มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ สิทธิรัตน์ รุ่งมี เสนอ นางสาวนิตยรัตน์ ขวัญคง รหัสนิสิต 641011282 นางสาวนิรชร พรหมมาลา รหัสนิสิต 641011284 นางสาวนิสารัตน์ เกลี้ยงหวาน รหัสนิสิต 641011285 นางสาวนุชรี แสงมะณี รหัสนิสิต 641011286 นางสาวรัชนีกร วีวัชนะ รหัสนิติต 641011297 นางสาวสิริกานดา นิลวาโย รหัสนิสิต 641011301 รายวิชาการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 0106362
มหาวิทยาลัยรังสิต คำ นำ E-book เล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการ พิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 0106362 มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับมหาวิทยาลัย รังสิต โดยคณะผู้จัดทำ ได้ริเริ่มประมวลความรู้และ สร้างสรรค์เนื้อหารูปแบบ E-book เพื่อเป็นทางเลือก สำ หรับผู้ที่สนใจที่อยากศึกษาเนื้อหาที่เข้าถึงเข้าใจ และ สะดวกในการศึกษาเนื้อยิ่งขึ้น คณะผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า E-book เล่มนี้ เป็นสื่อการเรียนรู้ที่สามารถสร้างความรู้เพื่อส่งต่อสิ่งดี ๆ ให้เกิดประโยนช์แก่ผู้ศึกษาเรื่องนี้ให้ดียิ่งขึ้นสืบไป คณะผู้จัดทำ
เรื่อง หน้า มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลคณะวิชา ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เครื่องหมายมหาวิทยาลัย สัตว์ประจำ มหาวิทยาลัย ดอกไม้ประจำ มหาวิทยาลัย ระเบียบการแต่งกาย แผนที่มหาวิทยาลัย ข้อมูลติดต่อ การอ้างอิง 1 3 4 4 4 4 5 6 6 7 8 8 9
"ที่บริเวณรังสิตนั้น ครั้งหนึ่งเคยเป็นอู่ข่าวอู่น้ำ ที่สำ คัญ เลี้ยงชีวิตคนนับล้าน ที่นี่เคยเป็นบ่อเกิดแห่งความหวัง ความฝัน และจินตนาการ มหาวิทยาลัยรังสิตได้ถือ กำ เนิดและเติบโตที่นี่ในสภาพที่เป็น ทุ่งร้างวังเวงแทบจะไม่เหลือร่องรอยอดีตอันเรืองรองใดๆ บัดนี้ เรากำ ลังบุกเบิกหนทางใหม่ เราจะให้ที่นี่เป็นความ หวังทางการศึกษาสร้างชีวิตของผู้คนนับแสนให้มีอนาคต ที่รุ่งเรืองสดใสและเชื่อมั่นว่าด้วยปณิธานและความทุ่มเท กายใจของพวกเรา สิ่งที่มุ่งหวังไว้จะต้องเป็นจริง" ปณิธานนี้เป็นจุดเริ่มต้นและแรงบันดาลใจของคณะผู้ก่อ ตั้งโครงการมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งประกอบด้วย นัก วิชาการ ผู้ชำ นาญการจากรัฐวิสาหกิจ และเพื่อนๆ ของ คุณพ่อประสิทธิ์ อุไรรัตน์ ได้ร่วมลงทุนด้วยเงินกว่า 150 ล้านในการเริ่ม โครงการเมื่อปีพ.ศ. 2526 ด้วยความเห็นที่ตรงกันว่า การศึกษาระดับอุดมศึกษา ของประเทศยังไม่เพียงพอกับ ความต้องการ โดยเฉพาะในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสาขาวิชาชีพที่สำ คัญ ซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีในด้านการ บริหาร การจัดการการผลิต การบริการและวิชาชีพอิสระ ที่จะสามารถสร้างงานของตนเองได้ มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อมูลพื้นฐาน 1
โครงการมหาวิทยาลัยรังสิตจึงถือกำ เนิดขึ้นบนผืน ที่ดินซึ่งครั้งหนึ่งเป็นพื้นที่นาที่เคยอุดมสมบูรณ์ มีลักษณะ เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเชื่อมติด กับสามเหลี่ยมหน้าจั่ว กว้างกว่า 161 ไร่ โดยในวันที่ 7 กรกฎาคม 2527 นายกสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี พร้อมด้วยคณะผู้ก่อ ตั้งได้ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ อาคารหลังแรกของ โครงการชื่อ “ อาคารประสิทธิรัตน์ ” เพื่อใช้เป็นทั้ง ห้องเรียน ห้องสมุด ห้องทำ งาน และสำ นักงานของคณะ บริหารธุรกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ โครงการศิลปศาสตร์ และสำ นักงานของหน่วยงานบริการทุกสายงานและใน ช่วงเวลาต่อเนื่องกับการสร้างอาคารประสิทธิรัตน์การเริ่ม ต้นก่อสร้างอาคารประสิทธิ์พัฒนาซึ่งเป็นอาคารหอพักสูง 12 ชั้น 2 หลัง และอาคารโรงอาหารรูปดอกเห็ดก็ ดำ เนินการควบคู่กันไป ต้นปี พ.ศ. 2529 ทุ่งนาที่รกร้าง และวังเวงได้เปลี่ยนสภาพไปโดยสิ้นเชิง จากถนนพหลยิน มองตรงไปทางทิศตะวันตกมองเห็นธงไตรรงค์และธง ประจำ มหาวิทยาลัยรังสิตสีฟ้าบานเย็นโบกสะบัดอยู่ เหนือพื้นดินอันกว้างใหญ่ที่เคยเป็นทุ่งกว้างและ นาร้างมาก่อน ต่อมาเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2533 ก็ได้รับการอนุมัติให้เป็นมหาวิทยาลัย ครั้นวันที่ 29 พฤศจิกายน 2533 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดำ เนินมาเป็นประธานในพิธีสถาปนาวิทยาลัย รังสิตขึ้นสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยโดยสมบูรณ์ นับเป็น ศิริมงคลแก่มหาวิทยาลัยรังสิตเป็นอย่างสูง มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อมูลพื้นฐาน 2
กลุ่มคณะวิชาแพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สุขภาพ เช่น แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ พยาบาลศาสตร์ เป็นต้น กลุ่มคณะวิชาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น วิศวกรรมศาสตร์ นวัตกรรมดิจิทัลและทคโนโลยี สารสนเทศ นวัตกรรมเกษตรและเทคโนโลยีอาหาร และสถาบันการบิน เป็นต้น กลุ่มคณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เช่น นวัตกรรมสังคม สถาบันการทูตและการต่าง ประเทศ นิเทศศาสตร์ นิติศาสตร์ เป็นต้น กลุ่มคณะวิชาศิลปะและการออกแบบ เช่น ดนตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์ การออกแบบ เป็นต้น กลุ่มคณะวิชาเศรษฐกิจและธุรกิจ เช่น บริหารธุรกิจ บัญชี เป็นต้น มหาวิทยาลัยรังสิตเป็นสถาบันอุดมศึกษา ที่ได้รับการ ประเมินจากสำ นักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ให้เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน เพียงแห่งเดียวที่ได้รับการจัดให้อยู่ในระดับ “ดีมาก” ใน กลุ่มสถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิต จัดการเรียนการสอน โดยแบ่งกลุ่มคณะวิชาออกเป็น ๕ กลุ่ม ได้แก่ ปัจจุบันเปิดสอนในระดับปริญญาตรี 83 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 36 หลักสูตร และระดับปริญญาเอก 11 หลักสูตร รวม 130 หลักสูตร มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อมูลคณะวิชา 3
“ยึดมั่นตามหลักการ บริหารด้วยความถูกต้องโปร่งใส ใส่ใจสภาพแวดล้อม พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง” มหาวิทยาลัยรังสิต ปรัชญา “พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการ เพื่อสนับสนุนให้ องค์กรขับเคลื่อนแบบองค์รวม อย่างมีประสิทธิภาพ” ปณิธาน “มีระบบบริหารและการจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล และได้มาตรฐานสากล” วิสัยทัศน์ พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพโดยใช้ หลักธรรมาภิบาล ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ อย่างมีคุณธรรม สอดคล้องกับนโยบายและเป้า หมายของมหาวิทยาลัย นำ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหาร และจัดการอย่างต่อเนื่อง 1. 2. 3. พันธกิจ 4
โลกุตระ หมายถึง จุดมุ่งหมายอันสูงส่งของมวล มนุษย์คือการบรรลุสภาวะความรู้แจ้งในธรรม โดย มีปัญญาเป็นแสงส่องทางสู่การบรรลุธรรมขั้นสูงสุด ดวงอาทิตย์ หมายถึง พรายแสงแห่งปัญญาที่ให้ แสงสว่างส่องมายังโลกสร้างภูมิพลังหล่อเลี้ยงชีวิต มนุษย์ สรรพสัตว์ พืชพันธุ์ธัญญาหาร และสิ่งมี ชีวิตทั้งมวล ตามวัตถุประสงค์ที่จะสร้างสถาบันอุดมศึกษา ที่มี ความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่งเสริมการพัฒนาความรู้และ เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อสร้างสรรความเจริญก้าวหน้า แก่ ประเทศชาติอย่างแท้จริง เครื่องหมายของมหาวิทยาลัย รังสิต จึงประกอบด้วย โลกุตระ และดวงอาทิตย์ 1. 2. ปรัชญาของมหาวิทยาลัยรังสิตภายใต้สัญลักษณ์ใหม่ เพื่อสนองวัตถุประสงค์ในการสร้างสถาบันอุดมศึกษาที่มี ความเป็นเลิศทางวิชาการส่งเสริมการพัฒนาความรู้และ เทคโนโลยีใหม่ๆ ความใส่ใจในการเรียนรู้ต่อเนื่องตลอด ชีวิตผนวกกับจิตสำ นึกที่ดีงามและคุณธรรม เพื่อสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าให้แก่ประเทศชาติ เครื่องหมายของมหาวิทยาลัยรังสิตจึงเปรียบเสมือนดวง อาทิตย์ที่สาดส่องพรายแสงแห่งปัญญานำ มรรคาเยาวชน สู่สภาวะความรู้แจ้งในธรรม เพื่อเป็นพลังสรรค์สร้าง สังคมธรรมาธิปไตยที่ถือธรรมเป็นใหญ่ ถือความถูกต้อง เป็นหลัก มหาวิทยาลัยรังสิต เครื่องหมายมหาวิทยาลัย 5
สัตว์ที่เป็นสัญลักษณ์ประจำ มหาวิทยาลัย คือ เสือ ใช้เป็นสัญลักษณ์ของทีมฟุตบอลมหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต สัตว์ประจำ มหาวิทยาลัย ดอกพะยอม ดอกแก้วเจ้าจอม ชื่อพื้นเมือง : กะยอม ขะยอม ขะยอมดง พะยอมดง แคน เชียง เซี่ยว พะยอม พะยอมทอง ยางหยวก เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใบเดี่ยว เรียงสลับ ขอบใบ เป็นคลื่น ออกช่อดอกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาว มี กลิ่นหอม ผลเป็นผลแห้ง ตำ รายาไทยใช้เปลือก ต้นเป็นยา ฝาดสมาน แก้ท้องเดิน และลำ ไส้อักเสบ สารที่ออกฤทธิ์คือ แทนนิน ดอกเข้ายาหอมบำ รุงหัวใจ และลดไข้ นอกจากนี้ยัง ใช้เปลือกต้นเป็นสารกันบูด เป็นไม้พุ่มกลม ใบย่อยรูปรีปลายมน ขนาดไม่เท่ากัน คู่ปลายจะยาวที่สุด ดอกเล็กๆ สีฟ้า ๕ กลีบ เกสรสีเหลือง ๘-๑๐ อัน ออกดอกเป็นกระจุกตามปลายกิ่ง ช่วงเวลาที่ ออกดอกประมาณเดือนสิงหาคม-ตุลาคม ขยายพันธุ์ด้วย การเพาะเมล็ดหรือตอนกิ่ง เป็นไม้ประดับที่มีดอกพรั่งพรู งดงามน่ารัก แก้วเจ้าจอมมีปลูกไว้ที่ทางเข้ามหาวิทยาลัย รังสิตในสนามด้านซ้ายมือ และที่ริมสระนํ้าด้านหน้าของ อาคารหอสมุด ดอกไม้ประจำ มหาวิทยาลัย 6
ให้สวมเสื้อเชิ้ตสีขาวไม่มีลวดลาย แขนยาว หรือ สั้นก็ได้ ถ้าใช้แขนยาว ต้องไม่พับแขน กางเกงให้ใช้สีกรมท่า สีดำ และสีน้ำ ตาลเข้ม (อนุโลมให้ใช้สีเทาออกดำ ได้) รูปทรงของ กางเกง ต้องเป็นทรงสุภาพ ไม่มีลวดลาย รองเท้าใช้รองเท้าหุ้มส้นสีดำ (อนุโลมให้ใช้รองเท้า กีฬา หรือรองเท้าผ้าใบสีอ่อนสุภาพ) เนคไทสีกรมท่า มีตรามหาวิทยาลัยอยู่ ตรงกลาง เข็มขัดสีดำ พร้อมหัวเข็มขัดสัญลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย ให้ใช่เสื้อเชิ้ตสีขาวแขนสั้นไม่มีจีบผ้าเนื้อเรียบ ไม่มี ลาย ติดกระดุมโลหะ สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย กระโปรงสีกรมท่า สีดำ หรือสีน้ำ ตาลเข้ม (อนุโลม ให้ใช้สีเทาออกดำ ได้) ผ้าที่ใช้ ต้องเป็นผ้าเนื้อเรียบ ไม่มีลาย แบบเรียบสุภาพ ไม่รัดทรง ความยาวพอ เหมาะ เข็มขัดสีดำ พร้อมสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย รองเท้าหุ้มส้นสีดำ แบบสุภาพ(อนุโลมให้ใช้รองเท้า กีฬา หรือรองเท้าผ้าใบสีอ่อนสุภาพ) เข็มกลัดเครื่องหมายสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยติดอก เสื้อด้านซ้าย นักศึกษาชาย 1. 2. 3. 4. 5. นักศึกษาหญิง 1. 2. 3. 4. 5. มหาวิทยาลัยรังสิต ระเบียบการแต่งกาย 7
มหาวิทยาลัยรังสิต แผนที่มหาวิทยาลึัย เลขที่ 52/347 หมู่บ้านเมืองเอก ถ.พหลโยธิน ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000 โทร : 02-791-6000 อีเมล : [email protected] เวลาทำ การ วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 8:30–16:30 วันเสาร์ - วันอาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ ปิดทำ การ ข้อมูลติดต่อ 8
มหาวิทยาลัยรังสิต. (2010). ข้อมูลมหาวิทยาลัย รังสิต. สืบค้นวันที่ 12 ตุลาคม 2566, จาก https://www2.rsu.ac.th/Home มหาวิทยาลัยรังสิต การอ้างอิง หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยรังสิต. (2018). ประวัติมหาวิทยาลัยรังสิต. สืบค้นวันที่ 12 ตุลาคม 2566, จาก https://archives.rsu.ac.th/post.html 9
THANK YOU