The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มเรื่องเล่า เร้าพลัง ในเขตบริการ 5 จังหวัดของ ศพช.นครนายก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by training-nakhonnayok Library, 2022-04-07 05:52:19

KM เรื่องเล่าเร้าพลังงานพัฒนาชุมชน 2565

รวมเล่มเรื่องเล่า เร้าพลัง ในเขตบริการ 5 จังหวัดของ ศพช.นครนายก

Keywords: #KM #การจัดการความ,#การจัดการความ,รู้งานพัฒ,นาชุม,ชน

Knowledge Management



01
02
03

จปฐ. ทร่ี กั

เมื่อพฒั นากรใหม่อายุงาน 2 เดือน ต้องรบั มือกับศึกใหญ่
จากการจดั เก็บข้อมูลพื้นฐานระดับครวั เรอื น (จปฐ.) ภายใต้ระยะเวลา
ทจี่ ากัด (แบบสุดๆ) ความสนุกสนานปนนา้ ตาจงึ เกิดข้นึ ...

“ปีน้ี จ ะต้ อ งเก็ บ จ ป ฐ. ไห ม น ะ? ” “ค งไม่ มี ห รอ ก น่ี ก็ กลางเดื อ น กรก ฎาค ม แ ล้วนะ !”
เป็นคาถาม-คาตอบท่ีพัฒนากรบรรจุใหม่ สพอ.บ้านนา ถามเองตอบเองในชว่ งแรกๆของการบรรจุ
ราชการ หลังจากให้กาลังใจตัวเองได้ไม่นานมีคาสั่งฟ้าประทานให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ
ดาเนินการจัดเก็บจปฐ. ให้เสรจ็ ภายในสิ้นปีงบประมาณ 2564 ตัวพัฒนากรเองถึงกับเสียหลัก
จบั ต้นชนปลายไม่ถูก คาสั่งจากทางส่วนกลางก็ยังไม่มีรายละเอียดแนวทางที่แน่นอน เพื่อนพัฒนากร
บรรจุใหม่บางจงั หวัดเรม่ ิ ออกแจกเล่มจปฐ.แล้ว หลังจากตั้งหลักได้ท่านพัฒนาการอาเภอไม่รอชา้
สั่งขุด! ขุดเล่มจปฐ.ออกมาจากกรุ โดยให้น้องๆนักพัฒนารฐั บาลดิจิตอล (นพร.) และพัฒนากร
ผู้รบั ผิดชอบแต่ละตาบลตรวจสอบเอกสารของตัวเอง แจ๊คพ็อต! ตาบลท่ีพัฒนากรรบั ผิดชอบ
เอกสารหายเกินครง่ ึ ! (พักจิบน้าใบบัวบกแพ้ช้าในอยู่ครง่ ึ วัน) เม่ือตั้งสติได้ทางสานักงานพัฒนา
ชุมชนอาเภอแจง้ ขอแบบฟอรม์ การจดั เก็บจากทางสานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวัด นามาถ่ายเอกสาร
ต าม จ า น ว น ท่ีห าย แ ล ะ พั ฒ น าก ร วา งแ ผ น ลงพื้ น ที่แ จ ก เอ ก ส ารให้ แ ต่ ล ะห มู่ บ้ าน ด้ ว ย มื อ ตั วเอ ง
เนื่องจากการจดั เก็บในปีน้ีพัฒนากรตระหนักว่าเป็นงานทห่ี นักกว่าทุกปี จานวนครวั เรอื นเป้าหมาย
เท่าเดิมแต่ระยะเวลาสั้นกว่าเดิมถึง 3 เท่า ส่ิงที่พัฒนากรควรทาคือการลงพื้นที่พบผู้นาชุมชนเพ่ือ
ชแ้ี จงเหตุผลและขอความรว่ มมือ (พัฒนากรยกมือไหว้ผู้นาชุมชนและคณะจัดเก็บด้วยความนอบ
น้อมตัวแต่ก้าวลงจากรถ)

ไม่เชอื่ ก็ต้องเชอ่ื ค่ะ การแสดงความจรงิ ใจและความเข้าใจของพัฒนากรต่อการจดั เก็บจปฐ.
ในปีน้ีเป็นผล ข้อมูลการจัดเก็บจปฐ. ของ 2 ตาบล 1 ชุมชน ท่ีพัฒนากรรบั ผิดชอบไหลเข้าระบบ
ebmn เป็นเทน้าเทท่า หมู่บ้านใดมีประชากรส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุไม่มีเด็กๆอัพโหลดข้อมูลเข้า
ระบบ ทางพัฒนากรก็รบั มาชว่ ย คีย์กันถึงตี3-ตี4 บางวันลากยาวถึงเชา้ ถึงแม้ว่าชว่ งแรกสานักงาน
พฒั นาชุมชนอาเภอจะได้รบั คาเตือนจากสานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั วา่ อัพโหลดข้อมูลเข้าระบบชา้
ทสี่ ุดในบรรดา 4 อาเภอ แต่สุดทา้ ยแลว้ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอบ้านนาสามารถปดิ การจดั เก็บ
ขอ้ มูลจปฐ. ได้เปน็ อันดับ 1 ของจงั หวดั นครนายก

“ต้ังสติ วเิ คราะห์ปญั หา ศึกษาชุมชน เวยี นวนผู้นา รว่ มทารว่ มแก้”

นางสาวเปมกิ า ทองเดช
สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอบ้านนา

กข.คจ. เงนิ กู้ท่ตี อ้ งคำสำป
การติดตามเงิน กข.คจ. ถือว่าเป็นยาขมของพัฒนากรที่ส่งทอดกันมารุ่นสู่รุ่น ซ่ึงมีมาตั้งแต่ก่อนเราเกิด
ซะอีก ปัญหาที่เจอ คือ เอกสารหายบ้าง ทุจริตกันบ้าง บ้างครั้งโยนกันไปมาจนหาที่รู้จบไม่ได้ก็มี แม้ว่าจะเป็น
ภาระหน้าที่ในการตดิ ตามกากับดูแล แต่การต้องติดตามเร่ืองราวในอดีตท่ีผ่านกาลเวลามานานๆ ก็ไม่ใช่เรื่องท่ีง่าย
เลย หลายคนเลยใชว้ ิธีการนงั่ ทับระเบดิ หรอื การซกุ ปัญหาไว้ใตพ้ รมใหม้ ดิ ชิดจนกวา่ เวลาในการรบั ผดิ ชอบจะส้ินสุด
ลงจากน้ันก็ลุกขึ้นไป ให้พัฒนากรคนใหม่มานั่งทับระเบิดลูกดังกล่าวต่อ เคยคิดอยากลาออกหลายครั้ง
เพราะการต้องมาแบกภาระของสิ่งเก่าก่อนท่ีผ่านมา แต่สิ่งหนึ่งท่ีทาให้ความคิดเราเปล่ียนจากการไปลงพื้นท่ี
ก็คือ คนยากจนท่ียังไม่ได้รับโอกาสจากเงินทุนตรงนี้ บ้างต้องไปกู้ยืมบัง กู้ยืมหมวกกันน็อค ท่ีมีอัตราดอกเบ้ีย
มหาโหด เรียกได้ว่า ทานาบนหลังคนเลยก็ว่าได้ ทาให้เราเปล่ียนจากความท้อใจ กลายมาเป็นพลังในการลุยร้ือ
พลิกฟ้ืนเงินทุนตัวนี้ ให้กลับมาช่วยแบ่งเบาภาระของพ่อแม่พี่น้องในชุมชนให้ได้ แม้ว่าจะยากเย็นเข็ญใจแต่ก็
พยายามทา คอ่ ยๆ แกะรายละเอียดต่างๆ ออกมาทลี ะนดิ ทีละหนอ่ ย บ้างครง้ั ไปติดตามจนโดนด่ากลับมาหลายครั้ง
ว่าคนกู้ตายไปแล้วจะมาเอาอะไร น่ีเงินหลวงเค้าให้แล้วให้เลย นานาสารพัดเหตุผล ที่ถาโถมเข้าใส่พัฒนากร แต่ก็
อาศัยการเข้าไปพูดคุย ลดแรงเสียดทาน ไม่สร้างความกดดัน ใช้หลักธรรมะเข้าช่วย เพ่ือให้ผู้กู้ยืมเงินเหล่าน้ัน
กลับมามีความละอายและชดใช้เงนิ คนื กับทางราชการ ไมต่ อ้ งมีการฟ้องร้อง ทาให้ไมม่ ใี ครบาดเจ็บจากเรอ่ื งราวนี้

“อย่ำพึ่งคดิ ว่ำทำไมไ่ ด้ ขอแคล่ องทำดูก่อน เด๋ียวทำงออกจะมำหำเรำเอง”

ว่ำทร่ี อ้ ยตรีปยิ ังกรู พวงแก้ว
นกั วชิ ำกำรพัฒนำชุมชนชำนำญกำร
สำนกั งำนพัฒนำชมุ ชนอำเภอองครักษ์



01
02
03



2

3









01
02
03

แบบบนั ทกึ องคค์ วามรู้

ชอื่ เรอ่ ื ง พัฒนากรบรรจุใหม่ ปรบั ตัว-เปิดใจให้กับการเรยี นรู้
ชอื่ นางสาวธญั พัสสรณ์ วงค์สุวรรณ
ตําแหนง่ นักวชิ าการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ
เนอ้ื เรอ่ ื ง

ข้าพเจา้ ปฏิบัติงาน ณ สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอเมืองนนทบุร ีตั้งแต่ วันท่ี ๒๘ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๖๔ ท่ีน่ีเป็นที่แรกในการเรม่ ิ ต้นชวี ติ การเป็นข้าราชการของข้าพเจา้ ในตําแหน่งนักวชิ าการพัฒนา
ชุมชนปฏิบัติการ (พัฒนากร) การได้ปฏิบัติงานที่นี่เป็นระยะเวลา ๔ เดือนกว่า ทําให้ข้าพเจ้าได้เรยี นรูอ้ ะไร
มากมายกับการเป็นพัฒนากรบรรจุใหม่ นั่นคือ “ทุกเรอ่ ื ง ทุกคน” คือการเรยี นรู้ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบงาน
ปฏิสัมพันธก์ ับเพื่อน-พ่ี-น้อง ท่ีทํางานรว่ มกัน รูปแบบงานและเนื้องานต่างๆท่ีเรยี กได้ว่าต้องเรยี นรูใ้ หม่
ทั้งหมด ทั้งงานที่ต้องรบั ผิดชอบ การทํางานที่ต้องลงพ้ืนท่ี และงานเอกสารต่างๆ หรอื แม้แต่งานเอกสาร
พ้ืนฐาน อย่างเชน่ การเกษียณหนังสือราชการ
ทกุ เรอ่ ื ง ทกุ คน คือครู คือความรใู้ หม่

แม้ข้าพเจ้าจะเคยทํางานในหน่วยงานราชการมาก่อน แต่ ขณ ะนั้นยังไม่ได้บรรจุเป็น
ขา้ ราชการและไม่มปี ระสบการณ์ทาํ งานทเี่ ป็นด้านวชิ าการแบบเต็มตัว รวมถึงลักษณะงานเดิมมีความแตกต่าง
อย่างมากกับงานพัฒนาชุมชน งานด้านเอกสารหลายๆอย่างนั้น ข้าพเจา้ ยังไม่เคยทํามาก่อน ต้องมาเรยี นรู้
ใหม่จากท่ีน่ี จงึ อยากขอเรยี กทุกคนที่จะเอ่ยถึงต่อไปน้ี ว่าเป็น “ครู” ในการทาํ งานของข้าพเจา้ ทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็นหัวหน้างานคนแรกในชวี ติ การเป็นพัฒนากรของข้าพเจ้า คือ นางสาวจิรารตั น์ ถึงสุข
อดีตพัฒนาการอําเภอเมืองนนทบุร ี ท่านเป็นผู้ท่ีคอยสอนการเป็นพัฒนากรให้แก่ข้าพเจา้ ตั้งแต่จุดเรม่ ิ ต้น
และยังได้เปิดโอกาสให้ได้เรยี นรูก้ ารทาํ งานจากหัวหน้างานอ่ืนๆ อีกด้วย และหัวหน้างานปัจจุบันของข้าพเจา้
คือ นางสาวโสภิดา บุญเนาว์ พัฒนาการอําเภอเมืองนนทบุรคี นปัจจุบัน ซงึ่ ได้สอนสิ่งใหม่ให้ข้าพเจา้ คือการ
ทํางานให้สนุก เน้นการลงมือทําเป็นตัวอย่างและทําไปพรอ้ มๆกับลูกน้อง และข้าพเจา้ ยังได้เรยี นรูจ้ ากรุน่ พ่ี
ผู้ท่ีมีประสบการณ์การทํางาน ซึ่งพ่ีเลี้ยงของข้าพเจ้าก็คือนางสาวบุณยวรี ์ เลิศศรธี นิตตา หรอื พ่ีโอ๋ อาสา
พัฒนา ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีดังเช่น “พัฒนากร” สิ่งท่ีข้าพเจ้าได้เรยี นรูจ้ ากพี่โอ๋คือ ประสบการณ์ ความมุ่งมั่น
เทคนิคการทํางาน และ “ใจรกั ” ในงานพัฒนาชุมชน และแม้แต่การได้เรยี นรูจ้ ากเพ่ือนรว่ มงานที่เข้ามา
ปฏิบัติงานทน่ี ้ีพรอ้ มกัน คือ พีโ่ อ นายพงศ์พสิ ุทธิ์ สุทธบิ ูลย์ ซงึ่ เป็นพัฒนากรรว่ มรนุ่ 118 ของข้าพเจา้ ด้วย และ
บุคคลสําคัญอีกหลายท่านท่ีให้ความรูแ้ ก่ข้าพเจา้ ได้แก่ ผู้นําชุมชน ชาวชุมชน อินเตอรเ์ น็ต และที่สําคัญคือ
ความรทู้ เ่ี กิดจากการทาํ งานจรงิ

ส่ิงทไ่ี ด้จากการปรบั ตัว-เปดิ ใจให้กับการเรยี นรงู้ าน

- เป้าหมาย คําสั้นๆ แต่เป็นประโยชน์มาก ก่อนจะทําอะไรนั้น เป้าหมายคือสิ่งสําคัญที่สุด
เราต้องหาต้องรูเ้ ป้าหมายของตัวเอง และกําหนดเป้าหมายของตัวเอง และหาวธิ ไี ปให้ถึงเป้าหมายท่ีเราตั้งไว้
การตระหนักรูท้ ราบถึงเป้าหมายท่ีแท้จรงิ ในการทํางาน หรอื แม้แต่การจะทําสิ่งต่างๆ ในชวี ติ เป็นสิ่งสําคัญ
ท่ีสุด เพราะเม่ือเราทราบเป้าหมาย วัตถุประสงค์ เราจะหาเหตุผลมารองรบั มาสนับสนุนความคิด หาวธิ กี าร
ขั้นตอนต่างๆ และมุ่งมัน่ เพ่ือทาํ ให้สําเรจ็ บรรลเุ ปา้ หมาย

- เปดิ ใจ ทกุ คนมาจากต่างทม่ี า เม่ือมารว่ มงานกันย่อมมีความคิดความอ่านและการทาํ งานท่ี
ต่างกัน ต้องเปิดใจยอมรบั ความแตกต่างและเรยี นรูท้ ่ีจะอยู่รว่ มกัน แม้แต่ตัวเราเองก็ต้องปรบั เปลี่ยนเพ่ือ
การทาํ งานราบรน่ ื รวมถึงการเปิดใจยอมรบั การเปลีย่ นแปลง การเรยี นรสู้ ิ่งต่างๆทไี่ มค่ ุ้นเคย

- การเรยี นรูจ้ ากคนรอบข้าง คนรอบตัวเราสามารถเป็นครูให้กับเราได้ทุกคน ทุกเรอ่ ื ง ไม่ว่า
จะเป็นเรอ่ ื งการทํางานหรอื การใชช้ วี ดิ ประสบการณ์ วธิ คี ิด เทคนิค วธิ กี าร ของแต่ละคนเรามองเป็นความรู้
ใหม่และปรบั มาใชใ้ นส่วนของตัวเองได้ในสถานนั้นๆ

- กล้าท่ีจะพูด ซักถาม ในสิ่งที่สงสัย ข้องใจ และไม่แน่ใจ เมื่อทํางานไปเราจะเจอปัญหา
ความสงสัย ขอ้ ขอ้ งใจ เพ่ือให้ได้คําตอบที่ถูกต้อง เพ่ือให้กระจา่ งใจ และเข้าใจในสิ่งทตี่ ิดขัด ต้องกล้าที่จะถาม
กล้าท่ีจะเสนอความคิดที่เราคิดว่าเป็นสิ่งท่ีเหมาะควร เพ่ือให้เราได้คําตอบ เพ่ือจะได้เกิดความมั่นใจว่าทํา
ถูกต้องแล้ว ไมว่ ติ กกังวลจนเครยี ด หรอื ทาํ ผิดพลาดซา้ํ ๆ

- การเรยี นรูจ้ ากอินเตอรเ์ น็ต เป็นอีกสิ่งท่ีต้องใชอ้ ย่างมากในการทํางานปัจจุบัน เพราะเป็น
แหล่งข้อมลู ทก่ี วา้ งมากและเป็นสากล ดูย้อนหลังได้ รวมทัง้ ตัวอย่างในการทาํ งานหลายๆงาน หรอื ขอ้ มลู หลาย
ขอ้ มูลก็หาได้มาจากแหล่งข้อมลู น้ี

- ยอมรบั การพัฒนา ความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้าพเจา้ เองนั้นไม่ใชค่ นเก่ง การ
ทํางานในทุกๆ วัน ต้องยอมรบั ว่าตนเองยังต้องมีการพัฒนาเพ่ือให้เรารู้ เข้าใจ ทํางานได้ และทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง

- คิดบวก ทุกครงั้ เม่ือเจอปัญหา หรอื ความผิดพลาด หรอื งานที่ยากลาํ บาก ท่ีเราไม่มีความรู้
ความถนัด ก็จะพยายามคิดและมองในแง่บวกจากสถานการณ์นั้นๆ ว่าสิ่งท่ีเกิดขึ้นน้ีทําให้เราเรยี นรู้ ได้
ประสบการณ์ จะทําให้ผ่อนคลายเครยี ดลง และมองในแง่ดีของสิ่งท่ีเกิดขึ้น คนท่ีเจอ หรอื งานชนิ้ ท่ีต้องทํา
นั้นๆ วา่ เม่ือเราลงมอื ทาํ ไปแลว้ ได้ผา่ นไป เราจะได้ความรไู้ ด้ประสบการณ์ และ แนวทางการรบั มือกับเรอ่ ื งนั้น

ปัจจุบันชวี ติ ในการทาํ งานของข้าพเจา้ ย่างเข้าสู่เดือนที่ ๕ ซงึ่ จะครบกําหนดระยะเวลาทดลอง
ปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ๖ เดือน ในวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๕ น้ี ยังคงมีสิ่งที่ต้องทาํ และเรยี นรูอ้ ีกมากมาย แต่การ
เตรยี มพรอ้ ม ทั้งกาย ใจ และการเรยี นรูท้ ่ีได้จากการทํางานที่ผ่านมา ทําให้ข้าพเจา้ มีประสบการณ์ที่มากขึ้น
กวา่ วันแรกๆท่ีเรม่ ิ ปฏิบัติงาน และมีความอุ่นใจในการทํางานอ่ืนๆ ชนิ้ ต่อๆไป เพราะที่สํานักงานพัฒนาชุมชน
อําเภอเมืองนนทบุรนี ้ี ทาํ ให้ได้รูถ้ ึงคําวา่ “ทีม” การทํางานทด่ี ีมีความสุขคือการทาํ งานทไ่ี ม่ได้รูส้ ึกว่าทาํ งานคน
เดียว แต่มีความชว่ ยเหลอื จากกันและกันในทกุ เรอ่ ื ง เรามีกันอยู่ ๔ ชวี ติ แต่เราคือทมี ค่ะ

……………………………………………………………………………………………………………………..

แบบบันทึกองค์ความรู้

ชอ่ื เรอ่ ื ง อสพ.กับการเปน็ พี่เลยี้ งพัฒนากรปา้ ยแดง
ชอ่ื นางสาวบุณยวรี ์ เลศิ ศรธี นิตตา
ตาแหน่ง อาสาพฒั นา
เนื้อเรอ่ ื ง

ข้าพเจา้ ปฏิบัติงาน ณ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเมืองนนทบุร ี ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2557 และ
ได้รบั มอบหมายงานในหลากหลายด้าน พ่ีเล้ียงคนแรกของข้าพเจ้า ช่ือ นายสมานชัย นัดดา
เจา้ พนักงานพฒั นาชุมชนชานาญการ ได้สอนงานหลายด้านทง้ั ด้านเอกสารและงานพ้นื ท่ี แก่ข้าพเจา้
ปัจจุบัน สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเมืองนนทบุร ี มี พัฒนาการอาเภอ 1 คน นักวชิ าการพัฒนา
ชุมชนปฏิบัติการ จานวน 2 คน และ อาสาพัฒนา จานวน 1 คน รวมทั้งสิ้น 4 ชวี ติ อาสาพัฒนา
ปฏิบัติหน้าท่ี ดังเช่น พัฒนากร แต่การที่ได้เป็นพ่ีเลี้ยงในครงั้ นี้เน่ืองจาก น้องพัฒนากร ไม่มี
ประสบการณ์ในการทางานภาคราชการ นางสาวจริ ารตั น์ ถึงสุข อดีตพัฒนาการอาเภอเมืองนนทบุร ี
และ นางสาวโสภิดา บุญเนาว์ พัฒนาการอาเภอมเมืองนนทบุร ี (พอ.ปจั จุบัน ย้ายมาดารงตาแหน่ง
เม่ือวันท่ี 17 มกราคม 2565) จงึ มอบหมายข้าพเจา้ ให้ชว่ ยสอนงานน้องๆ และหัวหน้าก็จะชว่ ยดูแล
น้องๆด้วย เชน่ กัน สาหรบั พัฒนากรป้ายแดง ของอาเภอเองนนทบุร ี น้ัน อายุ เกิน 40 ปขี ้ึนไป ทงั้
2 คน หญิง 1 ชาย 1

ประสบการณ์ทแี่ ตกต่าง
ข้าพเจา้ เคยได้รบั มอบหมายให้ชว่ ยสอนงานน้องพัฒนาการบรรจุใหม่ และน้องทบี่ รรจุใหม่

จะอายุ ประมาณ ไม่เกิน 25 35 ปี และน้องก็จะหัวไว ทางานไว เรยี นรงู้ า่ ย สอนครงั้ เดี๋ยวก็ทาได้ แต่
ประสบการณ์ที่แตกต่างก็คือ น้องๆรุน่ น้ี อายุ 40 ปี ขึ้นไป และไม่เคยมีประสบการณ์ในการทางาน
ราชการ และงานพื้นท่ี ข้าพเจ้าจงึ ต้องเปลี่ยนวธิ กี ารสอนงานน้องๆใหม่ เพราะจะมาใชว้ ธิ แี บบเดิม
ไม่ได้ แบบเดิมหมาย ถึง ทาให้ดูเป็นตัวอย่าง 1 ครง้ั และให้น้องไปหาข้อมูลมา และดูท่ีข้าพเจา้ ทา
เชน่ วทิ ยากรบูรณาการแผนตาบล ขา้ พเจา้ ทาเปน็ ตัวอยา่ งในเวทจี รงิ 1 ครง้ั ครงั้ ต่อไปน้องต้องเปน็
วทิ ยากรได้

วธิ คี ิดทีต่ ้องเปลี่ยนแปลง
เม่ือขา้ พเจา้ ทราบถึง สาเหตุว่าน้องๆ รนุ่ นี้จะมาสอนแบบเดิมๆไม่ได้ จงึ เรม่ ิ สอนแบบ พดู คุย

ทาความเข้าใจ และปฏิบัติให้ดูซ้าๆ สังเกตว่า น้องเก่งด้านไหน และปรกึ ษา พัฒนาการอาเภอ
เราดึงความเก่งของน้องออกมาได้ในด้านทน่ี ้องถนัด

พูดคุย = สอบถามน้องว่าไม่เข้าใจงานด้านไหน และทาให้น้องสบายใจมากทีส่ ุดในการทเ่ี รา
ทางานรว่ มกัน เปดิ ใจคยุ กับน้อง และข้าพเจา้ จะขอโทษน้องๆหากข้าพเจา้ ทาผิด

ทาความเข้าใจ = เราต้องเข้าใจในตัวน้องๆ ว่าน้องมีลักษณะนิสัยเป็นอย่างไร เชน่ น้องโอ
เป็นคนไม่ค่อยกล้าพูด ไม่กล้าถาม เราก็พูดกับน้องเสมอว่า มีอะไรไม่เข้าใจถามพี่ได้นะค่ะ
จนปจั จุบันนี้น้องกล้าถาม กล้าพูดคุย มากข้ึน น้องอ๊อด เป็นน้องท่กี ังวลใจกับเรอ่ ื งงานมากๆ เชน่
ประชุมสตร ี น้องจะกังวลใจกลัวว่าจะทาหนังสือเชิญประชุมไม่ทัน ข้าพเจ้าจะพูดกับน้องเสมอว่า

ใจเย็นๆ เรามีปฏิสัมพันธท์ ี่ดีกับผู้นา ให้เราแก้ปัญหาโดยการ โทรไปแจ้งให้ผู้นาทราบก่อนว่าจะมี
ประชุมสตร ี และแจง้ ให้ผู้นาทราบว่า หนังสืออยู่ระหว่างลงนามนะค่ะ เม่ือเรยี บรอ้ ยแล้วจะนาส่ งค่ะ
น้องก็คลายกังวลใจ

ทาให้ดูซ้าๆ = การทาให้ดูซ้าๆหลายครง้ั เพื่อให้น้องเข้าใจ เชน่ การทักทายผู้นา ย้ิมก่อน
ไหว้ก่อน ด่ืมน้ามั้ยค่ะ ด่ืมกาแฟม้ัย วันน้ีมีอะไรให้ พช.ชว่ ยม้ัยค่ะ ลงพ้ืนที่พบปะผู้นา ส่ิงเหล่านี้จะ
เปน็ สิ่งทท่ี าให้ผู้นาประทบั ใจในตัวเราและหน่วยงานของเรา และเมื่อเราต้องการความชว่ ยเหลือใน
เรอ่ ื งงาน ผู้นาเหลา่ นี้จะยินดีชว่ ยเหลอื เราอยา่ งสุดกาลัง

สังเกตว่าน้องเก่งด้านไหน = และดึงความสามารถของน้องออกมา เชน่ น้องโอ เก่งในเรอ่ ื ง
การทาข่าวประชาสัมพันธ์ เก่งเรอ่ ื งคอมพิวเตอร์ น้องอ๊อดเก่งเรอ่ ื งงานเอกสาร เราจะชมเชยน้อง
เมื่อน้องทาดี และถูกต้อง เปน็ การให้กาลงั ใจอย่างหน่ึงทาให้น้องมีความมั่นใจในการทางานมากข้ึน

คาพูดทขี่ า้ พเจา้ พูดกับน้องๆเสมอ คือ เราต้องเก่งงานให้ได้รอบด้าน พ่ีอยากให้น้องได้เรยี นรู้
งานให้มากทสี่ ุด น้องเปน็ ขา้ ราชการเมื่อน้องยา้ ยไปอยู่ทอ่ี ืน่ พ่ีไม่อยากให้ใครมาพูดได้วา่ น้องบรรจุมา
ทางานได้แค่น้ีเองหรอื

(สาหรบั ขา้ พเจา้ คาพดู น้ี คืออยากใหน้ ้องมกี าลงั ใจในการทางาน)

ปจั จุบนั ในความคิดส่วนตัวของข้าพเจา้ น้องพัฒนากรปา้ ยแดง ทงั้ 2 คน ทางานเก่งขึน้ กล้าคิด
กลา้ ซกั ถาม กล้าลงพนื้ ท่ี และมีขอ้ เสนอแนะ

ทาให้กับขา้ พเจา้ และพัฒนาการเสมอ ต้องตอบเปน็ เสียงเดียวกันเสมอวา่ ดีมากน้อง โอ น้องอ๊อด
เปน็ ความคิดทดี่ ี และเราทางานกันเปน็ ทมี

……………………………………………………………………………………………………………………..



01
02
03

1. ชื่อองค์ความรู้

เทคนิคการใช้ผู้นำแห่งความศรัทธาในการส่งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัว ตามแผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผักสวนครัวเพื่อ
สร้างความมั่นคงทางอาหารของวัดทุ่งตะลุมพุก

2. ชื่อเจ้าของความรู้

นางสาวกาญจนา ยี่โต๊ะ ตำแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการสังกัด

สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองปราจีนบุรี (โทรศั พท์ 097 - 2055559,ID Line: eve_smile)

3. องค์ความรู้ที่บ่งชี้

หมวดหมู่องค์วามรู้ ภารกิจนโยบายสำคัญ ประเด็นองค์ความรู้ย่อย งานนโยบายสำคัญ ตามแผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผัก
สวนครัว เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร

4. ที่มาและความสำคัญในการจัดทำองค์ความรู้

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย มุ่งหวังพัฒนาให้ทุกครัวเรือน อยู่เย็น เป็นสุข ด้วยการน้อมนำแนวพระ
ราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สร้างความมั่นคงทาง
อาหาร สู่ปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผักสวนครัว เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร รอบ 2 และบูรณาการ โครงการวัด ประชารัฐ
สร้างสุข ด้วยพลังของหลักบวร ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพี่น้องประชาชน เป็นแนวทางในการส่งเสริมสนับสนุนให้
ชุมชนปลูกพืชผักสวนครัว สร้างความมั่นคงทางอาหาร สร้างภูมิคุ้มกัน สร้างอาหาร นำพาครอบครับและชุมชนให้รอดพ้น
จากวิกฤตได้ โดยวัดหรือผู้นำทางศาสนา ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน เป็นต้นแบบแห่งความดีงาม จากวัดสู่
ชุมชน ในฐานะที่พระสงฆ์เป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ วัดที่เป็นศูนย์กลาง เป็นสถานที่อันเป็นที่พึ่งของชุมชน เพื่อให้งาน
พัฒนาชุมชนประสบผลสำเร็จเป็นรู ปธรรม

วัดทุ่งตะลุมพุก ตำบลโนนห้อม อำเภอเมืองปราจีนบุรี โดยการนำของพระอาจารย์
พระอธิการบุญมี ฐานวุฑโฒ เจ้าอาวาสวัดทุ่งตะลุมพุก เป็นผู้นำการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชน ตามหลัก “บวร” เป็นกลไก
ในการพัฒนาและสร้างชุมชนให้มีความเข้มแข็ง บูรณาการทำงานร่วมกันเพื่อเป็นเสาหลัก เป็นแกนกลางในการพัฒนา
ชุมชน ประสานพลังด้วยการร่วมมือกันสร้างความมั่นคงทางอาหารในชุมชน ผสานส่วนราชการภาครัฐร่วมด้วยช่วยกัน
โดยสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองปราจีนบุรี ได้เข้ามาขับเคลื่อนนโยบายของกรม การพัฒนาชุมชนประสานความร่วม
มือระหว่างภาคีเครือข่ายในชุมชน ด้วยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน จากการขับเคลื่อนการปลูกผักสวนครัว เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร โดยยึดหลัก “บวร” จนเกิดผลสำเร็จอย่าง
เป็นรูปธรรม โดยปัจจุบัน วัดทุ่งตะลุมพุก เป็นวัดต้นแบบให้แก่ประชาชนในการปลูกผักสวนครัว เป็นคลังอาหาร คลังองค์
ความรู้ คลังเมล็ดพันธุ์ผักแก่ชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ งในการสร้างวัฒนธรรมการปลูกผักสวนครัว สร้างเศรษฐกิจฐานราก
และชุมชนพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน

5. รูปแบบ กระบวนการ หรือลำดับขั้นตอน

5.1 สร้างความรู้ความเข้าใจ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอรับทราบนโยบาย โดยการศึ กษาหลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์ของโครงการตามแผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผักสวนครัวเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร
5.2 สร้าง Big Dataพัฒนากรสำรวจข้อมูล และรวบรวมรายชื่อวัด โรงเรียน และเครือข่ายต่างๆ ในตำบลที่รับผิดชอบของ
ตนเอง
5.3 สร้าง Road map ประชุมวางแผนการดำเนินงาน กำหนดวิธี และขั้นตอนการดำเนินการ
5.4 สร้างการสื่อสาร โดยการประชาสัมพันธ์ นโยบายการส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวตามแผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผัก
สวนครัวเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร แก่ผู้นำต่างๆ เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำ อช. ผู้นำสตรี ในหมู่บ้าน เป็นต้น
5.5 สร้างการจดจำ กำหนดจุด Kick off การปลูกผักสวนครัวในวัด ตำบลละ 1 จุด เพื่อสร้างการรับรู้ ไปสู่ไปวัดอื่นๆ ในทุก
ตำบล โดยวัดทุ่งตะลุมพุกเป็นวัดหนึ่ งที่เข้าร่วมกิจกรรม ที่ใช้บริเวณรอบเมรุวัดในการสร้างแปลงผัก สร้างความแปลกตา
และเป็นที่จดจำแก่ผู้พบเห็น
5.6 สร้างการรับรู้ โดยการถ่ายภาพ คลิปวีดีโอ กิจกรรมปลูกผัก เพื่อประชาสัมพันธ์ในช่องทางต่างๆ เช่น สร้างหน้าเพจวัด
ที่แชร์เรื่องราวเกี่ยวกับกิจกรรม และเทคนิควิธีการเพาะปลูก เพื่อเป็นการเชิญชวนให้ประชาชนเกิดความสนใจ
5.7 สร้างเครือข่าย สนับสนุนในรูปแบบ บวร
วัด - ผู้นำทางจิตใจ เป็นแหล่งเรียนรู้
บ้าน - สนับสนุนปัจจัย และแรงงาน
โรงเรียนหรือราชการ - สนับสนุนองค์ความรู้
5.8 สร้างการมีส่วนร่วม โดยวัดทุ่งตะลุมพุกมีเทคนิควิธีที่น่าสนใจ ในการสร้างแรงจูงใจให้แก่ประชาชน ด้วยวิธีการเพาะ
เมล็ดพันธุ์ กิ่งพันธุ์พืชผักแจกจ่ายให้กับชาวบ้าน ที่มาทำบุญที่วัด แทนการแจกวัตถุมงคลทั้งประชาชนใกล้เคียง และต่าง
จังหวัด ส่งผลให้เกิดการส่งต่อวัฒนธรรมการปลูกพืชผัก และการแบ่งปันให้เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
5.9 สร้างความต่อเนื่อง พัฒนากร ลงพื้นที่ติดตามสนับสนุน ให้กำลังใจ มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนนโยบายของวัดอย่าง
ต่อเนื่ อง

6. เทคนิคในการปฏิบัติงาน
ความสำเร็จของวัดทุ่งตะลุมพุก เกิดจากวัดมีผู้นำทางธรรมชาติในการพัฒนา พระภิกษุสุสามเณร ถือเป็นผู้นำที่เกิด

จากความศรัทธา มิใช่เป็นเพียงผู้นำโดยตำแหน่ง จึงไม่ใช่การบังคับหรือสั่งให้ทำ การมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่นั้น
พบว่า หัวใจหลักของความสำเร็จ คือ “ความศรัทธา” หรือความเชื่อ จึงเป็นการง่ายที่จะสร้างการพัฒนาให้เกิดขึ้นในชุมชน
“วัดคือศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน พระคือผู้นำทางธรรมชาติที่มีความมั่นคงสูง” เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในวงกว้างได้
ง่าย โดยกุญแจสำคัญคือ “ผู้นำต้องเป็นผู้ลงมือทำก่อน เสียสละก่อน” สะท้อนให้เห็นว่า การพัฒนาชุมชนนั้น ไม่ใช่หน้าที่
ของผู้นำคนใดคนหนึ่ งเท่านั้น แต่เป็นหน้าที่ของประชาชนทุก ๆ คน ที่สามารถลุกขึ้นมาเป็นผู้นำในการพัฒนาชุมชนท้อง
ถิ่นของตนเองได้ นั่นก็คือผู้นำทางธรรมชาติซึ่งเป็นบุคคลที่ชาวบ้านให้การยอมรับนับถือ ผ่านการลงมือทำจริงด้วยความ
มุ่งมั่นตั้งใจ โดยการจะเป็นผู้นำที่สร้างความศรัทธา ให้เกิดขึ้นได้นั้น จำเป็นต้องเกิดจากความเชื่อ 4 ประการ ดังนี้

1. เชื่อมั่น คือ การสร้างความมั่นใจให้เกิดแก่ผู้ตาม ให้เกิดความมั่นใจได้ว่า เราสามารถจะเป็นผู้นำพาองค์กรไปสู่ความ
สำเร็จได้ โดยเจ้าอาวาสวัดทุ่งตะลุมพุก ท่านเป็นผู้นำที่สร้างความเชื่อมั่นให้กับทีมงาน มีเกียรติ ภูมิ ภูมิรู้ ภูมิปัญญา รู้แจ้ง
รู้จริง และมีความมั่นคงในฐานะ มีความมั่นคงในอารมณ์หรือที่เรียกว่าวุฒิภาวะทางอารมณ์และการควบคุมอารมณ์ของผู้นำ
สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ร่วมงานหรือบุคคลทั่วไปได้

2. เชื่อมือ หมายถึง นอกจากภูมิรู้ ภูมิปัญญาแล้ว ผู้นำยังแสดงฝีมือให้ปรากฏด้วยประสบการณ์และความสำเร็จจากที่อื่นของผู้นำ
ยังไม่มีค่าเทียบเท่าพอกับสิ่ งที่ได้ทำลงมือทำให้ผู้ร่วมงาน หรือประชาชนได้ประจักษ์ชัดด้วยสายตาว่า ท่านเจ้าอาวาสวัดทุ่ง
ตะลุมพุกเป็นผู้ที่มีฝีมือจริง สามารถให้กับแนะนำแก่ประชาชนได้ สมดังคำเล่าลือสร้างความเชื่อมือได้เป็นอย่างดี
3. เชื่อถือ หมายถึง การสร้างความเชื่อถือแก่บุคคลทั่วไป โดยได้รับความเคารพนับถือในคุณสมบัติความเป็นผู้นำ ไม่ใช่ด้วยวัยวุฒิ
หรือชาติวุฒิหรือวุฒิทางการศึ กษา แต่เป็นความเชื่อถือที่เกิดจากการรักษาคำพูด พูดแล้วต้องปฏิบัติได้ตามนั้น พฤติกรรมและคำ
พูดต้องสอดคล้องเป็นไปในทางเดียวกัน สัญญาแล้วต้องทำได้จริง ซึ่งวัดทุ่งตะลุมพุก มีกิจกรรมเพาะเมล็ดพันธุ์กิ่งพันธุ์ผัก แจก
จ่ายให้กับประชาชนในวันสำคัญ งานบุญ แทนวัตถุมงคล ซึ่งวัดได้แจกให้ประชาชนจริง เป็นการสร้างความเชื่อถือได้เป็นอย่างดี
บทพิสูจน์ ของความเชื่อถือ
4. เชื่อใจ หมายถึง การไว้วางใจต่อผู้นำ โดยบุคลิกของท่านเจ้าอาวาสวัดทุ่งตะลุมพุก ท่านเป็นผู้ที่มีความเมตตากรุณา มีใจรัก
และมีอุดมการณ์แน่วแน่ในสิ่ งที่ทำ มีความเปิดเผยสุจริตใจเป็นที่พึ่งพาอาศั ยของประชาชนและลูกศิ ษย์ได้

กล่าวโดยสรุปได้ว่า ความสำเร็จของวัดทุ่งตะลุมพุก ในการเป็นผู้นำต้นแบบในการปลูกพืชผักสวนครัวสร้างความมั่นคงทาง
อาหารนั้น เกิดจากตัวผู้นำ ซึ่งวัดเป็นศูนย์รวมแห่งจิตใจ พระเป็นผู้นำแห่งความศรัทธา ที่ประกอบด้วย ความเชื่อมั่น เชื่อมือ เชื่อ
ถือ เชื่อใจ ซึ่งความศรัทธานั้น เป็นพลังอำนาจ ที่ไม่ใช่การบังคับ หรือการสั่งการ แต่สามารถนำพาความสำเร็จให้แก่องค์กร เกิด
การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนได้ในวงกว้างและรวดเร็ว เป็นการใช้พลังชุมชน ในการพัฒนาชุมชนอย่างแท้จริง

7. ปัญหาที่พบและแนวทางการแก้ไขปัญหา
7.1 ปัญหาที่พบ

1) การขาดความตระหนัก เนื่องจากประชาชนขาดความตระหนักถึงความสำคัญของการปลูกพืชผักสวนครัว โดยส่วนใหญ่
มีทัศนคติว่าไม่มีพื้นที่ในการเพาะปลูก ซื้อรับประทานสะดวกกว่าปลูกเอง

2) การยึดติดกับสิ่ งอำนวยความสะดวก ปัจจุบันความเจริญทางวัตถุมีมากขึ้น ประชาชนสามารถเป็นเจ้าของสิ่ งอำนวยความ
สะดวกเหล่านั้น เช่น ซุปเปอร์มาเก็ต บริการส่งอาหาร เป็นต้น

3) การขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการดูแลรักษาพืชผักสวนครัว เมื่อภาครัฐสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ กิ่งพันธุ์ไป
ประชาชนที่ขาดความรู้ อาจประสบความสำเร็จตามที่คาดหวัง ส่งผลให้ขาดกำลังใจในการดำเนินการต่อ
7.2 แนวทางแก้ไข

1) การสร้างความตระหนักถึงคุณค่าของการสร้างความมั่นคงทางอาหาร โดยการตระหนักว่าการปลูกพืชผักสวนครัว ไว้ใน
ทุกครัวเรือนนั้น มีประโยชน์อย่างไร อาจชี้ให้เห็นถึงความเดือดร้อนในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำท่ามกลางสงครามการแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรัส – 19 ในปัจจุบัน

2) การสร้างความรู้เท่าทันตนเอง ที่จะไม่ยึดติดกับสิ่ งอำนวยความสะดวกจนเกินความพอเพียงโดยการรู้เท่าทันตนเอง ไม่
หลงใหลไปกับสิ่ งยั่วยุจากภายนอก โดยการชี้ให้เห็นถึงผลเสียของเทคโนโลยี สารเคมีตกค้างในพืชผักผลไม้ ให้ประชาชนเห็น
ความสำคัญของอาหารปลอดภัย

3) การมีความรู้ความเข้าใจ และมีองค์ความรู้ที่เข้าถึงง่าย โดยผู้ที่มีหน้าที่ส่งเสริมควรติดตามสนับสนุนต้องทราบปัญหา
ความต้องการของประชาชน และคอยให้กำลังใจ ให้มีความพร้อมที่จะเปิดใจศึ กษา ซึ่งช่วงแรกอาจจะยากแต่หากเริ่มต้นทำจากนำ
ไปใช้ทีละน้อยๆ จนเป็นนิสัย

4) การเผยแพร่ข้อมูลผ่านสื่อเกี่ยวกับกิจกรรม โดยแทรกเนื้อหาของเทคนิควิธีการเพาะปลูก เกร็ดความรู้ในการดูแลรักษา
กลุ่มและบุคคลต้นแบบ จะช่วยให้บุคคลมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดแรงบันดาลใจในการเริ่มต้นปลูกผักมากขึ้น

8. ประโยชน์ขององค์ความรู้
องค์ความรู้ เรื่องเทคนิคการใช้ผู้นำแห่งความศรัทธาในการส่งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัวตามแผน ปฏิบัติการ 90 วัน

ปลูกผักสวนครัวเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารของวัดทุ่งตะลุมพุก ที่ข้าพเจ้าเขียนนี้ เกิดจากการถอดบทเรียนในกิจกรรม
การส่งเสริมการปลูกผักสวนครัว เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร ตามหลัก “บวร” พบแก่นความรู้ว่า การจะเข้าไปส่งเสริม
ให้ประชาชนเกิดการมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืนนั้น ต้องเกิดจากปัจจัยสำคัญคือ “การสร้างความศรัทธา ให้เกิดขึ้นก่อน” ฉะนั้น
หน่วยงาน หรือเจ้าหน้าที่จำเป็นต้องสร้างความเชื่อมั่น เชื่อมือ เชื่อถือ เชื่อใจ แก่ประชาชน ไม่ใช่เพียงใช้การออกคำสั่ง หรือ
แนวทางที่คลาดเคลื่อนเลื่อนลอยไร้แก่นสาร ยกตัวอย่างเช่น วัดทุ่งตะลุมพุกได้สร้างการมีส่วนร่วมในการปลูกผักสวนครัว
โดยเริ่มจากการลงมือทำจริง มีการศึ กษาให้รู้แจ้งเห็นจริง ตลอดจนวัดสามารถสนับสนุนปัจจัยที่จำเป็นในการปลูกผัก ให้แก่
ประชาชนได้จริง เกิดวัฒนธรรมการปลูกผักภายในตำบล และนอกตำบลอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การดำเนินนโยบายบรรลุผล
สำเร็จได้อย่างยั่งยืน

9. ข้อมูลประกอบอื่นๆ
ภาพประกอบกิจกรรมการขับเคลื่อนการปลูกผักสวนครัว เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร ตามหลัก “บวร” ของพระ

อธิการบุญมี ฐานวุฑโฒ เจ้าอาวาสวัดทุ่งตะลุมพุก ผ่านหน้าเพจ Facebook “วัดทุ่งตะลุมพุก”

๑. ชื่อความรู้

ศูนย์เรียนรู้ โคก หนอง นา สร้างอาชีพ แบ่งปันความรู้ หมู่ที่ 5 ตำบลหนองกี่
อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี

๒. เจ้าขององค์ความรู้

นางสาวพัชรพร จิรแพศยสุข ตำแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ
สังกัด สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอกบินทร์บุรี

๓. องค์ความรู้ที่บ่งชี้

หมวดที่ 1 สร้างสรรชุมชนพึ่งตนเองได้

๓. ที่มาและความสำคัญในการจัดการองค์ความรู้

"โคก หนอง นา โมเดล" เป็นการทำเกษตรแนวใหม่ ที่ยึดหลักของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น
หลัก โครงการนี้ ใช้เงินของมูลนิธิชัยพัฒนาส่วนหนึ่ ง ใช้เงินของราชการส่วนหนึ่ ง โดยวิธีขุด
บ่อน้ำ เพื่อใช้น้ำนั้นมาทำการเพาะปลูก ตาม “เกษตรทฤษฎีใหม่” ตามพระราชดำรัสของ พระบาท
สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร โดยกรมการพัฒนา
ชุมชนได้น้อมนำแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในพื้นที่ชนบท ตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง และแนวคิดทฤษฎีใหม่เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เกิดความสุข ดำเนินชีวิตอย่าง
พอเพียง โดยได้จัดทำโครงการศูนย์ศึ กษาและพัฒนาชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง ด้วยการน้อมนำศาสตร์พระราชามาเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่โคก หนอง นา โมเดล เพื่อให้เกิด
กระบวนการเรียนรู้ การมีส่วนร่วม การพึ่งพาตนเอง เพื่อให้สามารถบริหารจัดการตนเองและ
ชุมชนให้มีความสุขได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระ
ราชดำริ ทั้งนี้ บ้านทด หมู่ที่ 5 ตำบลหนองกี่ อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี มีผู้เข้าร่วม
โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง
นา โมเดล” กรมการพัฒนาชุมชน นายอุทาน มะลิวัลย์ ปัจจุบันพื้นที่ที่เข้าสู่โครงการแห่งนี้ ได้
กลายเป็นศูนย์การเรียนรู้ของหมู่บ้าน อันเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการทำเกษตร การเลี้ยงสัตว์ การทำ
นา และ เป็นสถานที่ที่คนในชุมชนมาฝึกอาชีพร่วมกัน

5. รูปแบบ กระบวนการ หรือลำดับขั้นตอน

บ้านทด หมู่ที่ 5 ตำบลหนองกี่ อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ได้เข้าร่วม โครงการ

หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดย นายอุทาน มะลิวัลย์ ได้เข้าร่วม

โครงการ ดำเนินการพื้นที่จำนวน 1 ไร่ ตลอดระยะเวลาการดำเนินการเจ้าของแปลงให้ความร่วม

มือเป็นอย่างดี และดูแลพื้นที่อยู่เสมอ แต่ละครั้งที่ทางสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอกบินทร์บุรีได้

เข้าไปติดตามหรือเยี่ยมชมแปลงจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โดยลำดับการเปลี่ยนแปลงที่เกิด

ขึ้น ดังนี้

1) มีการปลูกพืชพันธุ์มากขึ้น ได้แก่ มะนาว เสาวรส กล้วย สะเดา และ ต้นแค เป็นต้น

2) พื้นที่นาในแปลงมีการลงแขกร่วมกันโดยคนในชุมชนมาร่วมกันทำนาในแปลงพื้นที่

ต้นแบบโคกหนองนา ตามฤดูกาลทำนา

3) เลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ อันได้แก่ ปลา ไก่ และ หนู
4) มีการทำปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง และจำหน่ายในชุมชน
5) บริเวณหน้าทางเข้าแปลงโคก หนอง นา เจ้าของแปลงจัดเป็นพื้นที่ตลาดสำหรับให้

คนในชุมชนนำสินค้ามาขายในช่วงเช้า เป็นตลาดขนาดเล็กภายในหมู่บ้าน 3
6) จัดกิจกรรมฝึกอาชีพยังแปลงพื้นที่ต้นแบบ เพื่อให้ชุมชนมาร่วมกัน ฝึกอาชีพ สร้าง

รายได้และนำผลิตภัณฑ์กลับบ้าน

6. เทคนิคในการปฏิบัติงาน

1) สำนักงานพัฒนาชุมชน ติดตามและเยี่ยมเยียนยังแปลงพื้นที่ต้นแบบโคกหนองนาอยู่

เสมอ

2) นำโครงการหรือกิจกรรมมาในพื้นที่ โดยจัดกิจกรรม ณ แปลงพื้นที่ต้นแบบ เพื่อให้

แปลงพื้นที่ต้นแบบเป็นที่คุ้นเคยในการทำกิจกรรมของชุมชน และให้เป็นพื้นที่ศูนย์การเรียนรู้

ของหมู่บ้าน

3) ร่วมกิจกรรมหรือโครงการกับชุมชนทุกครั้งที่มีการจัดกิจกรรม เพื่อสร้างความใกล้ชิด

ระหว่าง ศูนย์การเรียนรู้เจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานพัฒนาชุมชน เจ้าของแปลง และคนใน

ชุมชน

7. ปัญหาที่พบและแนวทางการแก้ไขปัญหา

1) ช่วงที่ฝนตกบ่อย เป็นอุปสรรคในการทำกิจกรรม จึงแก้ปัญหาในการทำกิจกรรมใน

พื้นที่ที่เป็นที่ร่มในแปลงต้นแบบ หรือเตรียมอุปกรณ์ที่สามารถทำกิจกรรมในที่ร่มได้

2) ในช่วงแรกศูนย์การเรียนรู้โคกหนองนาอาจเป็นสถานที่ใหม่สำหรับชุมชน จำเป็น

ต้องมีโครงการและกิจกรรมในพื้นที่แปลงต่อเนื่อง เพื่อสร้างความคุ้นเคยระหว่างศูนย์การเรียนรู้

กับชุมชน

8. ประโยชน์ขององค์ความรู้

1) เพื่อเป็นประโยชน์และแนวทางในการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้
2) เพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์การเรียนรู้ โคก หนอง นา

กับชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนคุ้นเคยกับศูนย์การเรียนรู้และเข้ามาใช้งานในพื้นที่ศูนย์การเรียนรู้

9. ข้อมูลประกอบอื่น

รูปพื้นที่แปลงพื้นที่ต้นแบบ โคก หนอง นา
บ้านทด หมู่ที่ 5 ตำบลหนองกี่ อำเภอกบินทร์บุรี นายอุทาน มะลิทอง

1. ชื่อองค์ความรู้

สั มมาชีพชุมชนสร้างสรรค์ชุมชนพึ่งตนเอง

2. ชื่อเจ้าของความรู้

นางสาวสนอง แพนลา ตำแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอกบินทร์บุรี อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี

3. องค์ความรู้ที่บ่งชี้

หมวดที่ 1 สร้างสรรค์ชุมชนพึ่งตนเองได้

4. ที่มาและความสำคัญในการจัดทำองค์ความรู้

ประชาชนส่วนใหญ่ของอำเภอกบินทร์บุรี ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ เช่น ทำนา

ทำไร่ ทำสวน ปัจจุบันเกษตรกร มีสภาวะความเสี่ ยงในการลงทุนสูงมากปัญหาเกิดจากโรค

ระบาดจากไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้มีผลกระทบทางเศรษฐกิจส่งผลให้ราคาผลผลิตตกต่ำ ราย

ได้ไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ มีการรวมตัวตั้งกลุ่มอาชีพค่อนข้างน้อย เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหา

ให้มีรายได้เพียงพอต่อการใช้จ่ายในครัวเรือน และเป็นการเพิ่มรายได้ให้แก่ประชาชนในชุมชน

ตามนโยบายของรัฐบาล ที่มุ่งเน้นการยกระดับเศรษฐกิจฐานราก เพื่อให้คนในชุมชนมีการสร้าง

งาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ภายในชุมชน จึงเป็นที่มาของการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพใน

ชุมชน ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการส่งผลให้เศรษฐกิจฐานรากให้เติบโตไปได้

อย่างมีคุณภาพ เป็นการส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน ด้วยหลักการพึ่งตนเอง ในการแก้ไขปัญหาของ

ชุมชน ดังนั้นบทบาทของ นักพัฒนาชุมชน ในพื้นที่ ที่ต้องคอยเป็นที่ปรึกษาและกำกับดูแล

หมู่บ้านเป้าหมายตามโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน มีการดำเนินการขับเคลื่อนการปฏิบัติงาน

ให้เป็นไปตามแนวทางที่กรมการพัฒนาชุมชน กำหนด โดยมีเป้าหมายให้ครัวเรือนสัมมาชีพได้มี

โอกาส เรียนรู้ และพัฒนาอาชีพ ส่งเสริม สนับสนุน กระบวนการ “ชาวบ้าน สอนชาวบ้าน” มี

การฝึกปฏิบัติจริงให้สามารถนำไปประกอบอาชีพได้” รวมทั้งทำให้วิทยากรสัมมาชีพชุมชน เป็น

กลไกหลัก ในการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนและสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการสร้าง

สัมมาชีพ ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการส่งเสริมสนับสนุนในระดับหมู่บ้าน

5. รูปแบบ กระบวนการ และขั้นตอน มีกระบวนการและขั้นตอน ดำเนิน

การ ดังนี้

(๑) เตรียมความพร้อมข้อมูลปราชญ์ชาวบ้านในการฝึกอบรมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน จัดทำ


ทะเบียนข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน โดยแยกความเชี่ยวชาญปราชญ์ออกเป็น ๓ ด้าน ได้แก่ด้าน


การเกษตร ด้านการแปรรูป และด้านการท่องเที่ยว
(๒) ร่วมกับคณะกรรมการหมู่บ้าน คัดเลือกปราชญ์ชาวบ้านหรือผู้ประสบความสำเร็จหรือมี


ความเชี่ยวชาญใน อาชีพ ที่พร้อมเข้ารับการอบรมเป็นวิทยากรผู้ถ่ายทอดสัมมาชีพ จำนวน 1 คน

จากเวทีประชาคม เข้าอบรมการพัฒนา ทักษะการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับปราชญ์ชุมชน

(๓) ประสานและสนับสนุนวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ให้กลับไปสร้างทีมในหมู่บ้าน โดยการ

คัดเลือก ปราชญ์ชุมชนหมู่บ้านละ ๔ คน รวมเป็น ๕ คน เพื่อสร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน

ระดับหมู่บ้าน

(๔) ศึ กษาแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชนจากเอกสารแนวทางสร้างสัมมาชีพชุมชน ของ

กรมการพัฒนาชุมชน ทั้งจากเอกสารคู่มือ และสื่อการเรียนรู้เรื่องสัมมาชีพชุมชน เพื่อเตรียม

สนับสนุนข้อมูล และร่วมกับทีม วิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน เพื่อให้การดำเนินงาน

สร้างสัมมาชีพ จำนวน ๒๐ คน เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมประสาน

พื้นที่ดำเนินการ ประสานผู้นำชุมชนเตรียมพื้นที่ในการ ดำเนินการสร้างสัมมาชีพชุมชน

(๕) ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ดำเนินการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนใน

ระดับหมู่บ้าน โดยในส่วนพัฒนากร ทำหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุนข้อมูล อุปกรณ์ สื่อการ

เรียนรู้ การส่งเสริมการสร้าง สัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน

(๖) ถอดองค์ความรู้ปราชญ์ชุมชน โดยใช้เทคนิคประชุมกลุ่มย่อยทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน

ระดับหมู่บ้าน กระตุ้นให้แต่ละคนเล่าเรื่องราวในการประกอบอาชีพ ความภาคภูมิใจในการ

ประกอบอาชีพ และผลที่ได้ จากการประกอบอาชีพ โดยถอดองค์ความรู้เป็นเอกสาร เพื่อเผยแพร่

ประชาสัมพันธ์ผ่านทาง สื่อต่างๆ และเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์อำเภอ จังหวัด กรมฯ

(๗) ติดตาม และสรุปประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยเข้าเยี่ยมเยียน และให้

กำลังใจครัวเรือนเป้าหมายอย่างต่อเนื่ อง

๖. เทคนิคในการปฏิบัติงาน

(๑) นักวิชาการพัฒนาชุมชน (พัฒนากร) ต้องศึ กษาข้อมูลการดำเนินงานแนวทางสัมมาชีพ

ชุมชนตามคู่มือแนวทางการสร้าง สัมมาชีพชุมชน ให้เกิดความเข้าใจที่ชัดเจน เพื่อจะได้น

ดำเนินการในระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ รวมทั้งกำหนดแผนการดำเนินกิจกรรม/

โครงการให้ชัดเจน

(๒) คัดเลือกปราชญ์ชุมชน ต้องเป็นปราชญ์ที่มีองค์ความรู้ที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน

และคนใน ชุมชนสนใจ สามารถต่อยอดให้เกิดการพัฒนาเป็นอาชีพได้

(๓) คัดเลือกครัวเรือนเป้าหมาย จำนวน ๒๐ คน ต้องสมัครใจและตั้งใจฝึกอาชีพ เพื่อประกอบ

อาชีพ ให้เกิดรายได้อย่างแท้จริง

(๔) ใช้กระบวนการ “ชาวบ้านสอนชาวบ้าน” และยึดหลักการทรงงาน “ระเบิดจากข้างใน”

และ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือให้ชาวบ้าน สอนชาวบ้านกันเองในสิ่ งที่เขาอยากรู้ ในสิ่ งที่

เขาต้องการและ อยากจะทำ ลงมือปฏิบัติเอง โดยยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทาง

ปฏิบัติ

๗. ปัญหาที่พบและแนวทางการแก้ไขปัญหา

ปราชญ์ชุมชน ในพื้นที่ส่วนใหญ่จะมีองค์ความรู้ ภูมิรู้ ภูมิปัญญา คล้ายๆกันเป็นส่วนใหญ่ จะมี

แตกต่างกันบ้างในบางอาชีพแต่ไม่ถึงกับชำนาญการ แต่เพื่อให้เกิดความหลากหลายในอาชีพ

บางอาชีพก็มาฝึกเรียนรู้ร่วมกัน มาแชร์กัน เกิดเป็นองค์ความรู้ที่สมบูรณ์แบบขึ้น

๘. ประโยชน์ขององค์ความรู้

(๑) หมู่บ้านเป้าหมาย มีผู้นำวิทยากรสัมมาชีพ และ ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนที่สามารถ

ถ่ายทอดความรู้ด้านอาชีพ ให้กับครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน

(๒) เกิดกลุ่มอาชีพ ในหมู่บ้าน สามารถทำเป็นอาชีพเสริม และสร้าง รายได้ให้กับครัวเรือน
(๓) หมู่บ้านมีการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวทางสัมมาชีพ ซึ่ง

เป็นการ ประกอบอาชีพที่ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น และไม่เบียดเบียนสิ่ งแวดล้อม

01
02
03

















www.facebook.com/CDLC.Nakhonnayok
training-nakhonnayok.cdd.go.th

CREDITS: This presentation template was
created by Slidesgo, including icons by Flaticon,

and infographics & images by Freepik


Click to View FlipBook Version