The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อุรวี ปีระมะลึก, 2021-11-06 03:37:08

แผนการจัดการเรียนรู้บทที่4

เรื่อง รูปเรขาคณิต

แผนการจดั การเรียนรู้
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

บทท่ี 4

เรื่อง รูปเรขาคณิต

จัดทาโดย

นางอรุ วี ปรี ะมะลึก

ครู โรงเรยี นบา้ นโคกตา
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธวิ สเขต



คานา

การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้นับเป็นวิธีหน่ึงที่ทาให้ครูผู้สอนได้มีการเตรียมการสอน
ล่วงหน้า กอ่ นท่ีจะทาการสอนจริง โดยมีการเตรียมเนือ้ หาเตรยี มกิจกรรม เตรียมสือ่ การเรยี นการสอน
รวมทั้งวิธีการวัดผลประเมินผลซึ่งการเตรียมการสอนจะช่วยให้ครูผู้สอนมีความพร้อมท่ีจะสอนให้
ผู้เรียนบรรลุตามจดุ มุ่งหมายของหลกั สตู ร

การจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ ผจู้ ดั ทาได้ศกึ ษาค้นคว้าหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560) เอกสารอน่ื ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง วิเคราะห์
หลักสูตร จัดทากาหนดการสอน โครงสร้างรายวิชา และหารูปแบบการทาแผนการจัดการเรียนรู้โดย
เน้นใหผ้ ูเ้ รียนได้เรยี นผ่านกระบวนการคิดด้วยตนเอง โดยคานึงถงึ สภาพแวดล้อมของผู้เรยี น โรงเรยี น
และชุมชนเปน็ หลัก

แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับน้ี เป็นแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 รูปเรขาคณิต เพ่ือพัฒนาความเข้าใจเก่ียวกับสัญลกั ษณ์
และการดาเนินการต่อวิชาคณิตศาสตร์ โดยเน้นขั้นตอนหรือวิธีการทางคณิตศาสตร์ จัดทาไว้เพ่ือ
สะดวกต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทุกปีการศึกษา ผู้ท่ีจะ
นาไปใช้ควรอา่ นคาชแี้ จงการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรใู้ ห้เขา้ ใจก่อนนาไปใชจ้ ริง

ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างย่ิงว่า แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้จะช่วยให้การเรียนการ สอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ดาเนินไปด้วยดี และทาให้ผู้เรียนมีความรู้
ความสามารถ มีทักษะกระบวนการและมคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตรงตามจุดม่งุ หมายของหลักสูตร
ตอ่ ไป

อุรวี ปรี ะมะลกึ

สารบัญ ข

เรื่อง หนา้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 1
ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง 2
คาอธบิ ายรายวชิ า 7
โครงสร้างเวลาเรียน 9
โครงสรา้ งรายวิชา 10
กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 รูปเรขาคณติ 11
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1 12
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 2 17

1

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ

จานวน ผลท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และการ
นาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม และ
นาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่
กาหนดให้

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวัดและ

นาไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง

รูปเรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้

สาระที่ 3 สถติ ิและความนา่ จะเปน็
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถติ ิในการแกป้ ัญหา
มาตรฐาน ค 3.2 เขา้ ใจหลักการนบั เบ้อื งตน้ ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

2

ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณติ

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ
จานวน ผลท่ีเกิดข้ึนจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และการ
นาไปใช้

ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 3 จานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0

1. อา่ นและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบกิ - การอา่ น การเขยี นตวั เลขฮินดูอารบกิ

ตัวเลขไทย และตวั หนังสือ แสดง ตัวเลขไทย และตวั หนังสอื แสดงจานวน

จานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 - หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักและ

2. เปรียบเทยี บและเรียงลาดบั จานวนนับ การเขยี นตัวเลขแสดงจานวนในรปู

ไม่เกิน 100,000 จากสถานการณต์ ่างๆ กระจาย

- การเปรียบเทียบและเรียงลาดบั จานวน

เศษสว่ น

3. บอก อา่ น และเขยี นเศษส่วนแสดง - เศษส่วนทมี่ ีตัวเศษน้อยกวา่ หรือเทา่ กับ

ปรมิ าณส่ิงต่างๆ และแสดงส่งิ ตา่ งๆ ตัวสว่ น

ตามเศษสว่ นทก่ี าหนด - การเปรียบเทยี บและเรียงลาดับ

4. เปรยี บเทียบเศษส่วนที่ตวั เศษเท่ากนั เศษสว่ น

โดยทีต่ ัวเศษนอ้ ยกว่าหรือเท่ากบั ตัว

ส่วน

การบวก การลบ การคูณ การหารจานวน

5. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค นับไม่เกนิ 100,000 และ 0

สญั ลกั ษณแ์ สดงการบวกและประโยค - การบวกและการลบ

สัญลกั ษณแ์ สดงการลบของจานวนไม่ - การคูณ การหารยาวและการหารสั้น

เกิน 100,000 และ 0 - การบวก ลบ คูณ หารระคน

6. หาค่าของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค - การแกโ้ จทย์ปญั หาและการสรา้ งโจทย์

สญั ลักษณ์ แสดงการคณู ของจานวน 1 ปญั หา พร้อมท้ังหาคาตอบ

หลักกับจานวนไม่เกนิ 4 หลกั และ

จานวน 2 หลักกับจานวน 2 หลัก

7. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค

สญั ลกั ษณ์ แสดงการหารทต่ี วั ต้ังไมเ่ กนิ

4 หลัก ตวั หาร 1 หลกั

3

ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป. 3 8. หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คณู หารระคน

ของจานวนนบั ไม่เกนิ 100,000 และ 0

9. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ญั หา 2

ข้ันตอน ของจานวนนบั ไม่เกนิ

100,000 และ 0

การบวก การลบเศษส่วน

10. หาผลบวกของเศษส่วนทมี่ ีตัวส่วน - การบวกและการลบเศษส่วน

เท่ากันและผลบวกไม่เกิน 1 และหาผล - การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวกและโจทย์

ลบของเศษสว่ นท่ีมีตัวส่วนเท่ากนั ปัญหาการลบเศษสว่ น

11. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาการ

บวกเศษส่วนทีม่ ีตวั สว่ นเท่ากนั และ

ผลบวกไม่เกิน 1 และโจทยป์ ญั หาการ

ลบเศษส่วนทีม่ ีตัวส่วนเท่ากนั

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสมั พันธ์ ฟงั ก์ชนั ลาดับและอนุกรม และ

นาไปใช้

ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป. 3 แบบรูป
1. ระบจุ านวนทีห่ ายไปในแบบรปู ของ - แบบรปู ของจานวนที่เพ่มิ ขน้ึ หรือลดลง
จานวนทเี่ พม่ิ ข้นึ หรือลดลงทีละเทา่ ๆ
กนั ทลี ะเทา่ ๆ กัน

สาระที่ 1 จานวนและพชี คณิต
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นพิ จน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธห์ รอื ช่วยแกป้ ัญหาท่ี

กาหนดให้

ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ป. 3 - -

4

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพืน้ ฐานเก่ียวกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตอ้ งการวัดและ

นาไปใช้

ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป. 3 เงนิ

1. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา - การบอกจานวนเงนิ และเขยี นแสดง

เกย่ี วกับเงนิ จานวนเงิน แบบใชจ้ ดุ

2. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา - การเปรียบเทียบจานวนเงนิ และการ

เกย่ี วกบั เวลา และระยะเวลา แลกเงิน

- การอา่ นและเขยี นบนั ทึกรายรบั

รายจ่าย

- การแก้โจทย์ปญั หาเก่ยี วกับเงิน

เวลา

- การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที

- การเขียนบอกเวลาโดยใชม้ หัพภาค (.)

หรือทวภิ าค (:) และการอ่าน

- การบอกระยะเวลาเปน็ ชั่วโมงและนาที

- การเปรยี บเทียบระยะเวลาโดยใช้

ความสัมพันธ์ระหวา่ งช่ัวโมงกบั นาที

- การอา่ นและการเขยี นบันทึกกิจกรรมท่ี

ระบเุ วลา

- การแก้โจทย์ปญั หาเกี่ยวกบั เวลาและ

ระยะเวลา

ความยาว

3. เลอื กใช้เครื่องมือวัดความยาวท่ี - การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและ

เหมาะสมวดั และบอกความยาวของสิ่ง มิลลิเมตร เมตรและเซนตเิ มตร

ต่างๆ เปน็ เซนติเมตรและมิลลเิ มตร กิโลเมตรและเมตร

เมตรและเซนตเิ มตร - การเลือกเคร่อื งมือวัดความยาวท่ี

4. คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเปน็ เหมาะสม

เซนตเิ มตร - การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ

5. เปรียบเทยี บความยาวระหว่าง เปน็ เซนตเิ มตร

เซนตเิ มตรกบั มลิ ลิเมตร เมตรกับ - การเปรียบเทยี บความยาวโดยใช้

เซนติเมตร กโิ ลเมตรกบั เมตร จาก ความสมั พันธ์ระหวา่ งหนว่ ยความยาว

สถานการณ์ต่างๆ - การแกโ้ จทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว

5

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป. 3 6. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หา

เก่ียวกบั ความยาวทมี่ หี น่วยเปน็

เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและ

เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร

น้าหนัก

7. เลือกใช้เครอื่ งชงั่ ท่ีเหมาะสม วดั และ - การเลอื กเครื่องชงั่ ท่ีเหมาะสม

บอกนา้ หนักเปน็ กิโลกรัมและขีด - การคาดคะเนนา้ หนกั เป็นกิโลกรมั และ

กิโลกรัมและกรัม เปน็ ขดี

8. คาดคะเนนา้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั และเปน็ - การเปรยี บเทยี บนา้ หนักโดยใช้

ขดี ความสัมพนั ธร์ ะหว่างกโิ ลกรมั กบั กรัม

9. เปรียบเทยี บน้าหนักระหว่างกิโลกรัม เมตริกตนั กบั กิโลกรัม

และกรัม เมตรกิ ตนั กับกิโลกรัม จาก - การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ยี วกับนา้ หนกั

สถานการณต์ ่างๆ

10. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา

เกี่ยวกบั น้าหนักท่ีมหี น่วยเป็นกโิ ลกรัม

กบั กรัม เมตรกิ ตันกบั กิโลกรมั

นา้ หนัก

11. เลือกใช้เคร่ืองตวงท่ีเหมาะสม วัดและ - การวดั ปรมิ าตรและความจุเปน็ ลติ ร

เปรียบเทยี บปรมิ าตร ความจุเปน็ ลิตร และมิลลิลติ ร

และมลิ ลิลิตร - การเลือกเคร่ืองตวงท่เี หมาะสม

12. คาดคะเนปรมิ าตรและความจุเป็นลิตร - การคาดคะเนปรมิ าตรและความจเุ ปน็

13. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหา ลติ ร

เกยี่ วกบั ปรมิ าตรและความจุที่มหี น่วย - การเปรยี บเทียบปริมาตรและความจุ

เป็นลิตรและมิลลลิ ิตร โดยใชค้ วามสมั พนั ธ์ระหว่างลิตรกบั

มิลลลิ ิตร ช้อนชา ชอ้ นโต๊ะ ถ้วยตวงกบั

มิลลิลิตร

- การแก้โจทย์ปัญหาเกีย่ วกบั ปริมาตร

และความจุทม่ี ีหนว่ ยเปน็ ลิตรและ

มิลลิลิตร

6

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบตั ิของรูปเรขาคณิต ความสมั พันธร์ ะหว่าง

รปู เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้

ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป. 3 รปู เรขาคณิตสองมิติ
1. ระบุรูปเรขาคณิตสองมิตทิ ่มี แี กน - รปู ที่มีแกนสมมาตร
สมมาตรและจานวนแกนสมมาตร

สาระท่ี 3 สถิติและความนา่ จะเปน็
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรูท้ างสถิติในการแก้ปัญหา

ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป. 3 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และการนาเสนอ

1. เขียนแผนภูมริ ปู ภาพ และใช้ข้อมลู จาก ขอ้ มูล

แผนภูมริ ูปภาพในการหาคาตอบของ - การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจาแนก

โจทยป์ ัญหา ขอ้ มลู

2. เขียนตารางทางเดยี วจากขอ้ มูลท่ีเปน็ - การอ่านและการเขยี นแผนภมู ริ ูปภาพ

จานวนนบั และใช้ข้อมูลจากตารางทาง - การอา่ นและการเขยี นตารางทางเดียว

เดยี วในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา (one – way table)

สาระท่ี 3 สถิตแิ ละความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบือ้ งตน้ ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ป. 3 - -

7

คาอธิบายรายวชิ า

รายวชิ าพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 เวลา 200 ชัว่ โมง/ปี

ศึกษาการอ่านและการเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือแสดงจานวนนบั หลัก

ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูปกระจาย การเปรยี บเทียบจานวน
การเรียงลาดับจานวน แบบรูปของจานวนที่เพิ่มขึ้นและลดลง การบวกจานวนนับท่ีมีผลบวกไม่เกิน

100,000 การบวกจานวนสามจานวนท่ีมีผลบวกไม่เกิน 100,000 โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์
ปัญหาการบวก การลบจานวนทีม่ ีตัวตง้ั ไมเ่ กนิ 100,000 การลบจานวนสามจานวน การหาตวั ไมท่ ราบ
ค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ

การคณู จานวนหนงึ่ หลกั กับจานวนไมเ่ กินส่ีหลัก การคูณกับจานวนสองหลักกับจานวนสองหลัก โจทย์
ปัญหาและการสร้างโจทยป์ ัญหาการลบ การหารท่ีมีตัวต้ังไม่เกินสี่หลักและตัวหารมีหน่ึงหลัก การหา

ตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณและการหาร โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปญั หา
การหาร การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร
การเลอื กเคร่ืองมือวดั ความยาวท่ีเหมาะสม การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ เปน็ เซนตเิ มตร การ

เปรียบเทยี บความยาวโดยใช้ความสัมพนั ธ์ระหว่างหนว่ ยความยาว โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกับความยาว รูป
ท่ีมีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร การบอก อ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ

เท่ากับตัวส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วน การเรียงลาดับเศษส่วน การบวกเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเทา่ กัน
การลบเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน การวัดและบอกน้าหนกั
เป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม การเลือกเครื่องชั่งท่ีเหมาะสม การคาดคะเนน้าหนักเป็น

กิโลกรัมและเป็นขีด การเปรียบเทียบน้าหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกบั กรัม เมตริกตัน
กับกิโลกรัม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้าหนัก การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร การเลือก

เคร่ืองตวงท่ีเหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและ
ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร โจทย์
ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุท่ีมหี น่วยเปน็ ลติ รและมลิ ลิลติ ร การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และจาแนก

ข้อมลู การอา่ นและเขยี นแผนภูมิรปู ภาพ การอา่ นและเขียนตารางทางเดียว การบอกเวลาเปน็ นาฬิกา
และนาที การเขียนบอกเวลาและการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นช่ัวโมงและนาที การเปรียบเทียบ

ระยะเวลาโดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหว่างช่วั โมงกับนาที การอา่ นและการเขยี นบันทึกกจิ กรรมที่ระบุเวลา
โจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลาและระยะเวลา เงินเหรียญและธนบัตรชนิดต่างๆ การบอกจานวนเงินและ
เขียนแสดงจานวนเงินแบบใช้จุดและการอ่าน การเปรียบเทียบจานวนเงินและการแลกเงิน การอ่าน

และการเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์
ปญั หาและการสร้างโจทยป์ ัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน

8

โดยการจดั ประสบการณห์ รอื สรา้ งสถานการณ์ทใ่ี กล้ตัวผู้เรยี นได้ศึกษา ค้นคว้า ฝกึ ทกั ษะ โดย
การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคานวณ
การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การเช่ือมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์
ด้านความรู้ ความคดิ ทักษะและกระบวนการทไ่ี ด้ไปใช้ในการเรียนร้สู ิ่งต่าง ๆ และใชใ้ นชีวิตประจาวัน
อยา่ งสรา้ งสรรค์

เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มี
ระเบียบ รอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์และมีความเช่ือม่ันใน
ตนเอง

ตัวชว้ี ดั
ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10,
ป.3/11
ค 1.2 ป.3/1
ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10,
ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13
ค 2.2 ป.3/1
ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2

รวม 28 ตวั ชว้ี ัด

9

โครงสร้างเวลาเรยี น
กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3

บทที/่ เร่อื ง เวลา (ช่วั โมง)
ภาคเรียนท่ี 1
บทท่ี 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 18
บทที่ 2 การบวกและการลบจานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 28
บทท่ี 3 เวลา 16
บทท่ี 4 รูปเรขาคณิต 2
บทท่ี 5 แผนภูมริ ปู ภาพและตารางทางเดยี ว 7
บทท่ี 6 เศษส่วน 16
บทท่ี 7 การคณู 18

รวมภาคเรยี นที่ 1 105

10

โครงสรา้ งรายวชิ า

หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา
รูปเรขาคณิต เรยี นร้/ู ตวั ชีว้ ัด (ชม.)

ค 2.2 เม่ือพับกระดาษรูปเรขาคณิตสองมิติตามแนว 2

ป.3/1 เส้นประแล้ว ท้ังสองส่วนทับกันสนิทพอดี เรียก

รอยพับนวี้ า่ แกนสมมาตร และเรียกรปู เรขาคณิต

สองมิติท่ีมีแกนสมมาตรว่า รูปสมมาตร ซ่ึงรูป

เรขาคณิตสองมิติบางรูปมีแกนสมมาตรมากกว่า

1 แกน

11

กาหนดแผนการจดั การเรียนรู้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 รูปเรขาคณติ

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี เร่อื ง จานวน
(ชั่วโมง)
1 รปู ท่ีมแี กนสมมาตร
2 การประยกุ ต์ใชร้ ูปที่มแี กนสมมาตร 1
1
รวม 2

12

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 1

รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 รปู เรขาคณิต เวลาเรยี น 2 ชัว่ โมง

เร่ือง รูปที่มีแกนสมมาตร เวลาเรยี น 1 ช่ัวโมง

สอนวนั ท่ี....... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

................................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 2.2 : เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต

ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และ

นาไปใช้

ตัวช้ีวัด
ค 2.2 ป.3/1 : ระบรุ ูปเรขาคณิตสองมติ ิทม่ี แี กนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร

สาระสาคญั
รปู ทีเ่ มอื่ พบั แล้ว แตล่ ะขา้ งของรอยพับทับกันสนิทเปน็ รปู ท่มี ีแกนสมมาตร รอยดับน้ีเปน็ แกน

สมมาตร

รูปทมี่ ีแกนสมมาตรบางรูปทมี่ ีแกนสมมาตรมากกว่า 1 แกน

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายลกั ษณะของรูปเรขาคณิตท่ีมีแกนสมมาตรได้ (K)
2. สร้างรูปสมมาตรและระบุจานวนแกนสมมาตรของรูปสมมาตรได้ (P)

3. นาความรู้เกี่ยวกับรูปที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตรไปใช้แก้ปัญหาทาง
คณติ ศาสตร์ (A)

สาระการเรียนรู้
รปู ทมี่ ีแกนสมมาตร

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์

1. ความสามารถในการสือ่ สารและการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์
2. ความสามารถในการเชื่อมโยง

คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี นิ ัย

2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน

13

กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั นาเขา้ สู่บทเรยี น

1. ครแู จกกระดาษใหน้ กั เรยี นคนละ 1 แผน่ แล้วพบั กระดาษ ดงั นี้

พับจากด้านบนมาด้านล่าง พบั จากมมุ ซ้ายบนมาทับมมุ ขวาลา่ ง

พับจากดา้ นขวามาด้านซา้ ย พับจากมุมซ้ายล่างมาทบั มมุ ขวาบน

2. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายรว่ มกันว่าวธิ ีการพับกระดาษแบบใดเรียกว่าทับกันสนิท

พอดี และเกดิ รอยพับกี่รอย มวี ธิ ีพับด้านอื่นๆ อีกหรอื ไม่
ข้ันสอน

1. ครูพับกระดาษ แล้วตัดตามรอยที่ขีดไว้ ให้นักเรียนทายวา่ เมื่อคล่ีออกมาแล้วจะได้
เป็นรูปอะไร ครคู ลรี่ ูปท่ไี ดจ้ ากการตัดกระดาษใหน้ ักเรียนดูแลว้ ให้ตอบวา่ เป็นรูปอะไรและให้สังเกตว่า
ทัง้ สองขา้ งของรอยพบั มีลักษณะเหมือนกันหรอื ไม่ มีขนาดเท่ากนั หรอื ไม่ และเมือ่ พับกลับตามรอยเดิม
ทั้งสองข้างทบั กนั สนทิ หรือไม่ จากน้นั แนะนาว่า รปู ท่ตี ดั ไดน้ ้ี มลี ักษณะเปน็ รูปท่ีมแี กนสมมาตร โดยมี
รอยพบั เป็นแกนสมมาตร

2. ครูนากระดาษที่ตดั เปน็ รูปท่ไี มม่ ีแกนสมมาตร เช่น บัวรดน้า ใหน้ กั เรียนสงั เกตวา่ ท้งั
สองข้างของรูปมีลักษณะเหมือนกนั หรือไม่ (ไม่เหมือนกัน) และนักเรียนคิดว่า จะสามารถพับรูปแล้ว
ทาให้ท้ังสองข้างของรูปทับกันสนิทได้หรือไม่ จากนั้นให้ตัวแทนนักเรียนออกมาพับรูปบัวรดน้า

ดังกล่าวให้เพื่อนๆ ดู แล้วบอกผลการพับ ครูถามนักเรียนว่า รูปบัวรดน้านี้เป็นรูปที่มีแกนสมมาตร
หรือไม่ (ไม่มี) เพราะเหตุใด (ไม่สามารถพบั รูปแล้วทาให้ท้งั สองข้างของรอยพบั ทบั กนั สนทิ )

3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน โดยคละความสามารถ ครูจัดกิจกรรม
พบั กระดาษโดยแจกกระดาษรูปสามเหลี่ยมหนา้ จั่ว รปู สเี่ หล่ยี มมมุ ฉาก รปู หา้ มเหล่ียมดา้ นเท่า รูปหก
เหล่ยี มดา้ นเทา่ รปู แปดเหล่ียมด้านเท่า วงกลม และวงรที ี่มเี สน้ ประแสดงรอยพับให้นกั เรยี นทกุ คนใน

กลุ่ม ให้นักเรียนพับตามรอยเส้นประและให้สังเกตแต่ละข้างของรอยพับของรูปเรขาคณิตสองมิติแต่
ละรูป แลว้ ใหบ้ อกผลการสังเกต ซง่ึ ควรจะไดว้ ่า แตล่ ะข้างของรอยพบั ทับกันสนิทพอดี ครถู ามวา่ รูป
เรขาคณิตสองมิติท่ีพับทั้งหมดนี้เป็นรปู ท่ีมีแกนสมมาตรหรือไม่ (เป็นรูปที่มีแกนสมมาตร) เพราะเหตุ

14

ใด (เพราะเม่ือพับตามรอยเส้นประ ทาให้ท้ังสองข้างของรูปทับกันสนิท) ให้นักเรียนทุกคนช้ีแกน
สมมาตรของรูปนัน้

4. ครูแจกกระดาษรูปส่ีเหลี่ยมด้านขนาน รูปสามเหล่ยี มด้านไม่เท่า รปู ส่ีเหล่ยี มคางหมู
(ท่ไี ม่ใช่รปู สี่เหล่ียมคางหมูหนา้ จว่ั ) รปู ห้าเหลย่ี ม รูปหกเหลย่ี ม รูปแปดเหลี่ยม ที่ไม่ใช่รปู หลายเหล่ียม
ดา้ นเทา่ มุมเทา่ ที่มีเส้นประแสดงรอยพับใหน้ กั เรียนทกุ คนในกลุ่ม แล้วให้นกั เรียนพับตามรอยเส้นประ
และให้สังเกตว่าแตล่ ะข้างของรอยพับทับสนทิ หรือไม่ แลว้ ใหบ้ อกผลการสงั เกต ซง่ึ ควรจะได้ว่า แต่ละ
ข้างของรอยพับไม่ทับกนั สนิท ครูถามว่า รูปเรขาคณิตสองมิติที่พับท้ังหมดนี้เป็นรูปท่ีมีแกนสมมาตร
หรือไม่ (เป็นรูปท่ีไม่มีแกนสมมาตร) เพราะเหตุใด (เพราะเมือ่ พบั ตามรอยเส้นประ แล้วท้ังสองขา้ งของ
รปู ไม่ทับกนั สนทิ ) ให้นกั เรยี นทุกคนชี้แกนสมมาตรของรปู นั้น

5. จากกิจกรรมในข้อ 3. และข้อ 4. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือนาไปสู่ข้อสรปุ
ทวี่ ่า รปู หลายเหลี่ยมบางรปู เป็นรูปที่มแี กนสมมาตร บางรูปเป็นรปู ท่ไี มม่ ีแกนสมมาตร สง่ วงกลมและ
วงรีเป็นรปู ที่มแี กนสมมาตร

6. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 1 รูปที่มีแกนสมมาตร เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกัน
ตรวจสอบความถกู ต้อง จากนัน้ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 1

ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรรู้ ่วมกนั ดังน้ี รูปสมมาตร คือ รูปที่พับครง่ึ

แล้ว รูปแต่ละข้างของรอยพบั น้ีทับกันสนทิ รูปบางรูปอาจมแี กนสมมาตรได้มากกว่าหนง่ึ แกน ซ่ึงเมื่อ
พบั ตามรอยพับแล้วรูปนั้นจะต้องทบั กันพอดี

ส่ือการเรยี นรู้
1. กระดาษ
2. กรรไกร
3. กระดาษรปู เรขาคณิตทมี่ เี ส้นประ
4. กระดาษรปู เรขาคณติ ทไ่ี ม่มเี ส้นประ
5. ใบงานที่ 1 รูปทีม่ แี กนสมมาตร

15

การวดั ผลและประเมนิ ผล

สิ่งท่ีต้องการวัด วิธีวดั เคร่อื งมอื วดั เกณฑ์การประเมิน
1. ดา้ นความรู้ ทากจิ กรรมจากใบงานที่ ใบงานที่ 1 70% ขึน้ ไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
1 การประเมนิ
2. ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมดา้ น แบบสังเกต นักเรียนไดค้ ะแนนระดบั
กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขึ้นไป
ทกั ษะกระบวนการ
3. ด้านคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรยี นได้คะแนนระดบั
ท่พี ึงประสงค์ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ พฤติกรรมดา้ น คณุ ภาพดขี นึ้ ไป
คุณลักษณะ
ท่พี งึ ประสงค์

ความคดิ เหน็ ผู้บรหิ าร

ลงช่อื .....................................ผูต้ รวจ
()

ผู้อานวยการโรงเรยี น

..../................../........

16

บนั ทึกหลังการเรยี นการสอน

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ผลการเรยี นรูต้ ามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

นกั เรียนไดค้ ะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ

1.2 ผลการประเมินทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์

นักเรยี นอยใู่ นระดับดีมาก คน คดิ เปน็ ร้อยละ

นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ

นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ

นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรงุ คน คิดเปน็ ร้อยละ

1.3 ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

นักเรียนอยใู่ นระดับดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ

นกั เรียนอยใู่ นระดับดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นักเรยี นอย่ใู นระดับปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

2. ปญั หาและอปุ สรรค

3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแกป้ ัญหา

ลงชอ่ื .....................................ผู้สอน
()
..../................../........

17

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2

รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 รูปเรขาคณติ เวลาเรยี น 2 ชว่ั โมง

เร่ือง การประยกุ ต์ใช้รปู ท่ีมีแกนสมมาตร เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง

สอนวันที.่ ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563

................................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 2.2 : เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต

ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และ

นาไปใช้

ตวั ช้ีวัด
ค 2.2 ป.3/1 : ระบรุ ูปเรขาคณติ สองมิติทมี่ แี กนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร

สาระสาคญั
รูปท่ีเมื่อพับแล้ว แต่ละข้างของรอยพับทับกันสนิทเป็นการประยุกต์ใช้รูปที่มีแกนสมมาตร

รอยดบั น้เี ปน็ แกนสมมาตร

การประยกุ ตใ์ ช้รูปที่มีแกนสมมาตรบางการประยกุ ต์ใช้รูปที่มีแกนสมมาตรมากกว่า 1 แกน

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายลักษณะของรปู เรขาคณติ ที่มแี กนสมมาตรได้ (K)
2. สรา้ งรูปสมมาตรและระบจุ านวนแกนสมมาตรของรูปสมมาตรได้ (P)

3. นาความรู้เก่ียวกับการประยุกต์ใช้รูปที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตรไปใช้
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (A)

สาระการเรียนรู้
การประยุกตใ์ ชร้ ปู ที่มแี กนสมมาตร

ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์

1. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์
2. ความสามารถในการเช่ือมโยง

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี ินยั

2. ใฝ่เรยี นรู้
3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

18

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเข้าสูบ่ ทเรียน
1. ครูนาภาพในชีวิตจริงที่มีลักษณะเป็นภาพท่ีมีแกนสมมาตร เช่น ภาพลายกระจัง

ภาพลายเหล็กดดั ภาพลายกระเบอื้ ง ภาพลายผา้ ฯลฯ ใหน้ ักเรียนดู แลว้ ชใ้ี หน้ กั เรยี นสังเกตว่าท้ังสอง
ข้างของแต่ละภาพมีลักษณะเหมือนกัน ครูสนทนาเพ่ิมเติมว่า เราสามารถสร้างภาพท่ีมีลักษณะของ
ลวดลายดังกลา่ วได้

ขน้ั สอน
1. ครูให้ตัวแทนกลุ่ม 2 คน แสดงการพับกระดาษรูปส่ีเหล่ียมจัตรุ ัสและรูปสี่เหล่ียมผืน

ผ้า เพ่ือหาแกนสมมาตร และให้ขีดเส้นตามรอยพับเพ่ือแสดงแกนสมมาตร ครูแนะนาว่าควรลองพบั
หลายๆ แนวแลว้ นาเสนอโดยระบจุ านวนแกนสมมาตรของแต่ละรปู ซง่ึ จะไดด้ งั นี้

มีแกนสมมาตร 2 แกน มีแกนสมมาตร 4 แกน

2. ครใู ห้แตล่ ะกลมุ่ ทากิจกรรมสารวจรูปท่มี แี กนสมมาตร โดยแจกกระดาษทีต่ ัดเป็นรูป
เรขาคณติ สองมติ ิและรูปอนื่ ๆ ท่ีมีลักษณะเปน็ รูปทมี่ ีแกนสมมาตรและรูปท่ีไม่มีแกนสมมาตร เช่น รปู
ดาว 5 แฉก รูปตัวอักษร H, T, O, S, Y, M, N, A, X, Z เป็นต้น ถ้าพบว่าเป็นรูปที่มีแกนสมมาตรให้
ขดี เส้นแสดงแกนสมมาตรทกุ เส้น พรอ้ มนาเสนอโดยแสดงวธิ พี บั ประกอบการอธิบาย (แต่ละกล่มุ ได้รปู
ท่แี ตกต่างกนั กลุ่มละ 5 รูป) พร้อมระบจุ านวนแกนสมมาตรของแตล่ ะรปู

3. ครูติดรูปหลายเหลี่ยมท่ีมีเส้นประเป็นแกนสมมาตรบนกระดาน 3 – 4 รูป แล้วให้
ตวั แทนนักเรยี นออกมาต่อเติมรูปใหส้ มบูรณ์ เช่น

4. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 2 การประยุกต์ใช้รูปที่มีแกนสมมาตร เมื่อเสร็จแล้วให้
นกั เรยี นช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากนัน้ ครแู ละนักเรยี นร่วมกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 2

ขั้นสรุป

1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ส่งิ ทีไ่ ดเ้ รยี นรรู้ ่วมกนั ดงั นี้
- รปู ท่มี ีแกนสมมาตรกับรปู ท่ไี มม่ ีแกนสมมาตร มีลกั ษณะแตกต่างกนั อย่างไร (รปู

ท่ีมีแกนสมมาตรจะสามารถพับรูปแล้วทาให้ทั้งสองข้างของรอยพับทับกันสนิท แต่รูปท่ีไม่มีแกน
สมมาตรจะไม่สามารถพับรปู แล้วทาใหท้ ้งั สองข้างของรอยพับทับกันสนทิ )

19

- รูปที่มีแกนสมมาตรจะมีแกนสมมาตรได้น้อยท่ีสุดกี่แกน และมากท่ีสุดก่ีแกน
พร้อมบอกตัวอย่างประกอบ (รูปท่ีมีแกนสมมาตรจะมีแกนสมมาตรได้น้อยที่สุด 1 แกน เช่น รูป

สามเหล่ียมบางชนิด (รูปสามเหลย่ี มหนา้ จว่ั ) รูปส่เี หลี่ยมบางชนิด (รูปส่ีเหลย่ี มรปู ว่าว) รปู คน รปู ผเี สื้อ
เปน็ ตน้ และจะมแี กนสมมาตรได้มากท่ีสุด มากมายนับไม่ถ้วน เช่น วงกลม)

- คากล่าวท่ีว่า “รูปหลายเหลี่ยมทุกรูปเป็นรปู ที่มีแกนสมมาตร” เป็นจริงหรือไม่
เพราะเหตใุ ด (ไมจ่ รงิ เพราะมรี ปู หลายเล่ียมบางรูปทไี่ มม่ แี กนสมมาตร เชน่ รปู หา้ มเหล่ียมบางรปู )

สือ่ การเรยี นรู้
1. ภาพในชวี ติ จรงิ ท่มี ีแกนสมมาตร

2. รปู หลายเหล่ยี ม
3. ใบงานที่ 2 การประยุกต์ใชร้ ูปท่ีมแี กนสมมาตร

การวัดผลและประเมินผล

สงิ่ ท่ีต้องการวัด วิธีวัด เครือ่ งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ
1. ด้านความรู้ ทากจิ กรรมจากใบงานที่ ใบงานท่ี 2 70% ข้ึนไป ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
2 การประเมิน
2. ด้านทักษะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรียนไดค้ ะแนนระดบั
กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤตกิ รรมดา้ น คุณภาพดขี ้ึนไป
ทักษะกระบวนการ
3. ด้านคุณลักษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกต นักเรียนไดค้ ะแนนระดบั
ทพ่ี งึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ พฤตกิ รรมด้าน คณุ ภาพดีข้ึนไป
คุณลกั ษณะ
ท่พี ึงประสงค์

ความคิดเห็นผู้บรหิ าร

ลงชอื่ .....................................ผตู้ รวจ
()

ผู้อานวยการโรงเรยี น
..../................../........

20

บนั ทึกหลังการเรยี นการสอน

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ผลการเรียนร้ตู ามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

นกั เรียนได้คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ

1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์

นักเรยี นอยู่ในระดับดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ

นักเรยี นอยู่ในระดับดี คน คิดเปน็ ร้อยละ

นักเรยี นอยใู่ นระดับพอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ

นกั เรียนอยู่ในระดับปรบั ปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ

1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ

นกั เรียนอยูใ่ นระดับดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

2. ปญั หาและอุปสรรค

3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปัญหา

ลงชอ่ื .....................................ผู้สอน
()
..../................../........

21

ใบงาน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4

รูปเรขาคณติ

สาระที่ 1 จานวนและพชี คณติ
มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 2.2 : เขา้ ใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ขิ องรูปเรขาคณิต
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททาง
เรขาคณิต และนาไปใช้

ตัวชี้วัด
ค 2.2 ป.3/1 : ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกน
สมมาตร

22

ใบงานท่ี 1 รปู ท่ีมแี กนสมมาตร
คาชแ้ี จง จงพจิ ารณารูปตอ่ ไปน้ีมีแกนสมมาตรหรือไม่
1. 2.

3. 4.

5. 6.

7. 8.

23

ใบงานที่ 2 การประยกุ ตใ์ ชร้ ูปทมี่ แี กนสมมาตร

คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นสร้างภาพที่เป็นรปู สมมาตรทม่ี เี ส้นประเปน็ เสน้ สมมาตร 4 – 5 ภาพ


Click to View FlipBook Version