The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by n.tvuds22, 2020-02-18 23:33:11

โครงงานคอมเรื่องสื่อการสอนเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน

โครงงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
เรือ่ ง สอ่ื การสอนเรื่องระบบภูมิค้มุ กัน

นางสาวอารยา จัดทำโดย ม.5/3 เลขท่ี 15
นางสาววรรณภัสสร ม.5/3 เลขท่ี 18
นางสาวพชั รอิ ณั ณ์ สมิ าชัย ม.5/3 เลขที่ 23
นางสาวปทมุ พร เดชดา่ นสมทุ ร ม.5/3 เลขที่ 33
นางสาวพรหมพร ศรีพนั ธไุ์ ม้ ม.5/3 เลขที่ 39
ถาวรอุดมทรพั ย์
เสรีเรอื งโรจน์

ครูทปี่ รกึ ษา

คุณครูปรีชา กิจจาการ

โรงเรยี นราชวินิตบางแกว้
สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 6
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน



ชื่อ : นางสาวอารยา สิมาชยั

ช่ือเรื่อง นางสาววรรณภสั สร เดชดา่ นสมทุ ร
รายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ นางสาวพัชรอิ ัณณ์ ศรพี ันธไุ์ ม้
ครูท่ปี รึกษา
ปีการศกึ ษา นางสาวปทุมพร ถาวรอุดมทรัพย์

นางสาวพรหมพร เสรีเรอื งโรจน์

: สอื่ การสอนเรอื่ งระบบภูมิค้มุ กนั

: โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5/3

: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

: คณุ ครูปรชี า กิจจาการ

: 2562

บทคดั ยอ่

โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง สื่อการสอนเร่ือระบบภูมิคุ้มกัน จัดทำขึ้นเพ่ือเป็นส่ือ
การเรียนรู้แก่นักเรียนนักศึกษาหรือผู้ท่ีสนใจ คณะผู้จัดทำไดเ้ ล็งเหน็ ความสำคัญของการเรียนรู้ จึง
ได้สร้างโครงงานนี้ขึ้นมา โดยการจัดทำส่ือการเรียนเก่ียวระบบภูมิคุ้มกัน เพ่ือให้นักเรียนนักศึกษา
หรือผทู้ ีส่ นใจสืบค้นได้งา่ ยและเข้าใจรวดเรว็

โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องสื่อการสอนเร่ือระบบภูมิคุ้มกัน ได้นำข้อมูลในเร่ือง
ระบบภูมิคุ้มกันโดยมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยจัดทำแอปพลิเคชันผ่านโปรแกรม
Thunkable Anyflip Slideshareในการทำสื่อการสอน เพื่อให้ทันสมัยและสะดวกสบายแก่
ผู้อ่านและผทู้ ีส่ นใจ

โดยปัจจุบนั รอบๆตัวเราเต็มไปด้วยเช้ือแบคทีเรยี เชื้อไวรัส และเชือ้ โรคเล็กๆมากมาย โดย
ท่ีเราไม่รู้ตัวหรือไม่สามารถมองเห็นและในแต่ละวันเราสัมผัสกับเชื้อโรคอย่างนับไม่ถ้วน สื่อการ
สอนน้ีได้นำเสนอการศึกษา เรื่อ ระบบภูมิคุ้มกันในส่ิงมีชีวิต จึงเป็นส่ือท่ีมีประโยชน์อย่างย่ิง และ
เปน็ การนำแอพพลเิ คชันตา่ งๆมาใช้ไดอ้ ย่างเกิดประโยชน์



กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงงานน้ลี ุลว่ งไดด้ ว้ ยความกรุณาชว่ ยเหลือ แนะนำ ให้คำปรึกษา ตรวจสอบแก้ไข
ขอ้ บกพรอ่ งตา่ ง ๆ ด้วยความเอาใจใสอ่ ย่างดีย่งิ จาก คณุ ครปู รชี า ครูผสู้ อนรายวิชาสารสนเทศ
ผู้เขยี นกราบขอบพระคณุ เป็นอย่างสูง

ขอขอบพระคณุ ครู ธนัชพร เกดิ รุง้ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์โรงเรียน
ราชวินติ บางแก้วทกี่ รุณาใหผ้ ู้เขียนได้สมั ภาษณ์เรอ่ื งเก่ยี วกับระบบภมู ิคมุ้ กนั

ขอขอบคณุ ผ้ปู กครองและญาติพ่ีน้องทุกคนท่ชี ่วยเหลอื สนบั สนุนท้งั ด้านกำลังใจ
และกำลงั ทรัพยด์ ้วยดีตลอดมา นอกจากนย้ี ังมีผทู้ ใี่ ห้ความรว่ มมือชว่ ยเหลืออกี หลายทา่ น ซงึ่
ผูเ้ ขยี นไม่สามารถกล่าวนามในที่นี้ไดห้ มด จึงขอขอบคณุ ทกุ ทา่ นเหล่าน้ันไว้ ณ โอกาสนด้ี ้วย

คุณค่าท้งั หลายทีไ่ ดร้ ับจากรายงานการศึกษาความเรยี งขัน้ สูงฉบบั นี้ ผู้เขยี นขอ
มอบเปน็ กตญั ญกู ตเวทแี ดบ่ ิดามารดา และบูรพาจารย์ท่เี คยอบรมส่งสอน รวมทง้ั ผู้มพี ระคุณทกุ
ทา่ น

สารบัญ ค
เรื่อง หน้า
บทคดั ย่อ
กติ ติกรรมประกาศ ก
สารบัญ ข
บทที่ 1 บทนำ ค
1
- ท่มี าและความสำคัญ
- วัตถปุ ระสงค์ 2
- ขอบเขตของโครงงาน 9
- ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 12
บทท่ี 3 อปุ กรณแ์ ละวิธกี ารดำเนนิ การ
- ขั้นตอนการดำเนนิ การ
- วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมลู
- วัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมทใี่ ช้ในการพัฒนาโครงงาน
บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน
- ผลการพัฒนาโครงงาน
- การทดสอบแอพพลเิ คชันส่ือการสอน

เรอื่ ง ง
หน้า
บทที่ 5 สรปุ ผลการดำเนินงานและขอ้ เสนอแนะ
16
- .การดำเนินงานจัดทำโครงงาน
- สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงงาน 17
- ข้อเสนอแนะ 18

บรรณานุกรม
ภาคผนวก

1

บทที่1

บทนำ

1.ทม่ี าและความสำคญั

ปัจจุบันรอบๆตวั เราเต็มไปดว้ ยเช้ือแบคทเี รีย เชื้อไวรสั และเชือ้ โรคเลก็ ๆมากมาย โดยท่ีเรา
ไม่รตู้ วั หรือไมส่ ามารถมองเห็นได้ด้วยตา ไม่ว่าจะเปน็ เดก็ ผู้ใหญ่ หรือคนชรา มนุษย์ตอ้ งสมั ผสั กบั
เช้อื โรคต้งั แต่อยใู่ นครรภ์ นอกจากนัน้ ในตวั เรามเี ชอื้ โรคมากมาย และในแต่ละวนั เราสมั ผสั กบั เชือ้
โรคอยา่ งนับไมถ่ ว้ น

ปญั หาของคนไทยสว่ นใหญจ่ ะป่วยหรอื ไมส่ บายได้งา่ ยเนอื่ งจากมีภมู ิคุ้มกันท่ีตำ่ และไม่
คอ่ ยยอมดูแลตัวเอง อาจเปน็ เพราะการทำงานท่ีหกั โหม หรอื สภาพแวดล้อมที่เปลีย่ นแปลงไป ทำ
ให้ปว่ ยหรอื ไม่สบายได้งา่ ย โดยเฉพาะอย่างย่ิงกบั เดก็ เพราะเชือ้ โรคจะซ่อนตง้ั แตอ่ ยใู่ นท้องของแม่
และจะคอ่ ยๆเข้าสู้ร่างกายเรา แตท่ ัง้ นก้ี ข็ นึ้ อยู่กบั ภูมคิ มุ้ กันของแต่ละคนวา่ จะมมี ากหรือนอ้ ย
เพยี งใด

คณะผูจ้ ัดทำได้เล็งเห็นความสำคญั ของการเรยี นรู้ จงึ ได้สร้างโครงงานนี้ขนึ้ มา โดยการ
จดั ทำสื่อการเรยี นเกย่ี วระบบภูมิค้มุ กนั เพือ่ ให้นักเรียนนักศึกษาหรือผู้ทสี่ นใจสามารถเรียรู้ได้
สะดวกมากยง่ิ ขึน้ และเข้าใจรวดเรว็
2. วัตถปุ ระสงค์
2.1. เพ่ือใช้เป็นส่อื การสอนให้ความรู้แก่ผูท้ สี่ นใจเกี่ยวกับระบบภูมคิ มุ้ กนั
2.2.เพอ่ื ใหผ้ ู้ศึกษามีความสะดวกในการเรยี นรมู้ ากย่ิงขน้ึ
3.ขอบเขตของโครงงาน

สร้างสื่อการเรียนการสอน เพือ่ เผยแพร่ความรูเ้ ก่ียวกบั ระบบภูมิคมุ้ กัน โดยใชโ้ ปรแกรม
Thunkable Anyflip Slideshare ในการทำสือ่ การสอน
4.ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ
4.1. ผ้ทู ี่สนใจมคี วามเข้าใจเกีย่ วกับระบบภมู ิคุ้มกันมากขน้ึ
4.2.ผู้สนใจได้เติมเตม็ ความรู้ความเข้าใจและเผยแพรต่ ่อได้

4.3.ผู้ศึกษามคี วามสะดวกในการเรยี นรูม้ ากยง่ิ ขนึ้

2

บทที่ 2

เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง

ระบบภมู ิค้มุ กัน (Immune System)

ปกตแิ ลว้ ร่างกายของคนเราไดร้ ับสิ่งแปลกปลอมตา่ ง ๆ เข้าสูร่ ่างกายอยูเ่ ปน็ ประจำทกุ วนั
อาทิ เแบคทีเรีย ไวรสั เช้ือรา สารเคมี ฝนุ่ ละออง ทเ่ี จอื ปนอยู่ในอากาศ อาหาร และนำ้ ดื่มสิง่
แปลกปลอมเหล่านีจ้ ะเรียกว่า แอนติเจน (Antigen) สิง่ แปลกปลอมอาจเข้าสู่ร่างกายโดยทาง
ระบบหายใจ ผิวหนงั ระบบหมุนเวียนโลหติ หรอื ระบบยอ่ ยอาหาร เมอ่ื ร่างกายไดร้ ับส่ิง
แปลกปลอมเข้าไป ก็อาจทำใหเ้ กิดอาการเจ็บป่วยและโรคภยั ตา่ ง ๆ ได้ ดังน้ัน ร่างกายจึงต้องมี
กลไกเพ่อื ปอ้ งกัน กำจัด หรอื ทำลายส่งิ แปลกปลอมเหล่าน้ันออกจากร่างกาย เช่น การสร้างสารคดั
หล่งั ตา่ ง ๆ ท่ีมีฤทธ์ทิ ำลายแบคทเี รีย กรดแลกตกิ ทถี่ กู ขบั ออกมาทางผวิ หนงั เพื่อชว่ ยยบั ยัง้ การ
เจริญเตบิ โตของแบคทเี รยี หรอื แมแ้ ตข่ นจมกู และนำ้ เมอื กในระบบทางเดนิ หายใจ สงิ่ เหล่านจ้ี ะทำ
หนา้ ทีก่ ำจดั สงิ่ แปลกปลอมในเบอ้ื งตน้ แต่ถา้ หากสงิ่ แปลกปลอมทเ่ี ขา้ สรู่ ่างกายยังถูกกำจัดหรือ
ทำลายไมห่ มด รา่ งกายจะมีกลไกอีกหนึ่งอย่างซ่ึงทำหน้าท่ีกำจัดและทำลายสิง่ แปลกปลอมโดย
เซลล์พเิ ศษท่ีเรยี กว่า ฟาโกไซต์ ตวั อยา่ งเชน่ เซลล์เม็ดเลือดขาวในกระแสเลอื ด จะทำหนา้ ทีก่ ำจดั
ส่งิ แปลกปลอมโดยผา่ นกระบวนการ ฟาโกไซโทซสิ (Phagocytosis)

องค์ประกอบระดบั เซลลท์ เ่ี ก่ยี วข้องกบั ระบบภมู ิคมุ้ กัน

ระบบภูมิคมุ้ กันในรา่ งกายเปน็ ระบบท่เี กิดจากการทำงานรว่ มกนั ขององค์ประกอบตา่ ง ๆ
ในร่างกาย ไดแ้ ก่ เซลลเ์ ม็ดเลือดขาว แอนตบิ อดใี นกระแสเลอื ดและสารคัดหล่ัง และอวยั วะตา่ ง ๆ
ในระบบนำ้ เหลืองซึ่งแตล่ ะองค์ประกอบมลี กั ษณะและบทบาททีส่ ำคัญ ดงั น้ี

1. เมด็ เลือดขาว (leukocyte หรือ white blood cell; WBC)

เม็ดเลือดขาวทพี่ บในร่างกายของมนุษย์และสัตว์เลยี้ งลูกด้วยน้ำนมชนดิ ต่าง ๆ จะแบ่งได้
เปน็ 2 กลมุ่ คอื เม็ดเลือดขาวทไ่ี มม่ กี รานลู และเมด็ เลอื ดขาวที่มกี รานูลดังนี้

3

1) เมด็ เลอื ดขาวท่ไี ม่มีกรานูล (agranulocytes)

1. เม็ดเลอื ดขาวชนิดโมโนไซต์ (monocyte) เป็นเมด็ เลือดขาวในกลุ่มทไี่ มม่ กี รานูล พบได้
ประมาณ 3-8% ของเม็ดเลอื ดขาวท้งั หมด มขี นาดใหญ่ มเี ส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 12-20
ไมโครเมตร รูปรา่ งกลม มีนวิ เคลยี สเปน็ รูปไตหรือรูปเกือกมา้

เมด็ เลือดขาวชนดิ โมโนไซตจ์ ะมีหนา้ ทเ่ี ป็นเซลล์ภูมคิ ุ้มกนั ทสี่ ะกดกลืนกนิ แอนติเจน
จำพวกเชอื้ จลุ ินทรยี ด์ ว้ ยการเปลี่ยนแปลงจากเซลล์โมโนไซต์ไปเปน็ เซลล์แมคโครฟลาสต์เพ่ือทำ
หน้าท่ีนี้ โดยเมด็ เลอื ดขาวชนดิ นจ้ี ะคงอยู่ในกระแสเลือดได้เป็นระยะเวลา 3 วัน

2. เม็ดเลอื ดขาวชนดิ ลิมโฟไซต์ (lymphocyte) เป็นเซลลเ์ ม็ดเลือดขาวท่ีไม่มีกรานูล พบ
ได้ประมาณ 20-35% ของเมด็ เลอื ดขาวทง้ั หมด มขี นาดเล็ก มีเส้นผา่ ศูนยก์ ลางประมาณ 7-9
ไมโครเมตร รปู ร่างกลม นิวเคลยี สกลม มีโครมาทนิ อัดแน่นอย่ใู นนวิ เคลียส เมอ่ื ยอ้ มจะตดิ สมี ่วง
สามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 2 ชนิด คอื ลมิ โฟไซต์ชนิดที และลมิ โฟไซตช์ นิดบี

-ลิมโฟไซตช์ นดิ ที (T-lymphocyte หรอื thymusdependent lymphocyte) เป็นเม็ด
เลือดขาวลมิ โฟไซต์ทส่ี ร้างจากเซลล์ต้นกำเนิด (stem cell) ในไขกระดูก (bone marrow) เมื่อ
เมด็ เลือดขาวน้ีไปอยูท่ ีต่ อ่ มไทมสั จะถกู ชกั นำให้เกดิ การเปล่ียนแปลง ไดเ้ ปน็ เซลล์ต้งั ต้นและ
เปลย่ี นแปลงต่อไปเปน็ เซลล์ลิมโฟไซต์ชนดิ ที ซึ่งทำหนา้ ทเ่ี ป็นเซลลภ์ มู ิคมุ้ กันทส่ี ะกดกลืนกนิ หรือ
ทำลายส่งิ แปลกปลอมท่เี ข้าสเู่ น้อื เยอื่ ของร่างกาย

-ลมิ โฟไซต์ชนดิ บี (B-lymphocyte หรือ Bursadependent lymphocyte) เปน็
เมด็ เลือดขาวลมิ โฟไซต์ทส่ี ร้างจากเซลลส์ ่วนที่ไมม่ กี ารเจริญของไขกระดกู ในระยะตัวอ่อน ด้วยการ
กระตุ้นให้เป็นลมิ โฟไซต์ชนิดบี ซึ่งมีหน้าทเ่ี ป็นระบบภมู คิ ุม้ กันจากกระแสเลือดและสารคดั หลัง่

2) เม็ดเลือดขาวท่ีมีกรานูล (granulocyte

1. เม็ดเลือดขาวชนิดนิวโทรฟลิ (Neutrophil หรอื polymorphonuclear cell;
PMN) พบไดป้ ระมาณ 60-70% ของเม็ดเลอื ดขาวทัง้ หมด เป็นเม็ดเลือดขาวรูปรา่ งกลม มีขนาด
ใหญ่ เสน้ ผ่าศนู ย์กลางประมาณ 12-15 ทำหน้าที่เปน็ ด่านแรกในการกำจดั สง่ิ แปลกปลอม

4

2. เมด็ เลอื ดขาวชนิดอโี อซโิ นฟิล (Eosinophil) พบประมาณ 2-5% ของเม็ดเลือด
ขาวทัง้ หมดเป็นเม็ดเลอื ดขาวขนาดกลาง เสน้ ผ่าศนู ย์กลางประมาณ 10-15 ไมโครเมตร เม่อื ย้อมสี
จะติดสแี ดง

3. เม็ดเลือดขาวชนดิ เบโซฟลิ (Basophil) พบไดป้ ระมาณ 0.5-1% ของเมด็ เลอื ด
ขาวทัง้ หมด มีขนาดเล็กเส้นผ่าศนู ยก์ ลางประมาณ 12-15 ไมโครเมตร นวิ เคลยี สมรี ปู ร่างยาวหรอื
คลา้ ยตัวเอส (S) ในไซโทพลาซึมจะมีกรานลู พิเศษกระจายอยจู่ ำนวนมาก หากยอ้ มสีจะตดิ สนี ้ำเงนิ
เขม้

2. แอนติบอดใี นกระแสเลอื ดและสารคดั หลง่ั

การสรา้ งภูมติ า้ นทานทเี่ ปน็ แอนตบิ อดี เปน็ ลกั ษณะการตอบสนองของระบบภูมคิ มุ้ กันจาก
กระแสเลือดและสารคดั หลง่ั หรอื HIR โดยแอนติบอดีต่าง ๆ ถกู สรา้ งขึ้นจากเม็ดเลือดขาวลิมโฟ
ไซตช์ นดิ บี ซึ่งสามารถตอบสนองสง่ิ แปลกปลอมท่ีมีความจำเพาะ โดยเม่ือแอนติเจนพบกบั ลมิ โฟ
ไซต์ชนิดบี จะทำใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงเพิม่ ปริมาณและปรับเปลีย่ นไปเปน็ เซลล์พลาสม่าท่ี
สามารถผลิตแอนตบิ อดี ซงึ่ มีฤทธจิ์ ำเพาะตอ่ แอนตเิ จนหรอื สง่ิ แปลกปลอมน้นั

กลไกการตอ่ ต้านและทำลายส่ิงแปลกปลอมแบบไมจ่ ำเพาะ

ดา่ นป้องกนั เชอื้ โรคของรา่ งกายดา่ นแรก คือ ผิวหนงั ซ่ึงสามารถกรดบางชนดิ ออกมากบั
เหงอ่ื ชว่ ยในการยับยัง้ แบคทีเรยี นำ้ ตาและก็มฤี ทธทิ์ ำลายเช้อื โรคได้ในระบบทางเดนิ อาหารก็มีกรด
เเละเมือกคอยกำจัดเชอ้ื โรค รวมท้ังเมือกท่ีอยูใ่ นระบบหายใจดว้ ยเชน่ กนั ผิวหนังมเี คอราตนิ ซ่งึ เป็น
โปรตนี ท่ไี ม่ละลายนำ้ เป็นองคป์ ระกอบอัดแน่นภายในเซลล์และเซลล์เรียงตวั กันหลายช้นั ช่วย
ป้องกันการเข้าออกของสิง่ ตา่ งๆ

ใต้ผวิ หนงั บางบริเวณยงั มีต่อมเหง่ือและตอ่ มไขมนั หลงั่ สารบางชนดิ เช่น กรดไขมัน กรด
แลกติก ทำใหผ้ ิวหนังมสี ภาพเปน็ กรด ซ่ึงเปน็ ภาวะท่ีไมเ่ อ้อื ต่อการเจรญิ เตบิ โตของจลุ นิ ทรียบ์ าง
ชนิด นอกจากนีท้ างเดินอาหาร ทางเดนิ หายใจ ท่อปัสสาวะ ชอ่ งคลอด ซึง่ ติดตอ่ กบั ภายนอกยังมี
เยอ้ื บุท่ีทำหน้าที่ควบคมุ การเข้าออกของสาร มกี ารสร้างเมือกและมีซิเลยี คอยดักจบั สง่ิ
แปลกปลอมและพัดพาออกนอกรา่ งกาย และพบว่าในนำ้ ตา น้ำลาย ยังมีไลโซไซม์ ท่ีชว่ ย

5

ทำลายเชื้อโรคบางชนิดได้ ในกระเพาะอาหารมีสภาพเปน็ กรดและมีเอนไซมช์ ว่ ยย่อยและทำลาย
จลุ ินทรยี บ์ างชนิดได้

แต่ถ้าสิ่งแปลปลอมผา่ นด่านปอ้ งกนั ดงั กลา่ วขา้ งต้นเข้าสรู่ ่างกายได้ รา่ งกายกจ็ ะมวี ิธีการ
ต่อต้านและทำลายส่ิงแปลกปลอมโดยกระบวนการฟาโกไซโทซิสของเซลล์เมด็ เลอื ดขาวพวกโมโน
ไซตซ์ ึงออกจากกระแสเลอื ดไปยงั เน้ือเยอื่ และมีขนาดใหญ่ขึน้ กลายเปน็ แมโครฟาจ และยังมเี ซลล์
เมด็ เลือดขาวชนิดนิวโทรฟิลกบั อิโอซโิ นฟลิ ชว่ ยทำลายจลุ ินทรีย์ต่างๆ ดว้ ย

การอกั เสบเป็นกระบวนการต่อตา้ นเชอ้ื โรคหรือสิง่ แปลกปลอมของระบบภมู ิค้มุ กันของ
ร่างกาย โดยผา่ นกลไกต่างๆ เพอ่ื ยบั ย้ังและดึงดูดองค์ประกอบตา่ งๆ ของระบบภูมคิ ุ้มกันมายงั
บริเวณนน้ั เชน่ การอักเสบของบาดแผลท่ีติดเช้ือ จะมีอาการปวดบวมแดง ร้อน ปรากฏให้เหน็

กลไกการต่อต้านหรือทำลายสิง่ แปลกปลอมแบบจำเพาะ

กลไกการตอ่ ต้านหรือทำลายสง่ิ แปลกปลอมแบบจำเพาะจะเกย่ี วขอ้ งกบั การทำงานของ
เซลลเ์ มด็ เลือดขาวชนิดลมิ โฟไซต์ ไดแ้ ก่ เซลล์บี และเซลลท์ ี

การทำงานของเซลลบ์ ี

เมอื่ แอนตเิ จนถกู ทำลายด้วยวิธีฟาโกไซโทซิส ช้ินสว่ นที่ถกู ทำลายจะไปกระตนุ้ ให้เซลลบ์ ี
เพิ่มจำนวน เซลลบ์ ีบางเซลลจ์ ะขยายขนาดและเปลย่ี นแปลงไปทำหนา้ ทีส่ รา้ งแอนตบิ อดี
จำเพาะต่อแอนตเิ จนเรยี กวา่ เซลลพ์ ลาสมา(plasma cell)

เซลลท์ ีไ่ ด้จากเซลลบ์ ีแบง่ ตวั บางเซลลจ์ ะทำหน้าท่ีเป็นเซลล์เมมเมอร(ี memory cell) คือ
จะจดจำแอนติเจนนั้นๆ ไว้ ถ้าแอนตเิ จนนีเ้ ข้าสู่รา่ งกายอีก เซลล์เมมเมอรกี จ็ ะแบง่ ตัวอย่าง
รวดเรว็ และเจรญิ เป็นเซลลพ์ ลาสมาสร้างแอนตบิ อดอี อกมาทำลายแอนตเิ จน

การทำงานของเซลล์ที

เซลล์ทีจะรับแอนติเจนแตล่ ะชนิด เชน่ เซลลท์ บี างตัวจะรับแอนตเิ จนท่เี ป็นไวรสั ตับอกั เสบ
เซลลท์ ีบางตวั จะรบั รแู้ อนติเจนท่ีเปน็ เชื้อไขห้ วัดใหญ่ เป็นตน้ เซลล์ทีตวั แรกทต่ี รวจจบั แอนตเิ จน
เรยี กว่า เซลลท์ ีผ้ชู ว่ ย (helper T-cell หรอื CD4+) จะไปทำหนา้ ทีก่ ระตนุ้ เซลล์บีใหส้ ร้าง
แอนติบอดีต่อต้านแอนติเจน หรือกระตุ้นการทำงานของเซลลท์ อี น่ื เชน่ เซลลท์ ีท่ที ำลายส่ิง

6

แปลกปลอม (cytotoxic T-cell หรือ CD8+) เซลล์ทชี นดิ นีจ้ ะทำลายเซลล์แปลกปลอม หรือ
เซลลท์ มี่ ีส่ิงแปลกปลอม เช่น เซลลม์ ะเรง็ เซลล์ตดิ เช้ือไวรสั เซลลจ์ ากอวยั วะ ที่รา่ งกายได้รบั การ
ปลูกถา่ ย

เซลลท์ บี างเซลล์ทำหนา้ ท่ีควบคมุ การตอบสนองทางภมู ิคุม้ กันเรียกวา่ เซลล์ทกี ดภมู ิคุ้มกัน
(suppressor T-cell) โดยสร้างไปกดการทำงานของเซลล์บีและเซลล์ทีอ่ืนๆ

ประเภทของระบบภูมคิ ุม้ กนั ในร่างกาย

ระบบภูมิคมุ้ กันตา่ ง ๆ ในร่างกาย สามารถจำแนกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ตามลำดับข้ันตอน
การทำงานของร่างกาย คือ ระบบภูมคิ มุ้ กนั ปฐมภูมิ และระบบภมู คิ ุ้มกนั ทตุ ยิ ภมู ิ ดงั นี้

ระบบภูมคิ ้มุ กนั ปฐมภูมิ

เปน็ ระบบภูมิคมุ้ กนั ทเี่ ปน็ ด่านช้ันนอกสดุ เป็นการป้องกนั ดา้ นกายวิภาค อวัยวะท่ีเป็น
ระบบภมู คิ มุ้ กนั ปฐมภูมนิ ้ี ไดแ้ ก่ ผวิ หนัง ขนตา ขนตามอวยั วะต่าง ๆ ตลอดจนเยือ่ เมอื กตา่ ง ๆ ท่ีบุ
อย่ตู ามผวิ ของอวัยวะจดั เป็นระบบภูมิคมุ้ กนั แบบไม่จำเพาะเจาะจง

ระบบภูมคิ ุ้มกันทุตยิ ภูมิ

เปน็ ระบบภูมิคุ้มกนั ภายในรา่ งกายที่ถกู กระตุ้นให้แสดงออกเมือ่ มเี ชอ้ื จลุ ินทรีย์หรอื สิง่
แปลกปลอมบกุ รุกเขา้ มาในรา่ งกาย โดยสามารถจำแนกประเภทตามแหล่งทมี่ าของภูมิคุม้ กนั ได้
เปน็ 2 ประเภท คอื ภมู คิ ุ้มกนั ท่รี บั มาแต่กำเนดิ และภมู ิคุม้ กันท่รี ับมาภายหลัง

1) ภมู ิคุ้มกันท่รี บั มาแต่กำเนดิ (innate immunity) เป็นระบบภูมิคมุ้ กันทไ่ี ด้รบั มาจากแม่หรอื ติด
ตัวมาต้ังแตเ่ กดิ เปน็ ระบบภมู คิ มุ้ กนั ท่ีพร้อมทำงานไดท้ นั ที เมอ่ื มีการบุกรุกของเช้ือจุลนิ ทรียห์ รือสง่ิ
แปลกปลอมเข้าสู่ร่างกายภมู คิ ุ้มกันระบบนีจ้ ะไมม่ ีความจำเพาะเจาะจง และไมม่ กี ารจดจำชนดิ ของ
แอนตเิ จนท่เี ข้าสูร่ ่างกาย สามารถปอ้ งกันการบุกรกุ ของเช้อื จลุ ินทรียแ์ ละส่งิ แปลกปลอมต่าง ๆ
ด้วยการจับกนิ และยอ่ ยทำลาย โดยอาศยั การทำงานของเม็ดเลือดขาวกลุม่ ฟาโกไซต์ เชน่ นิวโทร
ฟิล แมคโครฟลาสต์ และโมโนไซต์ เป็นตน้

ดา้ นการตอบสนองต่อเซลลท์ มี่ ีความผิดปกติของร่างกาย จะอาศัยเซลลช์ นิดเอ็นเคทำ
หนา้ ท่ีกำจัดและรักษาสมดลุ ของรา่ งกาย นอกจากน้ยี ังมรี ะบบปอ้ งกนั การบกุ รุกของเชอ้ื จุลนิ ทรีย์

7

หรือแอนติเจนทเ่ี กดิ ขน้ึ จากสารออกฤทธข์ิ องเซลล์ ซึง่ เป็นระบบภูมคิ ้มุ กนั จากกระแสเลอื ดและสาร
คดั หล่งั เช่น ไลโซไซม์ท่ีมีอยใู่ นสารคัดหลั่งจากสว่ นต่าง ๆ การทำงานของโปรตีนในระบบคอมพลี
เมนต์ แตก่ ารทำงานของระบบน้จี ะก่อใหเ้ กิดการอักเสบ มีอาการปวด บวมแดง และร้อน ซึง่
ปฏิกิริยาของระบบภมู ิคุ้มกันและเช้ือโรคนี้ จะส่งผลใหเ้ กิดฝีหนองในตำแหนง่ ทม่ี กี ารบกุ รุกของ
แอนติเจนได้

2) ภูมิค้มุ กันทรี่ ับมาภายหลัง (adaptive immunity หรือ acquired immunity) เปน็ ระบบการ
ทำงานต่อเนือ่ งจากระบบภูมคิ มุ้ กันทร่ี ับมาแตก่ ำเนดิ เกดิ ขึน้ จากการท่ีรา่ งกายไดร้ บั ส่งิ แปลกปลอม
หรือการกระต้นุ จากวคั ซีนระบบนี้เปน็ ระบบภูมคิ ุม้ กันแบบจำเพาะเจาะจง และมีการจดจำลักษณะ
ของสิ่งกระตนุ้ ทำให้เม่อื ร่างกายไดร้ ับสิง่ แปลกปลอมหรอื แอนติเจนชนิดเดิมอีกครั้ง ร่างกายจะ
สามารถตอบสนองได้อยา่ งรวดเรว็ โดยการสร้างแอนตบิ อดีจากเซลล์บี และจากเซลล์จดจำ ระบบ
ภูมิคุม้ กันชนิดนจี้ ะสามารถแบง่ ตามลกั ษณะการเกดิ ภมู ิคุ้มกนั ได้เปน็ 2 แบบ ดังน้ี

2.1. ระบบภมู คิ ุ้มกนั ที่สร้างข้นึ เอง (active immunity) เป็นระบบภมู ิคมุ้ กันทีถ่ กู กระตนุ้
ให้สรา้ งข้นึ โดยแอนตเิ จนหรอื วัคซนี ทำให้ร่างกายสร้างภมู ติ า้ นทานต่อสง่ิ เหล่านี้เปน็ ระบบ
ภูมคิ มุ้ กนั ที่มีความจำเพาะเจาะจงสงู และพร้อมท่จี ะตอบสนองอย่างรวดเรว็ และรนุ แรง เมือ่
รา่ งกายไดร้ ับแอนติเจนในครง้ั ที่ 2 ตวั อย่างของวัคซนี ทน่ี ยิ มให้แกเ่ ด็กเพ่ือกระตุ้นการสร้าง
ภูมคิ ุม้ กนั ได้แก่ วัคซีนปอ้ งกันโรคคอตบี โปลิโอ ไอกรน และบาดทะยัก เป็นตน้

2.2. ระบบภมู คิ มุ้ กนั ทไ่ี ดร้ บั (passive immunity) เปน็ ระบบการเสริมสรา้ งภูมิคุม้ กนั ที่ได้
จากแม่ เรยี กว่า ภมู คิ ้มุ กนั รับมาตามธรรมชาติ (natural passive immunity) หรือได้รับมาด้วย
การฉดี ให้จากสารสงั เคราะหท์ ส่ี รา้ งขึน้ (artificial passive immunity) ไดแ้ ก่ เซร่มุ ซึ่งเป็น
ภมู ิคมุ้ กันหรอื แอนตบิ อดีทสี่ รา้ งขนึ้ จากสงิ่ มีชีวติ อนื่ ๆ เช่น ม้า วัว เปน็ ต้น

ความผดิ ปกตเิ กย่ี วกบั ระบบภูมิค้มุ กนั

อาการภมู ิแพเ้ ป็นการตอบสนองของร่างกายตอ่ แอนติเจนมางชนิดไวกวา่ ปกติ
(hypersensitive) รบกแอนตเิ จนทก่ี อ่ ให้เกิดอาการภูมแิ พไ้ ดว้ า่ allergen ซ่งึ อาการภมู ิแพ้เกิดจาก
การท่ีเมอื่ ร่างกายได้รบั แอนติเจนครัง้ แรกแล้วมี antibody บางสว่ นไปเกาะอยู่กบั เซลล์มาสต์
(mast cell) เรยี กข้นั ตอนน้วี า่ เกิด sensitization ขึ้นเม่ือร่างกายไดร้ บั แอนตเิ จนเดมิ อีกคร้งั หนง่ึ

8

จงึ สง่ ผลให้เซลลม์ าสต์มีการหลง่ั ฮสิ ตามีน (histamine) ออกมาทำให้รา่ งกายมีการแสดงอาการ
ของการแพ้เกิดขึ้นไดเ้ ช่นมีนำ้ มูกใสไหลออกมามากน้ำตาไหลอาจมีผนื่ แดงข้ึนตามรา่ งกายในบาง
รายทมี่ ีอาการแพต้ ่อ allergen อยา่ งรนุ แรงอาจทำให้หลอดลมฝอย (bronchiole) บีบตวั อยา่ ง
รุนแรงความดันเลอื ดในร่างกายตกจนอาจนำไปสกู่ ารเสยี ชวี ิตได้เรยี กการแพ้แบบฉบั พลนั น้วี า่
anaphylactic shock

ลกั ษณะสำคัญอย่างหนึง่ ของระบบภูมคิ มุ้ กนั คอื เซลลใ์ นระบบภมู ิคุ้มกันจะตอ้ งมี
ความสามารถในการแยกออกได้วา่ เซลลใ์ ดเปน็ เซลล์ภายในร่างกายของตนเองขณะท่เี ซลล์ผดิ ปกติ
หรอื เซลล์แปลกปลอมเปน็ เซลลท์ ี่ร่างกายต้องการกำจัดออกไปอยา่ งไรก็ตามมีกลุ่มของโรคที่
เรียกว่าโรคแพ้ภูมติ ัวเองซึง่ เปน็ โรคที่เกิดจากการท่รี ่างกายไม่สามารถแยกเซลลข์ องตวั เองออกจาก
เซลล์แปลกปลอมไดท้ ำใหเ้ ซลล์ในระบบภมู ิคุ้มกันไปทำลายเซลลใ์ นร่างกายตัวอยา่ งของโรคแพภ้ มู ิ
ตัวเองเชน่ โรค systemic lupus erythematosus (โรค SLE หรอื โรคพมุ่ พวง) เป็นโรคที่เซลลใ์ น
ระบบภูมิคมุ้ กันไปทำลายโปรตนี histone และ DNA ของเซลลต์ นเองโรค eumatoid arthristis
ท่ีเซลล์ในระบบภูมิคุม้ กนั เข้าไปทำลายบริเวณข้อตอ่ ของกระดกู โรคเบาหวานชนดิ ท่ี 1 เปน็ โรคที่
เซลล์ท่ีทำหนา้ ทส่ี ังเคราะห์อนิ ซูลนิ ทตี่ ับออ่ นถูกทำลายขณะที่โรค multiple sclerosis เป็นโรคที่
เกดิ จากเยอื่ หุม้ ไมอีลนิ ของเซลล์ประสาทถกู ทำลายดว้ ยเซลล์ในระบบภมู ิคุม้ กนั การรักษาโรคใน
กล่มุ แพ้ภมู ติ วั เองน้ีทำได้โดยการกดระบบภูมิคุม้ กนั ของผปู้ ่วยไม่ใหม้ ีการแสดงออกมากเกินไป
อยา่ งไรก็ตามผ้ปู ว่ ยต้องระวงั ไม่ใหภ้ ูมิคุ้มกนั ของร่างกายถูกกดมากไปเนื่องจากร่างกายอาจมีการ
ตดิ เช้ือจากสงิ่ แวดล้อมภายนอกได้ง่ายข้ึน

โรคภมู คิ ุม้ กันบกพร่องเป็นโรคทร่ี า่ งกายมกี ารทำงานของระบบภูมิค้มุ กันลดลงโดยอาจมีมา
แตก่ ำเนดิ (Inborn เmmunodeficiency disease) หรืออาจไดร้ ับมาภายหลงั (acquired
immunodeficiency disease) เชน่ โรค AIDS ซึ่งเกิดจากเชอ้ื ไวรัส HIV โดยเชื้อไวรสั HIV น้ีจะ
เขา้ ไปทำลายเซลลท์ ี่ผู้ชว่ ย (helper T cell) ทำใหม้ ีปริมาณ 1, cell ลดลงเรื่อยๆทา้ ยทสี่ ดุ ผ้ปู ว่ ย
จะเสียชวี ติ เนอื่ งจากระบบภูมคิ ุ้มกันในร่างกายล้มเหลวและมีโรคแทรกซ้อนจนอาจทำให้คนไข้
เสียชวี ิตได้ในทส่ี ดุ เชน่ โรคปอดบวม

9

บทท3่ี

อุปกรณ์และวิธีการดำเนนิ การ

การจัดทำโครงงานคอมพวิ เตอรเ์ รอื่ งสอ่ื การสอนเรอ่ื งระบบภมู คิ ้มุ กนั คณะผจู้ ดั ทำโครงงานมี
วิธกี าร ดำเนนิ งานโครงงาน ตามขั้นตอน ดังตอ่ ไปน้ี
1.ข้นั ตอนการดำเนินการ
1.1. คิดหวั ขอ้ โครงงานเพื่อเสนออาจารยท์ ่ีปรกึ ษา
1.2. ศึกษาคน้ ควา้ รวบรวมข้อมลู ทเี่ กีย่ วข้องกับโครงงานในเรอ่ื งระบบภูมคิ มุ้ กัน
1.3. ศึกษาโปรแกรม Thunkable ในการจดั ทำส่ือการสอน
1.4.ออกแบบและสรุปความร้ใู นเรื่องระบบภมู ิค้มุ กันเพอ่ื จดั ใสใ่ นแอพพลิเคชนั
1.6. จดั ทำโครงงานประเภทสื่อการสอน เรอ่ื งระบบภูมิคุ้มกัน
1.7. เผยแพร่ผลงานโดยการนำเสนอผา่ น www.google.com
1.8.จัดทำแบสอบถามความพงึ พอใจในการใชแ้ อพพลิเคชนั
1.9.ทำเอกสารสรุปรายงานโครงงาน
2.วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
2.1. ศกึ ษาเรอ่ื งระบบภมู คิ ุ้มกัน
2.2. ศึกษาการทำงานของตัวโปรแกรมทจ่ี ดั ทำแอพพลิเคชนั และโปรแกรมตา่ งๆทเ่ี ก่ยี วข้อง
2.3.ศกึ ษาขั้นตอนและกระบวนการการดำเนินงาน
2.4.ศกึ ษาขนั้ ตอนการประเมินผลโครงงาน
3.วสั ดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมือหรอื โปรแกรมท่ใี ชใ้ นการพัฒนาโครงงาน
3.1. เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ี่เชื่อมต่ออนิ เทอรเ์ นต็
3.2. โปรแกรม
- โปรแกรม Thunkable , google form

10

แบบสอบถามความพึงพอใจแอพพลิเคชนั Immune system

หมายเหตุ แบบสอบถามนี้เปน็ แบบสอบถามท่ีจดั ทำขน้ึ เพ่ือสอบถามความพึงพอใจหลงั ผู้ใช้

ใช้แอพพลเิ คชนั เพือ่ สือ่ การสอน

โดยให้ผทู้ ำแบบสอบถามเลอื กระดับความพึงพอใจดังตอ่ ไปนี้

5=มากทีส่ ดุ 4=มาก 3=ปานกลาง 2=พอใช้ 1=น้อย

สอบถามข้อมูลทวั่ ไป

1. เพศ

o หญิง

o ชาย

o อ่นื ๆ:

2. ระดับช้ัน *

o มธั ยมศึกษาปีท่ี 4

o มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5

o มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

สอบถามความพงึ พอใจในการใช้แอพพลิเคชนั

1. สีสันและความนา่ สนใจของแอพพลเิ คชนั *

o5

o4

o3

o2

o1

2. เนอ้ื หามคี วามกระชับเขา้ ใจง่าย *

o5

o4

o3

o2

o1

11

3. ความสะดวกตอ่ การศกึ ษา *
o5
o4
o3
o2
o1

4. เสถยี รภาพของแอพพลเิ คชนั *
o5
o4
o3
o2
o1

5. ขอ้ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………..

12

บทท่ี4
ผลการดำเนนิ งาน

การจัดทำโครงงานคอมพวิ เตอร์ เรอ่ื งสื่อการสอนเรอ่ื ระบบภูมคิ ุ้มกนั
เนอ้ื หาเกี่ยวกบั ระบบภมู ิคุ้มกัน
มีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ เผยแพร่ความรเู้ ก่ียวกบั ภมู คิ ุม้ กัน
มผี ลการดำเนนิ งานโครงงาน ดงั นี้
1.ผลการพัฒนาโครงงาน

การพฒั นาสือ่ การสอนเรื่องระบบภูมคิ ุ้มกัน เพื่อเผยแพร่ความรเู้ ก่ยี วกบั ภูมิค้มุ กันของ
สงิ่ มชี ีวิต

คณะผู้จดั ทำได้ดำเนนิ งานตามขั้นตอนการดำเนินงานท่ีไดว้ างแผนไว้ และไดน้ ำเสนอ
เผยแพรผ่ ลงานผ่านทางแอพพลิเคชัน Thunkable
2.การทดสอบแอพพลเิ คชันสอ่ื การสอน

ภาพที่ 1 หน้าตา่ งลงทะเบียน

13

ภาพท่ี2 การจัดทำส่ือการเรียนรู้ในโปรแกรม Thunkable(พร้อมเสยี งบรรยาย)
3.ผลการประเมินแบบสอบถามความพึงพอใจ

เปน็ การทดสอบความพึงพอใจต่อแอพพลเิ คชนั สอื่ การสอน Immune System โดย
นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นราชวินิตบางแก้ว จำนวน 53 คน โดยแบง่ เป็น
สว่ นท่ี 1 เก่ียวกบั ผตู้ อบแบบสอบถามได้ผลการทดสอบและนำมาวเิ คราะหเ์ ปน็ แผนภมู ไิ ดด้ ังน้ี
1.เพศ

เพศ

0%
27%

73%
หญิง ชาย อนื่ ๆ

14

2.ระดับชัน้

ระดบั ชัน้

17% 14%

69%
ม.4 ม.5 ม.6

สว่ นที่ 2 ความพงึ พอใจตอ่ แอพพลเิ คชันสื่อการสอนโดยแบ่งเกณฑร์ ะดับความพึงพอใจ ดังน้ี
5=มากทส่ี ุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย 1=น้อยทส่ี ุด ซึง่ ได้ผลการประเมินดงั น้ี
1.สสี นั และความนา่ สนใจของแอพพลิเคชนั

สสี นั และความน่าสนใจ

4%
34%

62%

54321

2.เนอ้ื หามีความกระชับเข้าจ่าย

เนือ้ หากระชับเข้าใจง่าย

38%
62%

54321

15

3.ความสะดวกตอ่ การศกึ ษา

ความสะดวกต่อการศึกษา

11% 44%
45%

54321

4.เสถยี รภาพของแอพพลเิ คชัน

เสถยี รภาพแอพ

17%1% 28%

54%
54321

5.ภาพรวมของแอพพลิเคชนั

ภาพรวมแอพ

21%%
37%

60%

54321

16

บทท่ี5
สรปุ ผลการดำเนนิ งาน / ขอ้ เสนอแนะ

การจัดทำโครงงานคอมพวิ เตอร์เร่อื ง สื่อการสอนเร่อื งระบบภูมคิ ุ้มกัน
สามารถสรุปผลการดำเนนิ งาน โครงงานและขอ้ เสนอแนะ ดังนี้
1.การดำเนินงานจัดทำโครงงาน
1.1 วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน

1. เพือ่ ใชเ้ ป็นสือ่ การสอนให้ความรูแ้ ก่ผู้ทีส่ นใจเกยี่ วกบั ระบบภมู คิ ุม้ กนั
2.เพ่ือให้ผ้ศู ึกษามคี วามเข้าใจและนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นหอ้ งสอบและชีวติ ประจำวนั ได้
1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เคร่อื งมือหรือโปรแกรมท่ใี ช้ในการพัฒนาโครงงาน
1. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทเี่ ช่ือมตอ่ อินเทอร์เน็ต
2.โปรแกรม
- โปรแกรม Thunkable Anyflip Slideshare
2. สรุปผลการดำเนินงานโครงงาน
การดําเนนิ งานโครงงานน้ีบรรลุวัตถุประสงคท์ ไ่ี ดก้ ำหนดไว้คือเพือ่ เปน็ ส่ือให้ความรู้แกผ่ ู้ท่ี
สนใจเกย่ี วกับระบบภมู ิคุ้มกนั โดยสำเสนอผ่านทางแอพพลเิ คชนั Thunkable ที่สามารถให้
ความรู้ของผูช้ มอย่างเขา้ ใจ
ส่อื การสอนนจ้ี ดั ทำขึน้ เพอ่ื การศึกษาระบบภมู คิ ุม้ กัน จึงเป็นส่อื ทมี่ ีประโยชนอ์ ย่างยงิ่ และ
เปน็ การนำแอพพลิเคชันต่างๆมาใช้ไดอ้ ยา่ งเกดิ ประโยชน์
3. ขอ้ เสนอแนะ
1. ควรมกี ารสรปุ เนอ้ื หาโครงงานให้หลากหลายรูปแบบ
2. ควรมีการทำแบบทดสอบเรอ่ื งระบบภมู คิ ุ้มกนั ท้ังก่อนและหลงั การเรยี นจากสื่อการ
เรยี นรู้
3.ควรมีการพฒั นาโปรแกรมให้มคี วามน่าสนใจมากขึ้น

17

บรรณานุกรม

ครณู ฏั ฐนนั ทน์ ศรีรัตน.์ (2562). กลไกการตอ่ ตา้ นหรือทำลายสง่ิ แปลกปลอม. สืบค้นเม่อื
15 กุมภาพนั ธ์ 2563, จาก http://krunuttanun.blogspot.com/2019/02/blog-
post.html

AOMFRAMEOILKEAW. (2563). ภมู คิ ้มุ กนั ของรา่ งกาย. สืบคน้ เม่ือ 15 กุมภาพันธ์ 2563,
จาก https://sites.google.com/site/aomframeoilkeaw/chiwwithya/1-
2phumikhumkan-khxng-rangkay

18

ภาคผนวก

แอพพลเิ คชนั สอ่ื การสอน

แบบประเมนิ ความพึงพอใจ


Click to View FlipBook Version