั จ้างไว้กอ่ นแล้ว
- พัสดทุ จี่ ะขายทอดตลาด
- ที่ดิน/สิ่งปลูกสร้าง
5.1.1 คณะกรรมการฯ ต่อรองราคา กรณีราคาท่ีผู้ประกอบการ เสนอสูงกว่าราคา

ในท้องตลาด/ราคาทปี่ ระมาณได้/ราคาทีค่ ณะกรรมการเหน็ สมควรซื้อ/จา้ ง

5.1.2 คณะกรรมการฯ รายงานผลการพิจารณาและความเห็น พร้อมเอกสารท่ี
เก่ยี วขอ้ ง เสนอหวั หนา้ หน่วยงาน โดยผา่ นหวั หน้าเจา้ หน้าท่ี เพอื่ ขอความเหน็ ชอบ

5.1.3 หัวหนา้ หน่วยงานให้ความเห็นชอบ และผูม้ อี านาจอนมุ ัติซ้อื /จา้ ง
5.1.4 หวั หนา้ เจ้าหนา้ ทป่ี ระกาศผลผู้ชนะการซอื้ /จ้าง และแจ้งผเู้ สนอราคาทราบ
5.1.5 ลงนามในสญั ญา
5.1.6 ส่งมอบตรวจรบั พสั ดุตามสญั ญา
5.1.7 ส่งเอกสารขอเบิกเงินใหฝ้ า่ ยการเงนิ และบัญชที าการเบิกเงนิ ใหผ้ ขู้ าย/ผรู้ ับจ้าง
5.2 กรณีการจัดซื้อจัดจ้างที่มีวงเงินไม่เกิน 500,000 บาท ให้เจ้าหน้าท่ีเจรจาตกลง
ราคา กับผู้ประกอบการทีม่ อี าชีพ หรอื รับจ้างนนั้ โดยตรง
5.2.1 หัวหน้าเจ้าหน้าท่ีซื้อ/จ้าง ภายในวงเงินท่ีได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้า
หน่วยงาน
5.2.2 ลงนามในสญั ญา
5.2.3 สง่ มอบตรวจรบั พสั ดตุ ามสัญญา
5.2.4 สง่ เอกสารขอเบิกเงินให้ฝ่ายการเงินและบัญชที าการเบิกเงนิ ให้ผขู้ าย/ผูร้ ับจ้าง

6. เทคนิคในการปฏิบัตงิ าน
ศึกษาระเบียบขอ้ กฎหมายทเี่ กย่ี วกับกระบวนการจัดซอื้ จัดจ้างโดยวธิ เี ฉพาะเจาะจงให้เขา้ ใจ

7. ปัญหาทีพ่ บและแนวทางการแก้ไขปัญหา
เว็บไซต์ ระบบจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ (e-GP) ปิดปรับระบบ หรือล่มเนื่องจากมีผู้เข้าใช้งานจานวนมาก

ซ่ึงอาจจะส่งผลกระทบให้งานล่าช้าไปบ้าง แก้ไขได้ โดยการเข้าใช้งานในช่วงเวลาหลังเลิกงาน เพราะจานวนผู้
เขา้ ใชล้ ดลง ทาใหร้ ะบบการทางานเสถยี รมากกวา่

8. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้
สร้างความเขา้ ใจให้กับเจา้ หน้าที่ทเี่ ก่ียวข้อง ไดร้ ับทราบถงึ ขั้นตอนและกระบวนการจัดซอ้ื จัดจ้างโดยวธิ ี

เฉพาะเจาะจง

Where is document?

1. ชอื่ องค์ความรู้ Where is document ?

2. ช่ือเจ้าของความรู้ นางสาววรญิ า นาลัย เจ้าพนักงานธุรการปฏบิ ตั งิ าน

3. องคค์ วามรู้ที่บ่งช้ี หมวดที่ 4 เสริมสรา้ งองค์กรใหม้ ีขดี สมรรถนะสงู
4. ทมี่ าและความสาคัญในการจัดทาองคค์ วามรู้

ในปัจจุบันหน่วยงานท้ังภาครัฐและภาคเอกชนได้มีการนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ใน
งานด้านเอกสารเพิ่มมากข้ึน เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ ความสะดวก และความรวดเร็วในการจัดการ
เอกสาร โดยเฉพาะอย่างย่งิ เอกสารทีอ่ ยู่ ในรูปแบบของกระดาษและมีการจัดเก็บเข้าแฟ้ม เอกสาร ซง่ึ มีความ
ลาบากในการดูแลรกั ษาและการจัดการหมวดหมู่ของเอกสาร รวมถึงสถานท่ีในการจัดเก็บเอกสารท่ตี อ้ งใช้พื้นท่ี
ในการจัดเก็บเอกสารท่ีค่อนข้างมาก และถ้าหากเอกสารที่ใช้ในการปฏิบัติงานเกิดการสูญหายหรือเสียหาย
ไม่สามารถนาเอาเอกสารออกมาใช้งาน ได้ทันเวลาตามความต้องการ ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดความเสียหาย
ต่อหน่วยงานได้ และการนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้ในการบริหารจัดการเอกสารกาลังเป็นท่ี
นิยมอย่างแพร่หลาย อันเนื่องมาจากปัจจุบัน การรับส่งข้อมูล ข่าวสารส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของไฟล์เอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งควรจะต้องมีการบริหารจัดการงานด้านเอกสารที่ดีพอ เป็นไปตามระบบและมาตรฐานใน
การจัดการเอกสาร ซ่ึงท้ังน้ีระบบจะต้องมีการอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานให้สามารถค้นหาเอกสารได้
รวดเรว็ และมีการใช้งานที่งา่ ยไมซ่ ับซ้อน

ดังนั้น ในฐานะเจ้าพนักงานธุรการจึงนาเทคโนโลยีในการจัดเก็บข้อมูล Google Drive เป็นบริการ
Online Service ท่ใี หผ้ ใู้ ช้สามารถจัดเก็บขอ้ มูล ไฟล์เอกสาร ไฟลร์ ปู ภาพ หรอื ไฟลป์ ระเภทต่าง ๆ ลงไปได้ โดย
ไม่เสียค่าใช้จ่าย ผู้ใช้จะสามารถเปิดดูไฟล์ต่าง ๆ นั้นท่ีใดก็ได้บนอุปกรณ์ต่าง ๆ และยังสามารถเชิญผู้ใช้อื่น ๆ
เขา้ มาดไู ฟลข์ องคุณได้ทาง Gmail โดยการใช้ฟรีนน้ั จะมเี นื้อทใ่ี ห้จัดเก็บถึง 15 GB ซงึ่ เปน็ เทคโนโลยที ่ีเปิดให้
ใช้บริการและทุกคนสามารถเข้าถึงได้ง่าย เข้ามาช่วยในการจัดเก็บเอกสาร เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการ
จดั เกบ็ และคน้ หาเอกสาร

5. รูปแบบ กระบวนการ หรอื ลาดบั ขั้นตอน
1. สรา้ งบัญชีผใู้ ชง้ าน gmail โดยเข้าไปที่ www.gmail.com
2. สร้างโฟลเดอร์ ใน Google Drive โดยสรา้ งโฟลเดอรแ์ ยกตามกลมุ่ งาน ได้แก่ งานอานวยการ งาน

พฒั นาทรพั ยากรบคุ คล งานวชิ าการ
3. ในโฟลเดอรก์ ลุ่มงาน แยกเปน็ โฟลเดอรย์ ่อย เปน็ เดอื นเร่มิ ตัง้ แต่ เดือนมกราคม ถงึ เดือนธนั วาคม
4. เม่ือมเี อกสารถึง ศพช.นครนายก หลงั จากการเสนอหนังสอื ถึงผูอ้ านวยการเรยี บร้อยแลว้ เจ้าหน้าที่

ธุรการจะเปน็ ผูแ้ สกนเอกสารจดั เก็บเปน็ ไฟลไ์ ว้แยกตามกลุ่มงาน
5. เจ้าหน้าท่ีในแต่ละกล่มุ งานจะเขา้ ถงึ ไฟล์เอกสารดงั กล่าวไดโ้ ดยง่าย โดยสามารถแสกนเขา้ คน้ หา

เอกสารผ่าน QR Code และลงิ ค์

6. เทคนิคในการปฏิบตั งิ าน

นาเทคโนโลยีในการจัดเก็บข้อมูล Google Drive เป็นบริการ Online Service ท่ีให้ผู้ใช้สามารถ
จัดเก็บข้อมูล ไฟล์เอกสาร ไฟล์รูปภาพ หรือไฟล์ประเภทต่าง ๆ ลงไปได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ผู้ใช้จะสามารถ
เปดิ ดูไฟลต์ ่าง ๆ นัน้ ทใี่ ดกไ็ ดบ้ นอุปกรณ์ตา่ ง ๆ และยงั สามารถเชญิ ผใู้ ช้อ่นื ๆ เขา้ มาดูไฟลข์ องคุณไดท้ าง Gmail
โดยการใช้ฟรีน้นั จะมีเนื้อท่ีให้จัดเกบ็ ถึง 15 GB ซึ่งเป็นเทคโนโลยีท่ีเปิดให้ใช้บรกิ ารและทุกคนสามารถเขา้ ถึง
ไดง้ า่ ย เข้ามาช่วยในการจดั เก็บเอกสาร เพอื่ ความสะดวก รวดเรว็ ในการจัดเก็บและค้นหาเอกสาร

7. ปญั หาท่พี บและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา

1. ปญั หาทพี่ บ
1.1 สญั ญาณอนิ เตอร์เนต็ ลม่ หรอื สญั ญาณไม่เสถียรทาให้เปิดเอกสารที่ต้องการไมไ่ ด้
1.2 โทรศพั ทม์ อื ถอื บางเครอื่ งไมม่ โี ปรแกรมสาหรับเปดิ ไฟล์งาน PDF

2. แนวทางการแก้ไขปัญหา
ดาวนโ์ หลดโปรแกรมอ่านไฟล์ PDF ลงในโทรศัพทม์ ือถือ เพือ่ รองรับการเปดิ ไฟล์

8. ประโยชน์ขององคค์ วามรู้

1. เพ่ือชว่ ยให้ผูใ้ ช้งานสามารถคน้ หาเอกสารไดร้ วดเร็วและถูกตอ้ ง
2. เพ่อื ชว่ ยในการสารองข้อมลู ปอ้ งกนั เอกสารสูญหายหรอื เสยี หายได้
3. ลดพืน้ ที่และปรมิ าณในการจดั เก็บเอกสาร

Visual Notes จดบนั ทึกดว้ ยการวาดภาพอยา่ งงา่ ย

1.ชื่อองคค์ วามรู้ Visual Notes จดบันทึกด้วยการวาดภาพอย่างง่าย

2.เจ้าขององค์ความรู้ นางสาวพมิ พณ์ ดา ไมตรเี วช นกั วิชาการพัฒนาชมุ ชนปฏบิ ัติการ

3.หน่วยงาน ศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก

4. องค์ความรู้ท่บี ่งชี้ หมวดที่ 4 เสรมิ สร้างองคก์ รใหม้ ขี ดี สมรรถนะสูง

5. ท่มี าและความสาคญั ในการจัดทาองค์ความรู้

“จิตรกรใชอ้ ารมณผ์ สมสี นักดนตรใี ชอ้ ารมณ์ผสมเสียง
นกั ฝึกอบรมใช้ Visual Notes จดบันทกึ ด้วยการวาดภาพ”
จิตรกรจะสร้างสรรค์ผลงานที่มีเสน่ห์ออกมาต้องใช้จินตนาการและความรู้สึก นักดนตรีจะเล่นดนตรี

ให้ไพเราะต้องใช้ความรู้สึกและใส่อารมณ์ร่วมกับบทเพลงน้ัน ในทานองเดียวกัน นักฝึกอบรมจะจดบันทึกความรู้ให้
เข้าใจและใชป้ ระโยชนไ์ ด้ดีต้องมีตัวชว่ ยท่เี หมาะสม

ชีวิตการทางานของคนจะข้องเกี่ยวกับการประชุม ฝึกอบรม รวมถึงการทากิจกรรมต่างๆ ซึ่งหลายคน
ที่เป็นคนทางาน ก็จะมีการจดบันทึกลงสมุดโน้ต เพื่อช่วยในการทบทวนความทรงจา หรือไว้เป็นหลักฐาน หรือใช้เป็น
สรุปประเด็นย่อๆ เพ่ือไว้ใช้งาน การจดบันทึกน้ันมีหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความถนัดของแต่ละบุคคล
วา่ จะจดบันทึกอย่างไรให้เราสามารถนากลับมาอา่ นแล้วทบทวนความจาได้อยา่ งรวดเร็ว และนามาใช้ให้เกิดประโยชน์
มากท่ีสุด การจดบันทึกด้วยการวาดภาพอย่างง่าย หรือเรียกอีกช่ือว่า Visual Notes เป็นเครื่องมือหน่ึงที่เหมาะกับ
คนทางาน เพราะการใช้ท้ังภาพร่วมกับตัวอักษรช่วยในการจดจาในการจดบันทึก จะทาความเข้าใจได้ง่ายกว่าการจด
บนั ทกึ เป็นข้อความเพยี งอยา่ งเดียว เพราะธรรมชาติของสมอง จะจดจาภาพไดด้ ีกว่าตัวอักษร เราจะจดบนั ทึกด้วยการ
วาดภาพแบบ Visual Notes ได้ง่าย ตอ้ งมีการคิดเป็นภาพให้ได้ก่อน หมายความว่า ใช้ภาพมาชว่ ยในการคดิ ของเราไม่
ว่าจะเป็นการดาเนินชีวิตประจาวัน การทางาน คุยงานประชุมต่างๆ ซึ่งเป็นการรับข้อมูลเข้ามาในสมองแล้วคิดว่า
เรื่องราวที่รับมานนั้ เราเห็นเปน็ ภาพอะไรบ้าง และจะถ่ายทอดออกมาจดบันทึกลงในกระดาษอย่างไร ซ่ึงการทาแบบน้ี
จะทาให้เราเห็นความสัมพันธ์ของส่ิงแต่ละส่ิง เห็นลาดับความสาคัญของแต่ละสิ่ง เห็นทิศทาง และที่สาคัญได้เห็น
ภาพรวม ซึง่ ทัง้ หมดน้จี ะช่วยใหเ้ ราสามารถมองเห็นโอกาสที่เราไม่เคยมองเหน็ จากตัวหนังสือหรอื ตาราง ตัวเลข สาหรับ
ประโยชน์ของเทคนิค Visual Notes คือทาให้เราเกิดการเรียนรู้และรับฟังข้อมูลได้ดีขึ้น ช่วยในการพูดคุยสื่อสารใน
การกลุ่มคนได้มีประสิทธิภาพ ซึ่งการที่เราคิดเป็นภาพ จะเป็นการช่วยกรองข้อมูล เม่ือวาดภาพออกมาแล้วก็จะทาให้
เร่ืองที่เราเล่าเป็นขั้นเป็นตอน มีความกระชับ ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ของมัลคัล โนลส์
ที่กล่าวไว้ว่า “ศิลป์และศาสตร์ในการช่วยให้ผู้ใหญ่เกิดการเรียนรู้ ” และมีสถิติวิเคราะห์การทางานของสมอง
มนุษย์ เราจะพบว่า 80% ของสิ่งที่สมองเราจาได้จะมาจากส่ิงที่เราเห็นและลงมือทา ในขณะท่ีการอา่ นจะช่วยใหส้ มอง
ของเราจดจาไดเ้ พียง 20% สว่ นการได้ยนิ ก็สร้างการจดจาเพียง 10% เท่าน้ัน และการเล่าเร่ืองด้วยภาพมีโอกาสที่จะ
ได้ รั บ ก า ร จ ด จ า สู ง เพ ร า ะ 90% ข อ ง ข้ อ มู ล ที่ ถู ก ป ร ะ ม ว ล ผ ล โด ย ส ม อ ง ข อ ง เร า คื อ รู ป ภ า พ
คนเรามีความสามารถในการจดจาและเรียนรู้ไม่เท่ากัน บางคนจดจาและเรียนรู้ได้เร็ว บางคนจดจาและเรียนรู้ได้ช้า
ข้ึน อยู่กับก าลังสติและความสามารถใน การจัดระบบ ความคิด สาเห ตุที่บางคน รู้สึก เหมือ น สมอ งช้า
จาอะไรไม่ค่อยได้ เหมือนท่ีบันทึกข้อมูลจะเต็มอยู่ตลอด ก็เพราะเราใช้งานสมองซีกซ้ายหนักอยู่ซีกเดียว

เราแทบไม่ได้ใช้สมองซีกขวาเลย การทางานของสมองจงึ ไมส่ มดุล ซง่ึ สมองซีกซ้ายทีเ่ ป็นส่วนทาหนา้ ท่ีเก่ียวกับสิ่งที่เป็น
รูปธรรม เช่น ถ้อยคา การคานวณ คิดวิเคราะห์วางแผน และสมองซีกขวาที่ทาหน้าท่ีเกี่ยวกับจินตนาการ ความคิด
สร้างสรรค์ ศิลปะ การเช่ือมโยง มองภาพองค์รวม ดังนั้นการฝึกคิดให้เป็นภาพจะช่วยให้สมองซีกขวาได้ทางานไป
รว่ มกบั สมองซีกซ้าย สมองของเราก็จะทางานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพได้

ไม่ใช่ทุกการจดบันทึกที่มีภาพวาดจะเป็น Visual Notes ไปทุกอย่าง การจะเป็นการจดบันทึกแบบ Visual
Notes ได้จะต้องมีองค์ป ระก อบ 3 อย่าง ป ระก อ บด้วย 1.ก ารใช้ภ าพ ร่วมกั น 2.เห็น แล้วเข้าใจง่าย
และ 3.มีใจความสาคัญ และส่ือสารอะไรบางอย่าง เมื่อกล่าวถึงการจดบันทึกและนาเสนอข้อมูลด้วยภาพแล้ว
Infographic ก็เป็นการนาเสนอรูปแบบหนึ่งท่ีเห็นกันบ่อยๆ มีความคล้ายกับ Visual Notes ตรงท่ี Infographic คือ
การนาเสนอข้อมูลจานวนมากและซับซ้อนให้เข้าใจง่ายขึ้นด้วยการใช้เส้นกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ และภาพประกอบ
แต่มีข้อจากัดคอื ผทู้ าขอ้ มูล Infographic ตอ้ งมที ักษะการใช้โปรแกรม ความสามารถในการออกแบบ ซ่ึงการใช้ Visual
Notes แมจ้ ะสวยงามน้อยกวา่ แต่ทุกคนสามารถทาได้งา่ ยกว่า ใครกท็ าได้ ใช้ปากกากบั กระดาษจดบันทึก

ด้วยภารกิจงานของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ท่ีมี การจัดประชุม/ฝึกอบรม งานวิชาการ งานวิจัย การลง
พื้นท่เี พื่อติดตามการดาเนนิ งาน ตลอดจนกิจกรรมตา่ งๆ ท่เี กี่ยวข้อง ดังนั้นการจดบันทกึ ด้วยการวาดภาพอยา่ งง่าย หรือ
Visual Notes จึงเป็นทางเลือกหน่ึงท่ีนามาใช้เป็นเครื่องมือจดบันทึกในการปฏิบัติงาน เพราะไม่ใช่แค่ตัวเราเข้าใจได้
ง่าย แต่สามารถสื่อสารใจความสาคัญที่ต้องการออกไปให้คนอื่นเข้าใจได้ง่ายด้วย อีกทั้งยังเป็นเคร่ืองมือช่วยสรุป
ใจความสาคญั จัดระเบียบความคิด และถ่ายทอดข้อมูลออกมาอยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถใช้งานได้ในทุกท่ี ทุกเวลา
เพียงแคม่ ีกระดาษและปากกา พรอ้ มท้ังฝึกสมองและประสาทสัมผสั ไปพร้อมกนั ไดอ้ ยา่ งลงตัว

6.รปู แบบ กระบวนการ หรือลาดบั ขัน้ ตอน
1. รปู แบบ การจดบนั ทึก ด้วยการวาดภาพอยา่ งง่าย หรือ Visual Notes ที่นาไปปรับใชไ้ ด้งา่ ย

มี 4 ลักษณะ มดี งั น้ี
1.1 การเขยี นเปน็ ตวั หนงั สอื ไล่เรยี งแล้ววาดภาพประกอบในการเลา่ เร่ือง
1.2 การเขยี นเป็นลาดบั เหตุการณ์ หรืองานที่เป็นลาดับขน้ั ตอน โดยจะใชต้ ัวเลขบอกลาดับ

หรอื ใช้ลูกศรชี้ ในการบอกเหตุการณ/์ ขั้นตอนถดั ไป
1.3 การเขยี นแบ่งพืน้ ท่ีเป็นสัดส่วนใหเ้ หมาะสม วาดภาพและข้อความประกอบ
1.4 การเขยี นโดยใช้ Mind Map และวาดภาพประกอบ ในการอธบิ ายเรอ่ื งที่ซบั ซอ้ น

2. กระบวนการ การจดบนั ทกึ ดว้ ยการวาดภาพอย่างงา่ ย หรอื Visual Notes มีดังน้ี
2.1 เตรียมอุปกรณส์ าหรับการจดบันทึก
1) กระดาษไมม่ เี ส้น ขนาด A4 ขึ้นไป หรือ สมุดโน้ตทไ่ี มม่ ีเสน้ สมุดกราฟ สาหรบั ใชใ้ นการจดบนั ทกึ
2) ดนิ สอ ยางลบ สาหรับรา่ งออกแบบ
๓) ดินสอสีและปากกาสี ถ้าไม่มี สามารถใช้ปากกาลูกล่ืนสีน้าเงิน แดง ดา หรืออุปกรณ์

การเขียนอน่ื ๆ ท่ีมี สาหรบั วาดรูปและเขียนข้อความทจี่ ะบนั ทึกจรงิ
2.2 เตรียมข้อมูลท่ีจะใช้ในการจดบันทึก ซ่ึงมาจากการฟัง อ่าน ดู จากสิ่งที่ได้ และนามาคิดประมวลผล

เป็นภาพในหัว ว่าจะกาหนดให้มีภาพอะไรบ้าง ถ้ายังคิดไม่ออก แนะนาให้ใช้วิธีตั้งคาถาม 5W1H หรือ Who (ใคร)
What (อะไร) When (เมื่อไร) Where (ทไ่ี หน) Why (ทาไม) และ How (อย่างไร)

2.3 ไลเ่ รยี งขอ้ มลู ออกมาเป็นตวั อักษร

2.4 เปลี่ยนใจความสาคัญ ของข้อมูลเป็นภาพตามที่เราคิดไว้ โดยวิธีที่ง่ายคือให้ใช้การแทนค่า
ของข้อมูล เป็นสัญลักษณ์ท่ีเราเขา้ ใจง่าย เช่น วงกลม สามเหลีย่ ม ส่ีเหล่ียม บอลลูนคาพูด ป้ายกรอบตวั อกั ษร การใช้
รูปลูกศรเพื่อชี้นาสายตา การโยงเส้น เครื่องหมายถูก กากบาท ดาว หัวใจ รูปวาดอิโมติคอนแสดงความรู้สึกทาง
อารมณ์ รูปวาดสถานท่ีและการเดินทาง ของใช้ในชีวิตประจาวันอย่างง่าย เช่น นาฬิกา กระเป๋า เก้าอี้ ดินสอ เป็นต้น
รปู วาดธรรมชาติ ใช้บอกเวลา สภาพอากาศและอารมณ์ เช่น พระอาทิตย์ พระจันทร์ ก้อนเมฆ สายรุ้ง ต้นไม้ ดอกไม้
รูปภาพของสิ่งของสามารถเอามาเปรยี บเทียบถึงส่ิงทเ่ี ปน็ นามธรรมอื่นได้ ยกตัวอย่าง รูปแก้วกาแฟ หมายถึงช่วงเบรก
อาหารว่าง นอกจากนี้ยงั ใช้ตวั เลขและอักษรเข้ามาช่วยจดั ลาดบั งาน วันที่ เวลา และลาดับขั้นตอนได้

2.5 ออกแบบและกาหนดโครงสร้างหน้ากระดาษหรือหน้าสมุดโน๊ต เพื่อวางภาพและตัวอักษร
ให้ลงตัวกับหน้ากระดาษ

2.6 เลอื กบนั ทึกเฉพาะขอ้ มลู ประเด็นที่สาคญั สาหรับพอใส่ในหนา้ กระดาษหรอื หนา้ สมดุ โน๊ต
2.7 กาหนดข้อความท่ีจะจด หัวข้อ กับ เนื้อหา โดยให้หัวข้อเด่นกว่าเน้ือหาเสมอ และใชป้ ากกาเส้นหนา
ขึน้ ให้ตวั ใหญข่ ้นึ
2.8 การใช้สีของปากกา ควรให้ข้อความและรปู วาด เปน็ คนละสีกนั เพ่ือให้สามารถอา่ นไดง้ า่ ย
2.9 กาหนดรูปเป็นสญั ลักษณท์ ีเ่ ขา้ ใจง่าย เชน่ กรอบสี่เหลยี่ ม ลกู ศร
2.10 ลองวาดภาพรา่ งท่ีตอ้ งการในกระดาษทดก่อนคอ่ ยลงในกระดาษจริง
2.11 แบ่งพ้นื ทห่ี น้ากระดาษจรงิ ลงมอื วาดภาพพรอ้ มเขยี นข้อความประกอบตามทีไ่ ดอ้ อกแบบไว้
2.12 เขียนรายละเอยี ดอ่ืนทเี่ กีย่ วข้องประกอบในภาพ เพ่อื ให้ครบถ้วน สมบรู ณ์

ตัวอยา่ ง การใช้ Visual Notes ไปทดลองใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกจิ รบั ผิดชอบฐานเรียนรู้ ตน้ กลา้ สู่ความพอเพียง
เป็นการจดบันทึกส่ิงท่ไี ด้จากกจิ กรรมฐานเรยี นรู้เกี่ยวกบั ขน้ั ตอนเพาะเมลด็ ต้นแจง ตามภาพด้านล่าง

6.เทคนคิ ในการปฏบิ ตั งิ าน
1. พกสมุดบันทกึ พร้อมดว้ ยปากกา ดนิ สอ ติดตวั เสมอ หรือ Smart Phone ที่สามารถจดบนั ทกึ ได้
2. ฝึกคิดให้เป็นภาพ จากการรับข้อมูลต่างๆ เข้ามาในตัวเอง อาทิเช่น การฟัง การพูด การดู และนามา

ประมวลผลในความคดิ เพ่ือวาดออกมาเปน็ รูปวาดและข้อความประกอบท่ีเราเข้าใจ เพอ่ื ให้สมองเกิดความคล่องแคล่ว
ในการประมวลผล

๓.ฝึกวาดรปู สงิ่ ของและส่งิ ตา่ งๆ ในชีวติ ประจาวนั บ่อยๆ ดว้ ยการวาดเส้นอย่างงา่ ย
4.ให้แทนค่ารูปวาด ด้วยสิ่งที่เราจาได้ง่ายหรือจุดสังเกตท่ีเราเห็นบ่อยนามาแทนค่า โดยให้นึกถึงรูปภาพของ
สิ่งของที่สามารถเอามาเปรียบเทียบถึงสิ่งท่ีเป็นนามธรรม เช่น คิดภาพว่า ความคิด จะแทนค่า ข้อความ “ความคิด”
ด้วยอะไร อาจจะนึกถึงหลอดไฟ มาจากโฆษณากินแบรนด์ซุปไก่ แล้วใช้ความคิดได้ หรือแต่ละคนอาจจะไม่
เหมอื นกนั อาจจะคิดถงึ รูปภาพสมอง ตรงตวั ไปเลย
5.ใช้สมดุ กราฟ สมดุ โน๊ตหรอื กระดาษแบบไม่มีเส้น เพราะการใช้กระดาษทส่ี ะอาด โลง่ ทาใหร้ สู้ ึก
ไมถ่ ูกจากดั ความคิดและใชป้ ากกาเขยี นเนน้ ใหเ้ ส้นใหญ่ เส้นเล็ก จะทาให้ทาใหก้ ารบนั ทึกดงู ่ายและชัดเจน
6.จดบันทกึ ด้วยวธิ ี Visual Notes ทุกกิจกรรมท่ีมีโอกาส เชน่ จดบันทึกชวี ติ ประจาวนั การจดบนั ทึกการ
เดนิ ทาง และจดบันทกึ การปฏบิ ตั ิงานทีจ่ าเปน็ ตอ้ งจัดเกบ็ เป็นความรู้ เป็นตน้ และสามารถวาด

7.ปญั หาทพ่ี บและแนวทางการแก้ไขปญั หา
7.1 คนท่ีไม่มีทักษะด้านการวาดรูป วาดรูปไม่ได้ จะไม่มีความมั่นใจในวิธีการ Visual Notes น้ี

ซึ่งแนวทางการแกไ้ ขปัญหา มดี งั นี้
7.1.1 ปรับทัศนคติของตนเอง ให้คิดว่า“วาดรูปไม่ใชเ่ รื่องยาก” และ“วาดรูปไม่จาเป็นต้องสวย” คือไม่

จาเป็นต้องวาดให้ครบทุกองค์ประกอบเสมือนจริง เพราะไม่ได้ประกวดหรือแข่งขัน แต่ใช้ในการจดบันทึกหรือสรุป
ประเดน็ ให้ตนเองเขา้ ใจงา่ ย จุดเนน้ ของการจดบันทึกแบบ Visual Notes คือ การจับใจความสาคัญ ไม่ใช่การวาดรูป
เกง่

7.1.2 ให้ฝึกการวาดภาพด้วยการใช้การวาดเส้นอย่างง่าย ฝึกวาดส่ิงของในชีวิตประจาวันบ่อย ๆ
ไม่จาเป็นต้องสวย แค่วาดออกมาให้ตัวเองเข้าใจ หรือใช้วิธีแทนค่าข้อมูลเป็นสัญลักษณ์ท่ีวาดง่ายๆ เช่นสามเหลี่ยม
วงกลม สเ่ี หล่ียม ไปกอ่ นคอ่ ยฝึกวาดในระดบั ยากขึน้

7.2 ข้อมูลบางอย่างท่ีรับเข้ามา บางเรื่องราวเป็นเรื่องที่ซับซ้อน ผู้ใช้ไม่สามารถคิดเป็นภาพและ
จดบนั ทึกดว้ ยการวาดภาพได้ แนวทางการแก้ไขปญั หาคอื ใหฝ้ ึกคดิ เปน็ ภาพ ทาบ่อย ๆ จนสมองคล่องแคลว่

8.ประโยชน์ขององค์ความรู้
8.1 ชว่ ยทบทวนความทรงจา จับประเด็นเร่อื งราวใจความสาคญั ที่จาเป็นตอ่ ตนเองให้เขา้ ใจงา่ ยได้

ทาได้ทุกท่ี ทุกเวลา
8.2 ช่วยฝึกประสาทสัมผัสและสมองให้เห็นความสัมพันธ์เรือ่ งราว เห็นลาดบั ความสาคัญของแตล่ ะสง่ิ การเหน็

ทิศทาง และเห็นภาพโดยรวม สามารถทาใหเ้ ราเห็นตน้ เหตขุ องปญั หาและทางแก้ไขปัญหาทชี่ ัดเจนขน้ึ ผา่ นการจดั การ
ความคิดของตนเองอยา่ งเป็นระบบ เพราะมที ัง้ การเห็น การฟงั การคดิ วเิ คราะหแ์ ละสอื่ สารออกมาเปน็ ภาพทีเ่ ขา้ ใจง่าย

8.3 สามารถเก็บประเดน็ เรือ่ งราวทไ่ี ดจ้ ากกรประชุม กจิ กรรมโครงการต่าง ๆ ท่ดี าเนนิ การ นามาสรปุ ใจความ

สาคญั เปน็ ความรทู้ ่ีได้จากการเรียนร้แู ละปฏบิ ัตงิ านจรงิ ให้ตนเองเข้าใจได้ง่ายและสามารถสอ่ื สารส่ิง
ทต่ี ้องการออกไปให้คนอ่นื เขา้ ใจได้งา่ ยด้วย การทางานมีประสิทธภิ าพมากขนึ้

8.4 สามารถนามาใช้เป็นเคร่อื งมือในการใช้ในการฝึกอบรมโครงการเพอื่ ให้ผู้เขา้ รบั การอบรมเกิดการเรยี นรู้
ในการสรปุ ใจความสาคญั จัดระเบียบความคิด และถ่ายทอดขอ้ มลู ออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ

สรา้ งสรรค์อกั ษรซอ้ นภาพ

1. ชอื่ องคค์ วามรู้ สรา้ งสรรค์อกั ษรซอ้ นภาพ

2. ชอื่ เจ้าของความรู้ นางสาวชนชิ กานต์ ริมสมุทร์ เจ้าพนกั งานโสตทัศนศกึ ษาปฏบิ ัติงาน

3. องค์ความรทู้ บี่ ง่ ช้ี หมวดที่ 4 เสรมิ สร้างองค์กรให้มขี ดี สมรรถนะสงู
4. ทม่ี าและความสาคัญในการจัดทาองค์ความรู้

ในปัจจุบันน้นั งานนาเสนอหรืองานประชาสัมพนั ธ์ต่าง ๆ มกี ารแข่งขันทีส่ งู ผลงานจะเป็นท่ีสนใจหรือไม่นน้ั
ต้องยอมรับวา่ งานประชาสัมพันธ์มีความสาคญั อย่างมาก การที่จะดงึ ดูดความสนใจได้นน้ั ผลงานต้องมีความโดดเด่น
สะดุดตา มีความแตกต่างกับผลงานของผูอ้ ่นื ซงึ่ แนน่ อนว่าการจะทาแบบนั้นไดต้ ้องอาศยั ปัจจัยหลาย ๆ อยา่ ง
ทง้ั ประสบการณค์ วามชานาญ ความคิดสรา้ งสรรค์ ตอ้ งหม่ันฝึกฝนอยู่เสมอ และทีข่ าดไมไ่ ดเ้ ลยคือเคร่อื งมอื ใน
การสรา้ งสรรค์งาน ปจั จุบนั มเี คร่อื งมือที่เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้เลือกใชง้ านตามความถนัดมากมาย

ดงั น้นั จงึ นาเสนอการออกแบบงา่ ย ๆ โดยใชโ้ ปรแกรม Adobe Photoshop สาหรบั คนท่ีไมเ่ คยใช้งาน
โปรแกรมมากอ่ นก็สามารถทาตามได้ มีข้นั ตอนการทาทไี่ ม่ซบั ซอ้ น การออกแบบน้ีเปน็ การนาข้อความมาซอ้ นกบั
ภาพ โดยใหภ้ าพปรากฏเฉพาะบนขอ้ ความท่ีเราพมิ พไ์ ว้เทา่ น้นั หรอื จะใชเ้ ป็นรูปเรขาคณติ แทนตัวอกั ษรกไ็ ด้
เช่นกนั ซ่ึงเราสามารถนาผลงานน้ีไปใช้เปน็ สัญลกั ษณป์ ระจาตัว ใชป้ ระกอบการออกแบบเพอื่ นาเสนอผลงาน
เช่น หน้าปกหนงั สอื ปกรายงาน เอกสารทางวิชาการ ให้เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั

5. รปู แบบ กระบวนการ หรือลาดับขนั้ ตอน

1. เปดิ โปรแกรม Adobe Photoshop เปิดภาพที่ต้องการใชง้ านขึ้นมา จะเห็นรูปกุญแจท่ีเลเยอร์ภาพ
(ดา้ นขวาของหน้าจอ) คลกิ ที่รปู กุญแจ 1 คร้ัง (เพื่อใหส้ ามารถแก้ไข เคลอื่ นยา้ ยเลเยอรไ์ ด้)

2. คลิก T ทแ่ี ถบเมนดู า้ นซ้ายของหน้าจอ พมิ พ์ขอ้ ความทีต่ ้องการ เลอื กฟอ้ น ขนาด ท่ีแถบเมนดู า้ นบน
ภาพ (การปรบั ขนาดตวั อักษรสามารถทาไดโ้ ดยคลกิ เลือกท่ีเลเยอร์ข้อความ กด Ctrl+T จะเหน็ ว่ามีกรอบตาราง
ข้นึ ทข่ี อ้ ความ กด Shift คา้ งไว้ แล้วใช้เมาท์ไปวางที่มมุ คลิกซา้ ยค้างไวแ้ ลว้ เล่ือนเพอื่ ปรบั ขนาดท่ีตอ้ งการ)

ฟ้อน ขนาด
3. คลกิ ซา้ ยค้างไว้ที่เลเยอร์ขอ้ ความ ลากมาไว้ด้านล่างเลเยอรภ์ าพ

4. กดปุ่ม Alt คา้ งไว้ แล้วนาเมาทม์ าวางระหว่างเลเยอร์ จะเหน็ ลกู ศรหวั ลง คลิกซ้าย 1 คร้ัง (ทาให้เลเยอร์
ข้างบนไปอยใู่ ตเ้ อฟเฟคของเลเยอร์ข้างล่าง)

5. การบนั ทึก เลอื กบนั ทึกเปน็ (save as) นามสกลุ ไฟล์ .png เปน็ การบันทึกโดยไม่เอาพื้นหลังจะได้
เฉพาะข้อความอักษรทเ่ี ราทาไวเ้ ท่านั้น

6. เทคนคิ ในการปฏบิ ัตงิ าน

1. สาหรบั เทคนคิ ในการปฏิบัตงิ านนน้ั เริ่มจากการภาพที่เลอื กมาใชง้ านตอ้ งมอี งค์ประกอบที่ครบ ควร
เป็นภาพทีถ่ ่ายด้วยตัวเอง หรือถ้าต้องใชภ้ าพของผ้อู ่นื ตอ้ งเลอื กภาพทไ่ี ม่มีลขิ สทิ ธิ์

2. ขอ้ ความที่เลือกใชถ้ า้ เป็นข้อความภาอังกฤษจะเป็นสากลและจดจาได้งา่ ย หรอื ถ้าตอ้ งการใช้
ข้อความภาษาไทยควรเปน็ คาหรือข้อความส้ัน ๆ

7. ปัญหาทพ่ี บและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา

1. ข้อความท่ีเลอื กใชย้ าวเกนิ ไป ต้องเลอื กใช้คาท่ีกระชับ
2. ข้อความเมอื่ ซ้อนภาพแล้วจะอา่ นยาก ต้องเลือกฟ้อนท่ตี วั ใหญ่ กวา้ ง ไม่จาเป็นตอ้ งใชฟ้ ้อนที่มสี ่วน
โค้งเว้า หรือตัวเรยี วบาง

8. ประโยชน์ขององค์ความรู้

1. สร้างความแตกต่างของงานนาเสนอ
2. สรา้ งเอกลกั ษณใ์ ห้ผลงาน เป็นท่ีจดจา
3. ประยุกต์ใชไ้ อเดียในการทางานทส่ี ร้างสรรค์

Work Adjustment การปรบั ตวั ในองคก์ รใหม่

1. ช่ือองค์ความรู้ Work Adjustment การปรับตวั ในองคก์ รใหม่

2. ชอื่ เจา้ ของความรู้ นางสาวภัทธญิ า ตกิ จินา นักทรัพยากรบคุ คล

3. องคค์ วามร้ทู ่ีบ่งชี้ หมวดท่ี 4 เสรมิ สรา้ งองค์กรใหม้ ขี ีดสมรรถนะสงู

4. ท่มี าและความสาคัญในการจัดทาองค์ความรู้
เมอ่ื พดู ถึงการเปล่ยี นแปลงหรือการเร่ิมตน้ สิ่งใหม่ในชีวิตไมว่ ่าจะเป็นเร่ืองใดก็ตาม เชื่อว่าหลายคนคง

เกิดความกลัวและความกังวลเป็นอยา่ งมาก โดยเฉพาะในชวี ิตการทางานที่ตอ้ งเริ่มงานใหมใ่ นองค์กรท่ไี ม่คุน้ เคย
ดิฉันเกิดคาถามมากมายเพราะไม่รู้เลยว่าเราจะต้องเจอกับอะไรบ้าง หัวหน้างานจะเป็นอย่างไร ตอนเที่ยงจะ
ทานขา้ วกับใคร หรือแมแ้ ต่เราจะเข้ากบั วฒั นธรรมองค์กรและเพอ่ื นร่วมงานได้หรอื ไม่ เพราะก่อนหน้านี้ทางาน
ที่ลักษณะงานเกี่ยวกับเรื่องมิติด้านการต่างประเทศและพิธีการทูตเป็นส่วนใหญ่ แต่เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์
2563 ได้มีโอกาสทางานในตาแหน่งนักทรัพยากรบุคคล ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก ลักษณะงาน
จะเก่ียวข้องกับงานฝกึ อบรมเป็นหลกั รวมถงึ งานดา้ นการพฒั นาในมิติต่าง ๆ จะเหน็ ว่าการเปลย่ี นท่ที างานใหม่
ครั้งน้ี ไม่ได้เป็นการโยกย้ายภายในองค์กรแต่เป็นการเปล่ียนมาทางานในองค์กรใหม่และงานที่รับผิดชอบก็
เปล่ียนไปด้วย เป็นระยะเวลากว่า 3 เดือนแล้วกับการทางานในองค์กรใหม่น้ี ต้ังแต่วันแรกของการทางานได้
เกิดคาถามกับตัวเองว่าจะทาอย่างไรให้ทางานในองค์กรโดยที่งานราบร่ืนและตัวเองมีความสุขอยากตื่นเช้ามา
ทางานในทุก ๆ วนั หากมองกลบั ไปจากวันแรกจันถึงวันน้ีกพ็ บคาตอบหนึ่งท่ีสาคัญมากกับการทางานในสถานท่ี
ใหม่ ซ่ึงคาตอบ คือ“การปรับตัว” ให้เข้ากับองค์กรมากที่สุด ปรับพฤติกรรมของตนเองให้เข้ากับบุคคลและ
ลกั ษณะงานที่แตกต่างและเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมที่เคยทา ทงั้ การปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากบั หวั หนา้ งาน เพ่อื นรว่ มงาน
ซึง่ จะทาให้เราเข้าใจเขามากขึ้น จะลดปญั หาความขัดแยง้ ในที่ทางานได้ รวมถงึ การทาความเข้าใจในวฒั นธรรม
องค์กร แนวทาง/รูปแบบวิธีการทางานใหม่ ๆ ด้วย โดยจะส่งผลให้เกิดการทางานอย่างมีประสิทธิภาพและ
นาไปสู่การอย่รู ่วมกนั ในองค์กรอยา่ งมีความสุข

จากประสบการณ์ของการเป็นน้องใหม่ในองค์กร ได้เห็นถึงความสาคัญของการปรับตัวให้เข้ากับ
องค์กร ถ้าสามารถปรับตัวได้เร็วจะช่วยให้บรรยากาศในการทางานเป็นไปแบบสบาย สนุก ไม่กดดัน ส่งผลให้
ทางานได้อย่างเต็มท่ีและมีประสิทธภิ าพ ด้วยเหตผุ ลน้ีจึงได้จัดทาองค์ความรู้ที่เกดิ จากประสบการณ์โดยตรงของ
ตนเอง เพ่อื แบ่งปนั ให้กับเพื่อนรว่ มองคก์ รท่กี าลงั เผชญิ กบั การเรมิ่ งานในสถานทท่ี างานท่ีไม่ค้นุ เคย

5. รูปแบบ กระบวนการ หรือลาดบั ข้นั ตอน
1. ทาความรู้จักกับองค์กร โดยศึกษาเรื่องต่อไปนี้ 1) โครงสร้าง ภารกิจ การดาเนินงานขององค์กร

หาข้อมูลจากเว็บไซต์อาจจะมองไม่เห็นภาพในวงกว้าง เรียนรู้จากเพื่อนร่วมงาน เพราะเช่ือว่าเร่ืองเล่าจะเป็น
การสื่อสารที่ทาใหเ้ ราเข้าใจไดค้ ่อนข้างดี 2) วัฒนธรรมองคก์ ร กฎระเบยี บ ธรรมเนียมปฏบิ ัติ เช่น เรอ่ื งการแตง่
กายไปทางานควรแต่งกายตามนโยบายขององค์กร 3) การส่ือสารกันภายในองค์กรหรอื วธิ ีทางานให้สังเกตว่า
สอ่ื สารการทางานโดยตดิ ต่อใช้โปรแกรม Line / E-mail หรอื การประชมุ พดู คุยกนั

2. ทบทวนตัวเอง ต้องรู้จักตัวเราเองให้มากท่ีสุด รู้ว่าอะไรคือจุดอ่อน จุดแข็ง ควรจะปรับแก้จุดอ่อน
อยา่ งไรให้ดีขึ้น ควรจะใช้จุดแข็งของตนให้เป็นประโยชนอ์ ย่างไร ขอ้ ดี ขอ้ เสยี ของตนเองคอื อะไร อะไรที่จะทา
ให้การทางานไม่เกิดปัญหา อะไรที่เราโดดเด่นที่จะช่วยเพ่ิมความสาเร็จของงานได้ดี เม่ือเรารู้จักตนเองดีแล้ว
เราก็จะสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการทางานได้อย่างเหมาะสมว่าอะไรควรหรือไม่ควรทา อะไรที่เกิด
ประโยชน์ อะไรทท่ี าแล้วจะสร้างผลกระทบให้กับองค์กร

3. พูดคุยกับหัวหน้างาน เพื่อทาความเข้าใจในหน้าท่ีรับผิดชอบ โดยต้ังคาถามดังต่อไปน้ี 1) หน้าที่
รบั ผิดชอบหลักคือเรื่องใด 2) การประเมนิ สมรรถนะการทางานมีขั้นตอนอย่างไร เม่ือมปี ญั หาเกี่ยวกับงานใหม่
ต้องอายที่จะถามให้ปรึกษาหวั หน้างานโดยทนั ที อยา่ เกบ็ ปญั หาไว้กบั ตัวเด็ดขาด

4. วางแผนการทางาน จัดทาปฏิทินปฏิบัติงานในแต่ละสัปดาห์ เรียงลาดับความสาคัญของงาน เพ่ือ
ชว่ ยให้มกี ารทางานเป็นระบบมากข้นึ

5. มองหา Job Guide สัปดาห์แรกของการทางานให้มองหาเพื่อนร่วมงานท่ีสามารถแนะนาและ
สามารถไกด์งานให้เราได้เพราะหากเรามีข้อสงสัยเกี่ยวกับงานเขาจะสามารถแนะนาแนวทางในการทางานได้
ส่วนอะไรที่ไม่เข้าใจหรือไม่ม่ันใจก็ถามจากเพ่ือนร่วมงานท่ีอยู่มาก่อนแต่ ต้องถามอย่างมีเหตุผลไม่ใช่ถาม ทุก
อย่างหลงั จากไดค้ าตอบแลว้ ควรจดบนั ทึกรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ไว้ดว้ ย

6. ทาความรจู้ ักเพื่อนร่วมงาน ทุกคนและทุกฝ่ายในองค์กร เพราะเพือ่ นรว่ มงานเป็นหนึ่งในเหตุผลท่ี
ผู้เร่ิมงานในท่ีใหม่จะกังวลมาก ว่าจะเข้ากับตัวเองได้หรือไม่ วิธีการคือ จะต้องสร้าง First Impression กับ
เพ่ือนร่วมงานโดยเร่ิมจากยิ้มทักทาย วางตัวเป็นมิตรกับทุกคนด้วยการพูดคุยเร่ืองท่ัว ๆ ไป แนะนาตนเองว่า
เป็นใครมาจากไหน ใหเ้ กยี รตทิ กุ คนต้ังแตร่ ะดับผ้บู ริหารตลอดจนคนงานในองคก์ ร เขา้ ใจความแตกต่างระหว่าง
บคุ คลเรียนรู้ทจี่ ะยอมรบั ความคิดเหน็ ผอู้ น่ื

6. เทคนิคในการปฏิบตั ิงาน
1. ปรับ Mind Set เปลี่ยนลบให้เป็นบวก โดยใช้การคิดบวกเป็นหลักในการทางาน คือ ไม่ว่าจะเจอ

ปัญหาในการทางานกบั องค์กรใหม่ ให้เราคิดไปในทางที่ดีอยู่เสมอ มองเข้าไปในปัญหาอย่างมีสติและพยายาม
ยอมรับปัญหา รวมทัง้ พยายามคน้ หาข้อดีหรือสิง่ ดี ๆ ที่ตัวเองได้รบั หรือเรยี นรู้จากปญั หาท่ีเกิดขนึ้ เหล่านั้น ซง่ึ
จะช่วยให้เกิดพลังงานที่ดีกับตัวเองและคนรอบข้างด้วย รวมถึงการให้กาลังใจตัวเองในช่วงที่เหนอื่ ย ท้อ หรือ
รสู้ ึกแย่จะเห็นวา่ เพยี งแค่เราปรบั เปลี่ยนมุมมองการคดิ และพฤติกรรมตวั เองก็ทาให้เรามคี วามสขุ กับการทางาน
ในท่ีใหม่ ๆ ได้ แลว้

2. นาแนวทางการทางานจากท่ีเดิม เข้ามาช่วยในการปรบั ตัวในองค์กรใหม่ เน่ืองจากเป็นการทางาน
ในสายงานราชการเหมือนกัน จึงนาวิธีการทางานมาประยุกต์ใช้กับงานเอกสาร การประสานงานและติดต่อ
ราชการซึ่งระบบการทางานที่ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก ทั้งนี้ ต้องไม่เปรียบเทียบระหว่างองค์กรใหม่กับองค์กร
เดิมที่เราเคยทางานอยู่ เพราะไม่มีองค์กรใดท่ีจะมีลักษณะเหมือนกัน ย่อมมีวิธีการทางานท่ีแตกต่างกัน
เช่นเดยี วกับฝา่ ยงานแตล่ ะฝา่ ยในหนว่ ยงานราชการก็ยอ่ มแตกต่างกนั แม้ว่าจะอยู่ในองค์กรเดยี วกนั ก็ตาม

7. ปญั หาท่พี บและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา

ปญั หาทพ่ี บ

1. ไมค่ ้นุ เคยกบั วฒั นธรรมองค์กร เพราะในช่วงแรกทเ่ี ร่ิมทางานไมไ่ ด้สังเกต ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ิ ทัศนคติ
กระบวนการทางานของเพื่อน ๆ ในองค์กร วา่ มีวธิ ีการทางานแบบไหน ย่อมเกิดคาถามว่าทาไมต้องทาแบบนั้น
ทาไมไม่ทาแบบน้ี ส่งผลใหเ้ กดิ การไม่เข้าใจในกระบวนการทางานอยู่บ้าง ซง่ึ นาไปสคู่ วามอดึ อัดในการทางาน

2. ช่วงสัปดาห์แรกของการทางาน เม่ือย้ายสถานที่ทางานใหม่จะต้องพบเจอกบั เพอื่ นร่วมงานคนใหม่
ๆ ทีไ่ มเ่ คยรูจ้ กั กนั มากอ่ น ทาให้เราเกดิ การประหม่า ตน่ื เต้นจนเปน็ กงั วลว่าจะปรับตวั เขา้ กับพวกเขาอยา่ งไรดี

แนวทางการแก้ไขปญั หา

1. ใหส้ ังเกตสงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั ให้มากขนึ้ เขา้ ร่วมกิจกรรมทอ่ี งค์กรจัดข้ึน เช่น กิจกรรมประชมุ
ประจาเดอื นและการประชุมย่อย รวมถึงกจิ กรรมอืน่ ๆ ท่อี งค์กรจัดข้นึ หากมขี อ้ สงสัยให้สอบถามกับเพอื่ น
รว่ มงานทท่ี างานมาก่อนเรา

2. สร้างสมั พันธท์ ดี่ ีกับคนในองค์กร โดยการเป็นฝ่ายชวนคุยกอ่ น คุยเร่ืองท่วั ไปเพือ่ สร้างความคุ้นเคย
เราควรแสดงความมีนา้ ใจช่วยเพื่อรว่ มงานบ้าง แม้งานนั้นจะที่ไม่ใช่ความรับผิดชอบของเราโดยตรง เพ่ือท่ีเรา
เองจะสามารถเรียนรู้งานได้หลากหลายข้ึน อีกอย่างท่ีสาคัญสาหรับการเป็นน้องใหม่ในองค์กรคือการรับฟัง
ความคิดเหน็ ของเพื่อนรว่ มงาน เขาแนะนาอะไรมากค็ วรฟังไว้ ถงึ แม้เราจะเหน็ ต่างกไ็ มผ่ ดิ เพราะการรับฟังและ
ยอมรับความแตกต่างระหวา่ งกนั จะเป็นประโยชน์ในการทางานกบั ตวั เราเองและทา้ ยท่ีสุดจะสามารถทางานไป
ในทศิ ทางเดียวกนั กบั คนในองค์กรได้

8. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้

1. เพื่อช่วยให้บุคลากรน้องใหม่ขององค์กร สามารถปรบั ตวั และทางานร่วมกบั คนในองคก์ รไดอ้ ย่างมี
ความสุข ซึ่งจะสง่ ผลต่อความสาเร็จในการทางานด้วย

2. เพอ่ื ชว่ ยให้เจ้าหนา้ ท่ีในองคก์ รหยิบยกประโยชนจ์ ากเรอื่ งน้ีเป็นแนวคดิ ในการปรบั ตัวเองให้เขา้ กับ
วัฒนธรรมองคก์ ร ซง่ึ จะส่งผลตอ่ ประสิทธภิ าพในการทางาน

ชอื่ หนังสือ Tip โคก หนอง นา ศพช.นครนายก (Knowledge Management)

เจ้าขององค์ความรู้

นางประภา ปานนติ ยกลุ ผอู้ านวยการศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก
นางชนมส์ ติ า พุทธชาติ นักวชิ าการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ
นางสาวอรวีย์ แสงทอง นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ
นางสาวพิมพ์ณดา ไมตรเี วช นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนปฏิบัติการ
นางสาววดี เพช็ ระ นักจัดการงานท่ัวไปปฏบิ ตั กิ าร
นางวีณา ประดาสุข เจา้ พนกั งานธุรการชานาญงาน
นางสาวชนิชกานต์ ริมสมุ ทร์ เจ้าพนักงานโสตทศั นศกึ ษาปฏิบัติงาน
นางสาววรญิ า นาลยั เจ้าพนักงานธรุ การปฏบิ ตั ิงาน
นางสาวภรี ดา ศลิ ปชยั เจา้ พนกั งานการเงินและบัญชีปฏบิ ัติงาน
นายอัฐ โรจนกุล นายช่างโยธาปฏบิ ตั งิ าน
นายชาญณรงค์ จริ ขจรกลุ นักทรัพยากรบคุ คล
นางสาวสฑุ ามาศ อัมรินทร์ นกั ทรัพยากรบุคคล
นางสาวภัทธญิ า ติกจนิ า นกั ทรพั ยากรบุคคล

จดั ทาโดย กล่มุ งานวิชาการ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก
ปที ีต่ พี มิ พ์ 2563
ทปี่ รกึ ษา นางประภา ปานนิตยกุล ผอู้ านวยการศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก
ผูเ้ รียบเรยี ง นางสาวสุฑามาศ อมั รินทร์
ผ้จู ัดทาปก นางสาวสฑุ ามาศ อัมรินทร์
แหลง่ เผยแพร่ สถาบันการพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาชมุ ชน


Click to View FlipBook Version