The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนเผชิญเหตุ ภาคเรียนที่ 2/2564

โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท

Bannongjetbat School

แผนเผชิญเหตุกรณี

การแพรร่ ะบาดของ

โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

โรงเรียนบ้านหนองเจด็ บาท

สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

๑. ขอ้ มูลทว่ั ไปของสถานศึกษา

สถานที่ต้งั

โรงเรียนบา้ นหนองเจด็ บาท ตั้งอยเู่ ลขที่ ๑๙๘ หมู่ที่ ๕ ตาบลแหลมสอม อาเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
สงั กัดสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรังเขต ๑ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

e-mail : [email protected]
website:http://school. obec.go.th/ nongjetbat
เปดิ สอนระดับชั้นอนุบาล ๒ ถึงระดับประถมศกึ ษาปีที่ ๖ มีเขตพืน้ ทบี่ ริการ 3 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ท่ี 5
หมูท่ ี่ 6 และหมู่ที่ 11 มเี นอื้ ท่ี 6 ไร่ 72 ตารางวา

ข้อมูลผบู้ ริหารสถานศึกษา
นางพนารัตน์ มิ่งมาก ตาแหนง่ ผอู้ านวยการชานาญการพเิ ศษ โทรศพั ท์ ๐๘๓-๑๘๖๗๘๒๙

ขอ้ มูลครแู ละบคุ ลากร

ท่ี ช่อื -สกลุ ตาแหนง่ วุฒิการศึกษา วิชาเอก
๑. นายประจกั ษ์ นวลนาค ครชู านาญการ
๒. นายสาราญ รกั ษารักษ์ ครูชานาญการพิเศษ ค.บ. สขุ ศึกษา
๓. นายเอกชยั บลู การณ์ ครูชานาญการ
๔. นางสาวปทั มา ช่วยดา ครู ค.บ. เกษตรศาสตร์
5. นางสาวกรกนก ใจสมุทร ครู
6. นางสาวธดิ ารัตน์ เทพกุล ครอู ตั ราจา้ ง ค.บ. ดนตรี
7. นางสาวจรุ ภี รณ์ เจะโสะ ครอู ตั ราจา้ ง
๘. นางสาวพรนภัส เอยี ดรา ครอู ัตราจา้ ง บธ.บ. สงั คมศกึ ษา
๙. นางสาวชนาธิป ฉมิ เรือง ธรุ การโรงเรยี น
๑๐. นายไพรนิ ทร์ ดารารัตน์ ลกู จ้างประจา กศ.ม การบรหิ ารการศึกษา

ศศ.บ. สงั คมศึกษา

ค.บ. เทคโนโลยที างการศึกษา

ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย

ศศ.บ. -

ม.๓ ช่างปนู ๔

ข้อมูลนักเรียน
จานวนนักเรยี นปกี ารศึกษา 2564 ( 27 ตุลาคม 2564)

ชั้น จานวนห้อง จานวนนักเรียนชาย จานวนนักเรยี นหญงิ รวม
อนุบาลศึกษาปที ่ี ๒ ๑ ๒ ๒ ๔
อนบุ าลศึกษาปที ี่ 3 1 ๖ ๕ ๑๑
ประถมศึกษาปีที่ 1 1 ๖ ๙ ๑๕
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 1 ๕ ๒ ๗
ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 1 ๑๐ ๑๐ ๒๐
ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 1 ๖ ๘ ๑๔
ประถมศึกษาปที ่ี 5 1 ๓ ๖ ๙
ประถมศึกษาปที ่ี 6 1 ๙ ๙ ๑๘
๘ ๔๗ ๕๑ ๙๘
รวมท้ังหมด

1
แผนบรหิ ารจัดการเรยี นการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรียนบา้ นหนองเจด็ บาท

อาคารสถานที่

โรงเรียนบา้ นหนองเจ็ดบาท มีเนอ้ื ท่ี 6 ไร่ 72 ตารางวา มีอาคารเรยี นและอาคารประกอบ ดังน้ี

ท่ี ประเภทอาคาร ขนาด จานวน การใช้สอย
เป็นห้องสมุด ใช้หาความรู้
1. หอสมุด ๖๖ ตร.ม. 1 หลัง เปน็ ศนู ย์อานวยการ ร.ร. ๒ ห้อง
หอ้ งประชุม ๑ ห้อง หอ้ งวิทย์ฯ ๑ หอ้ ง
2. อาคารเรียน แบบ สปช. 10๓ / ๑๗ สองชนั้ 1 หลัง ห้องคอมฯ ๑ หอ้ ง ห้องดนตรี ๑ ห้อง
- หอ้ งเรียน ป.๑ - ป.๓ จานวน3 ห้อง
๖ หอ้ งเรียน
- หอ้ งเรียน ป.๔ - ป.๖ จานวน3 ห้อง
3. อาคารเรยี น แบบ สปช. 10๒ / 2 ๓ หอ้ งเรียน 1 หลัง - หอ้ งพกั ครู ๑ หอ้ ง
๖ ให้บริการนักเรียนหญิง/ชาย
ห้องเรียน อนุบาล ๒ – ๓
4. อาคารเรียน แบบ สปช. 10๔ / 2๖ ๔ หอ้ งเรยี น 1 หลงั
ใหบ้ รกิ ารนักเรียน
5. ส้วม แบบ สปช. ๖๐๓ / ๒๙ ๔ ท่ีน่งั ๒ หลัง

6. อาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช. ๑๙๘ ตร.ม. ๑ หลัง

๒๐๒/๒๖

7. ระบบประปาบ่อนา้ บาดาล 1 จุด

2
แผนบรหิ ารจัดการเรียนการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรยี นบ้านหนองเจด็ บาท

๒. ข้อมูลสารสนเทศการฉีดวัคซีนของครู บคุ ลากร

ที่ ชื่อ-สกลุ วัคซนี ทไี่ ดร้ ับ เขม็ ท่ี ๓
เขม็ ท่ี ๑ เขม็ ท่ี ๒ -

๑. นางพนารตั น์ ม่ิงมาก Astrazeneca 7 ม.ิ ย.๖๔ Astrazeneca 30 ส.ค.๖๔ Pfizer ๒๗ ต.ค. ๖๔
๒. นายประจักษ์ นวลนาค Sinovac 15 ม.ิ ย.๖๔ Sinovac 6 ก.ค.๖๔ -
๓. นายสาราญ รกั ษารักษ์ Sinopharm 4 ส.ค. ๖๔ Sinopharm 26 ส.ค.๖๔ -
๔. นายเอกชยั บูลการณ์ Sinovac 19 ม.ิ ย. ๖๔ Astrazeneca 9 ส.ค.๖๔ -
5. นางสาวกรกนก ใจสมทุ ร Sinovac 29 มิ.ย. ๖๔ Sinovac 20 ก.ค. ๖๔ -
6. นางสาวปัทมา ช่วยดา Sinovac 29 มิ.ย. ๖๔ Sinovac 20 ก.ค. ๖๔ -
7. นางสาวธิดารตั น์ เทพกลุ Sinopharm 3 ส.ค. ๖๔ Sinopharm ๒4 ส.ค. ๖๔ -
๘. นางสาวจุรีภรณ์ เจะโสะ Sinopharm ๓ ส.ค. ๖๔ Sinopharm ๒๔ ส.ค. ๖๔ -
๙. นางสาวพรนภสั เอียดรา Sinopharm 5 ส.ค. ๖๔ Sinopharm ๒๖ ส.ค. ๖๔ -
10 นางสาวชนาธิป ฉมิ เรอื ง Sinopharm ๓ ส.ค. ๖๔ Sinopharm ๒๔ ส.ค. ๖๔
11. นายไพรินทร์ ดารารัตน์ Sinovac 15 ม.ิ ย.๖๔ Sinovac 6 ก.ค.๖๔ Pfizer ๒๗ ต.ค. ๖๔
1๒. นางจิราภรณ์ ผ่อนยอ่ ง Sinovac 19 มิ.ย. ๖๔ Astrazeneca 9 ส.ค.๖๔ -

จำนวนครูท่ีไดร้ บั วคั ซีน ๑ เข็ม Q คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๐
จำนวนครูที่ได้รบั วัคซนี ๒ เขม็ ๑๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๘๓.๓๓
จำนวนครูทไี่ ดร้ ับวัคซีน ๓ เขม็ ๒ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๖.๖๖

4.5 ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา
4

3.5
3

2.5
2

1.5
1

0.5
0
ผ้อู านวยการโรงเรียน

กราฟแสดงการรับวคั ซนี ของครูและบคุ คลากรโรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท

3
แผนบริหารจดั การเรียนการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรียนบ้านหนองเจด็ บาท

ขอ้ มูล สารสนเทศการฉีดวคั ซนี ของนกั เรียน

สารวจนักเรียน ณ วนั ท่ี 25 กันยายน พ.ศ.2564

หมำยเลขบตั ร อำยุ

ประชำชน/ (ป)ี ควำมประสงค์รบั กำรรับวัคซีน

ท่ี ชื่อ-นำมสกลุ หมำยเลขหนังสอื วัน/เดอื น/ปี วัคซีน Pfizer

1 เด็กชำยนริ ตุ พรสวัสด์ิ เดินทำง (กรณี เกิด
2 เดก็ ชำยธีระพงค์ สิงหอ์ ินทร์
3 เดก็ ชำยเอลิชำ สิงห์อินทร์ ชำวตำ่ งชำต)ิ
4 เด็กชำยรำเชนทร์ หมวดหร่ี
5 เดก็ ชำยอภสิ ทิ ธ์ิ ทกั ษิณพัฒนำพงศ์ 1819900711328 14/07/2552 12 รบั  ไม่รับ รบั  ไม่ไดร้ บั
6 เด็กชำยเพชรรพี พลสังข์
7 เด็กชำยภำนวุ ัฒน์ หยะ๊ ปรงั 1929901277582 01/08/2552 12 รับ  ไมร่ บั รบั  ไม่ไดร้ ับ
8 เด็กชำยศภุ ทั รชัย สิงห์อนิ ทร์
9 เด็กชำยธนิสร ธีรัตมว์ ฒั นำกลุ 1929901289980 13/10/2552 11 รบั ไมร่ บั -
10 เดก็ หญิงกัญญำนัฐ รักทอง
11 เดก็ หญงิ ปนัดดำ ฉิมเรือง 1929500050994 03/01/2552 11 รบั  ไม่รบั รับ  ไม่ไดร้ ับ
12 เดก็ หญงิ กัญญำณฐั พลเดช
13 เดก็ หญิงกำนต์ธิดำ ชูออ่ น 1929500051630 27/02/2552 12 รับ  ไม่รบั รับ  ไม่ไดร้ บั
14 เดก็ หญงิ สุกำนดำ สงิ หอ์ ินทร์
15 เด็กหญิงพิชชำพร ชยั เพช็ ร 1929901216303 07/08/2551 13 รบั  ไม่รบั ได้รับ 2 เขม็ แล้ว
16 เด็กหญิงสุธธิ ำดำ ทองสีอ่อน
17 เด็กหญงิ กษริ ำ สิทธศิ กั ด์ิ 1929901279186 14/08/2552 11 รบั  ไม่รบั รับ  ไม่ไดร้ ับ
18 เด็กหญงิ สุชำวดี สนุ ทร
1939900716531 16/01/2552 12 รบั  ไมร่ ับ มโี รคประจำตัว

1929901251559 28/02/2552 12 รบั  ไม่รับ รับ  ไม่ไดร้ บั

1929901300631 17/11/2552 11  รบั  ได้รับ -

1929901302811 30/12/2552 11  รับ  ได้รับ -

1929500053926 29/07/2552 12 รับ  ไม่รบั รบั  ไม่ไดร้ ับ

1929901274877 19/01/2552 12 รับ  ไมร่ ับ รบั  ไม่ไดร้ บั

1920400267993 16/11/2552 11  รบั  ได้รบั -

1929901292298 29/10/2552 11  รับ  ได้รับ -

1929500054183 12/08/2552 11 รับ  ไม่รบั รับ  ไม่ไดร้ ับ

1929901246202 29/01/2552 12 รับ  ไม่รับ รับ  ไม่ไดร้ ับ

1929901287260 03/10/2552 11 รับ  ไมร่ ับ -

โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท มนี กั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ จานวน ๑8 คน มีความประสงค์ใน
การฉีดวัคซีน 8 คิดเปน็ ร้อยละ 44.44 มีความประสงค์ไม่รบั การฉดี วัคซนี จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ
5.55 นักเรียนทไ่ี ด้รับวคั ซนี จานวน 2 เขม็ แล้ว 1 คนคดิ เป็นร้อยละ 5.55 เนือ่ งจากอายุยงั ไม่ครบ ๑๒ ปี
บรบิ ูรณ์

4
แผนบรหิ ารจดั การเรยี นการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรยี นบา้ นหนองเจ็ดบาท

กราฟแสดงการรับวคั ซีนของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

8 หญิง
6
4
2
0

ชาย

อายุ 11 ปี อายุ 12 ปี อายุ 13 ปี
ยงั ไมไ่ ด้รับวคั ซนี Pfizer
ประสงค์จะรับวคั ซนี Pfizer ได้รับวคั ซนี Pfizer แล้ว

นกั เรียนมีโรคประจาตวั นกั เรียนได้วคั ซีนครบ 2 เขม็

ขอ้ มูล สารสนเทศการฉดี วคั ซีนของผู้ปกครอง

กราฟแสดงการได้รับวคั ซีนของสมาชิกในครอบครัวของนกั เรียนตงั้ แต่
อนบุ าล 2 -ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท

100 อนบุ าล 3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
80
60
40
20
0
อนบุ าล 2

สมาชิกในครอบครัวทงั ้ หมดของนกั เรียน ป.1 สมาชกิ ในครอบครัวได้รับวคั ซนี เขม็ 1

สมาชิกในครอบครัวได้รับวคั ซนี เขม็ 2 ยงั ไม่ได้รับวคั ซีน

ค่ารอ้ ยละการฉดี วคั ซนี ของผู้ปกครองนักเรียน

ช้นั วคั ซีนเขม็ 1 วคั ซนี เขม็ 2 ยงั ไมไ่ ดร้ บั วคั ซนี
อนบุ ำล 2 21.05% 10.52% 68.42%
อนบุ ำล 3 31.57% 24.56% 50.87%
ประถมศึกษำปีที่ 1 34.66% 30.66% 48%
ประถมศึกษำปีท่ี 2 37.83% 32.43% 64.86%
ประถมศกึ ษำปีท่ี 3 45.65% 30.43% 42.39%
ประถมศึกษำปที ่ี 4 43.28% 25.37% 52.23%
ประถมศกึ ษำปที ี่ 5 34% 24% 46%

5
แผนบริหารจดั การเรียนการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรียนบา้ นหนองเจด็ บาท

ประถมศกึ ษำปีที่ 6 24% 16% 31.33%

๓. การเตรยี มการกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น

การเตรียมการก่อนการเปิดเรยี น มีความสาคัญอย่างมากเนือ่ งจากมีความเก่ียวข้องกับการปฏิบัติตน ของ
นักเรียน ครู บุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกคนในสถานศึกษา เพื่อป้องกันไม่ให้มีการติดเชื้อโรคโควิด ๑๙ (Covid-
19) ตัดความเส่ียง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความปลอดภัยแก่ทุกคน โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท จึงกาหนดให้มี
แนวปฏบิ ตั กิ ารเตรียมการกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏบิ ัติ ดังน้ี

1. การเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรียน

1.1 กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ได้สร้างเคร่ืองมือสาหรับสถานศึกษาประเมินตนเองในระบบ
Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ เพื่อให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนท่ี ๒ ปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ลิงก์ระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school แบบประเมิน ตนเอง
ดังกล่าว ประกอบด้วย ๖ มิติ ๔๔ ข้อ สถานศึกษาจะต้องผ่านการประเมินทั้ง ๔๔ ข้อ ตามขั้นตอนการ ประเมิน
ตนเอง ดังภาพ

6
แผนบรหิ ารจดั การเรียนการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรยี นบ้านหนองเจด็ บาท

โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาทได้ประเมินตนเอง ผ่านการประเมินทั้ง ๔๔ ข้อ ได้รับใบประกาศรับรอง
มาตรฐาน จาก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ดังภาพ

1.2 ประเมินสถานการณ์และความพร้อม ตามท่ี ศบค. และ สสจ. กาหนด โดยมีการตรวจรับรองการ
ประเมินจากหน่วยงานหรือผู้ที่เก่ียวข้องในพ้ืนที่ เช่น คณะกรรมการสถานศึกษาหรือหน่วยงานสาธารณสุขใน
ระดับพืน้ ท่ี เปน็ ต้น

1.3 จัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องเรียนรวม และพื้นท่ีใช้สอยร่วมกัน ให้มีการเว้น
ระยะห่าง 1.5 เมตร ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในคู่มือการปฏิบัติสาหรับสถานศึกษาในการป้องกัน
การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19

1.4 ปฏิบัติตามกรอบแนวทาง 6 มิติ ได้แก่ การดาเนินงานเพื่อความปลอดภัย การเรียนรู้ การ
ครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน ที่มีความเชื่อมโยงกับ
มาตรการป้องกันโรคเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด 19 ของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) (ศบค.) อันจะเป็นการวางแผนท่ีจะช่วยสร้างเสริมความเข้มแข็งด้าน
การคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียน โดยมีมาตรการควบคุมหลักในมิติการดาเนินงานเพื่อความ
ปลอดภัยจากการลดการแพร่เชื้อโรค 6 ข้อปฏิบัติในสถานศึกษา ได้แก่ 1 .คัดกรองวัดไข้ 2. สวมหน้ากาก
3. ล้างมือ 4. เวน้ ระยะห่าง 5. ทาความสะอาด 6. ลดแออัด

การปฏิบัติตนตามมาตรการ ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้มของ
สถานศกึ ษาระหวา่ งการจดั การเรยี นการสอน ซึ่งมีองค์ประกอบ 6 ประการ คือ

1. สถานศึกษาจะต้องประเมินตนเองผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ผ่านระดับสีเขียวทั้ง
4 ตัวช้ีวัด ก็ถือว่าผ่านข้อที่ 1

2. ครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องได้รับวัคซีน ๘๕%
3. นักเรียน อายุ 12-17 ปี และผู้ปกครองต้องได้รับการฉีดวัคซีนให้ได้มากที่สุด
4. สถานศึกษานาผลการประเมินตนเองเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบ
และเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด เพ่ือพิจารณาอนุมัติให้เปิดเรียน
5. สถานศึกษาจะต้องดาเนินการตามมาตรการของกรมอนามัย คือ 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริม
และ7 มาตรการเข้มงวด อย่างเคร่งครัด

7
แผนบริหารจัดการเรียนการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรยี นบ้านหนองเจ็ดบาท

6. สถานศึกษาต้องรายงานผลการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับ
สูงสุดคือต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อจังหวัด

๔. แนวปฏบิ ัติสาหรบั สถานศกึ ษาระหว่างเปดิ ภาคเรยี น

โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท ปฏิบัติตามมาตรการระหว่างเปิดเรียนตามที่กระทรวงสาธารณสุขและ
กระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้ครอบคลุมทุกมิติอย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โดยคานึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสูงสุด ได้
ดาเนนิ การจดั ทาและรวบรวมแนวปฏิบตั ิระหวา่ งเปิดเรยี น เป็น ๒ กรณี ดังนี้

1. กรณีเปดิ เรียนได้ตามปกติ (Onsite) สถานศกึ ษาปฏิบัติ ดงั น้ี
๗ มาตรการเข้มงวด

๑) สถานศึกษาผ่านการประเมิน TSC+ และรายงานการตดิ ตาม การประเมินผลผ่าน MOE Covid
2) ทากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเล่ียงการทากิจกรรม ข้ามกลุ่มและจัดนักเรียนใน
ห้องเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘) ไม่เกิน ๒๕ คน หรือจัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนในห้องไม่น้อยกว่า ๑.๕
เมตร พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวดั
3) จัดระบบการให้บริการอาหารสาหรับนักเรียน ครูและบุคลากรใน สถานศึกษาตามหลักมาตรฐาน
สขุ าภบิ าลอาหารและหลกั โภชนาการ อาทิ เช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดบิ จากแหลง่ อาหาร การปรุงประกอบอาหาร
หรือ การส่ังซ้ืออาหารตามระบบนาส่งอาหาร (Delivery) ท่ีถูกสุขลักษณะและ ต้องมีระบบตรวจสอบทาง
โภชนาการกอ่ นนามาบรโิ ภค ตามหลักสขุ าภบิ าล อาหารและหลกั โภชนาการ
๔) จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด
๑๙ ในสถานศกึ ษาไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายใน อาคาร การทาความสะอาดคณุ ภาพนา้ ดม่ื และการจัดการขยะ
๕) ให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงแยกกักตัวในสถานศึกษา (School Isolation) และมีการซักซ้อมแผนเผชิญ
เหตุ รองรับการดูแลรักษาเบื้องต้น กรณี นักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีผลการตรวจพบเชื้อโรคโควิด
๑๙ หรอื ผล ATK เปน็ บวกโดยมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครดั
๖) ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดย
หลกี เลยี่ งการเข้าไปสมั ผัสในพนื้ ทต่ี า่ ง ๆ ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทาง
๗) ให้จัดให้มี School Pass สาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซ่ึงประกอบด้วยข้อมูล ผล
การประเมนิ TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วนั และประวตั ิการรับวัคซีน ตามมาตรการ

อนามัยสง่ิ แวดลอ้ ม
๑) การระบายอากาศภายในอาคาร
- เปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศก่อนและหลังการใช้งาน อย่างน้อย ๑๕ นาที หน้าต่างหรือ

ช่องลม อย่างนอ้ ย ๒ ดา้ นของหอ้ ง ใหอ้ ากาศ ภายนอกถา่ ยเทเขา้ ส่ภู ายในอาคาร
- กรณีใช้เครื่องปรับอากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลัง การอย่างน้อย ๒ ชั่วโมง

หรือเปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศช่วงพัก เที่ยงหรือช่วงท่ีไม่มีการเรียนการสอน กาหนดเวลาเปิด-ปิด
เครอื่ งปรบั อากาศ และทาความสะอาดสม่าเสมอ

๒) การทาความสะอาด
- ทาความสะอาดวัสดุสง่ิ ของด้วยผงชักฟอกหรอื น้ายาทาความ สะอาด และลา้ งมือด้วยสบู่และน้า

8
แผนบรหิ ารจดั การเรยี นการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรยี นบา้ นหนองเจด็ บาท

- ทาความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคบนพื้นผิวท่ัวไป อุปกรณ์สัมผัสร่วม เช่น ห้องน้า ห้องส้วม ลูกบิด ประตู
รีโมทคอนโทรล ราวบันได สวิตช์ไฟ จุดน้าดื่ม ด้วยแอลกอฮอล์ ๗๐% นาน ๑๐ นาที และฆ่าเชื้อโรคบนพ้ืนผิว
วสั ดุแข็ง เช่น กระเบื้อง เซรามิก สแตนเลส ด้วยน้ายาฟอกขาวหรือโซเดียมไฮโปคลอไรท์ ๐.๑% นาน ๕-๑๐นาที
อย่างน้อยวันละ ๒ คร้ัง และอาจเพิม่ ความถ่ตี าม ความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาท่มี ีผใู้ ช้งานจานวนมาก

๓) คณุ ภาพน้าเพอ่ื การอปุ โภคบรโิ ภค
- ตรวจดคู ณุ ลักษณะทางกายภาพ สี กล่ิน และไม่มีส่ิงเจือปน
- ดูแลความสะอาดจุดบริการน้าด่ืมและภาชนะบรรจุน้าด่ืมทุกวัน (ไม่ใช้แก้วน้าดื่มร่วมกัน

เด็ดขาด)
- ตรวจคณุ ภาพนา้ เพือ่ หาเชอื้ แบคทีเรยี ด้วยชุดตรวจภาคสนาม ทุก ๖ เดอื น

๔) การจัดการขยะ
- มกี ารคัดแยกลดปริมาณขยะ ตามหลกั 3R (Reduce Reuse Recycle)
- กรณีขยะเกิดจากผู้สัมผัสเสี่ยงสูง/ กักกันตัว หรือหน้ากากอนามัย ท่ีใช้แล้วนาใส่ในถังขยะปิด

ใหม้ ิดชิด

การใช้อาคาร สถานที่ของสถานศกึ ษา
การฝึกอบรม หรือการทากิจกรรมใดๆ ท่ีมผี ู้เขา้ ร่วมจานวนมาก สถานศกึ ษา หรอื ผู้ขออนุญาต ต้องจัดทา

มาตรการเพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดจะพิจารณาร่วมกับ ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ เม่ือได้รับ
อนญุ าตแล้วจึงจะดาเนนิ การได้โดยมี แนวปฏบิ ัติ ดงั น้ี

๑. แนวปฏบิ ัตดิ ้านสาธารณสขุ
๑) กาหนดจุดคัดกรองช่องทางเข้าออก หากพบว่ามีไข้ ไอ จาม มีน้ามูกหรือ เหน่ือยหอบ หรือมีอุณหภูมิ

ร่างกายเท่ากับหรือมากกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซียส ขึ้นไป แจ้งงดให้เข้าร่วมกิจกรรม และแนะนาไปพบแพทย์ และ
อาจมหี ้องแยก ผ้ทู มี่ ีอาการออกจากพน้ื ท่ี

๒) ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และผู้มาติดต่อ ต้องสวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากาก อนามัย ตลอดเวลาท่ีเข้าร่วม
กิจกรรม 3) จัดให้มีเจลแอลกฮอล์ หรือ จุดล้างมือ สาหรับทาความสะอาดมือไว้ บริการ บริเวณต่าง ๆ อย่าง
เพียงพอ เช่น บริเวณหน้าห้องประชุม ทางเข้าออก หน้าลิฟต์ จุดประชาสัมพันธ์ และพื้นท่ีท่ีมีกิจกรรมอ่ืน ๆ เป็น
ต้น 4) จัดบริการอาหารในลักษณะที่ลดการสัมผัสอุปกรณ์ท่ีใช้ร่วมกัน เช่น จัด อาหารว่างแบบกล่อง (Box Set)
อาหารกลางวนั ในรูปแบบอาหารชดุ เด่ียว (Course Menu)

5) กรณีที่มีการจัดให้มีรถรับส่งผู้เข้าร่วมกิจกรรม ให้เว้นระยะห่าง ๑ ที่นั่ง ทาความสะอาดรถรับส่งทุก
รอบหลงั ใหบ้ รกิ าร

6) กากับใหน้ ักเรยี นนั่งโดยมกี ารเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งทน่ี ั่ง และทางเดนิ อยา่ งนอ้ ย ๑.๕ เมตร
7) จดั ให้มีถังขยะทม่ี ีฝาปดิ เก็บรวบรวมขยะ เพื่อส่งไปกาจัดอยา่ งถกู ต้อง และการจดั การขยะท่ีดี
8) จัดให้มีการระบายอากาศภายในอาคารที่ดี มีการหมุนเวียนของอากาศ อย่างเพียงพอ ทั้งในอาคาร
และหอ้ งสว้ ม และทาความสะอาด เครอื่ งปรบั อากาศสมา่ เสมอ
9) ให้ทาความสะอาดและฆ่าเช้ือท่ัวทั้งบรเิ วณ และเนน้ บริเวณที่มกั มีการ สมั ผสั หรือใช้งานร่วมกันบ่อยๆ
ดว้ ยน้ายาฟอกขาวท่ีเตรียมไว้ หรอื แอลกฮอล์ 70% หรือไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% เช็ดทาความสะอาดและ
ฆ่าเชื้อ อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ทาความสะอาดห้องส้วมทุก 2 ช่ัวโมงและอาจเพ่ิม ความถี่ตามความเหมาะสม
โดยเฉพาะเวลาทม่ี ีผูใ้ ชง้ านจานวนมาก

9
แผนบรหิ ารจดั การเรยี นการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรยี นบา้ นหนองเจ็ดบาท

10) มีมาตรการติดตามข้อมูลของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น การใช้แอปพลิเคชัน หรือใช้มาตรการควบคุม
การเข้าออกดว้ ยการบนั ทกึ ขอ้ มลู

11) มีการจดั การคุณภาพเพือ่ การนา้ อปุ โภคบริโภคท่เี หมาะสม
- จัดให้มีจุดบรกิ ารน้าด่มื 1 จดุ หรือหัวก๊อกต่อผู้บริโภค 75 คน
- ตรวจสอบคณุ ภาพนา้ ดื่มนา้ ใช้

- ดแู ลความสะอาดจดุ บริการน้าด่มื ภาชนะบรรจนุ ้าดมื่ และใชแ้ ก้วน้าสว่ นตวั

๒. แนวทางปฏบิ ัติสาหรบั ผู้จัดกิจกรรม
1) ควบคุมจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ไม่ให้แออัด โดยคิดหลักเกณฑ์จานวน คนต่อพ้ืนท่ีจัดงาน ไม่น้อย

กวา่ ๔ ตารางเมตรต่อคน พิจารณาเพมิ่ พืน้ ที่ ทางเดนิ ให้มีสดั สว่ นมากขน้ึ
๒) จากัดจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และกระจายจุดลงทะเบียนให้เพียงพอ สาหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อ

ลดความแออัด โดยอาจใช้ระบบการประชุมผ่าน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้การสแกน QR Code ในการลงทะเบียน
หรอื ตอบ แบบสอบถาม

๓) ประชาสมั พันธ์มาตรการ คาแนะนาในการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดให้แก่ ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมทราบ

๓. แนวทางปฏิบตั ิสาหรบั ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม
๑) สังเกตอาการตนเองสม่าเสมอ หากมีไข้ ไอ จาม มีน้ามูก หรือเหนื่อยหอบ ให้งดการเข้าร่วม กิจกรรม

และพบแพทย์ทนั ที
๒) สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่าง น้อย ๑ - ๒ เมตร งดการ

รวมกลมุ่ และลดการพูดคุยเสยี งดงั
๓) ล้างมือด้วยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์บ่อย ๆ ก่อนและหลังใช้บริการ หรือ หลังจากสัมผัสจุดสัมผัสร่วม

หรือส่งิ ของ เครือ่ งใช้ เม่ือกลบั ถงึ บา้ นควรเปลีย่ น เสอื้ ผ้าและอาบน้าทันที
๔) ปฏิบัติตามระเบียบของสถานที่อย่างเคร่งครัด และปฏิบัติตามมาตรการ สุขอนามัยส่วนบุคคลอย่าง

เขม้ ขน้ ไดแ้ ก่ ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ)

2. กรณีโรงเรียนไม่สามารถเปดิ เรียนได้ตามปกติ
การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

ซ่ึงสถานศึกษาไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สถานศึกษาจึงควร
เลือกรูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) โดยพิจารณารูปแบบให้มี ความเหมาะสม และ
ความพร้อมของสถานศกึ ษา ดงั น้ี

1) การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) คือการเรยี นร้ทู ี่ใชส้ ่ือวดี ิทัศนก์ ารเรยี นการสอนของ มูลนธิ ิ การศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตง้ั แต่ชั้นอนุบาลปที ่ี ๒ ถงึ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖

๒) การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) การจัดการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ตและ
แอปพลิเคชั่น การจัดการเรียนการสอนแบบน้ี สาหรับครูและนักเรียนท่ีมีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์เช่น
คอมพวิ เตอร์ แท็บเล็ต โทรศัพท์ และมีการเช่ือมตอ่ สญั ญาณอนิ เทอร์เน็ต

๓) การเรียนผา่ นหนังสือ เอกสารและใบงาน (ON Hand) การจดั การเรยี นการสอนในกรณีที่ นกั เรียนมี
ทรพั ยากรไม่พรอ้ มในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบขา้ งต้น โดยสถานศึกษาจดั ทาแบบฝกึ หดั หรอื ใหก้ ารบา้ น
ไปทาท่ีบ้าน อาจใช้ร่วมกับรูปแบบอื่น ๆ ตามบรบิ ทของท้องถนิ่

หลกั ปฏบิ ตั ใิ นการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา

10
แผนบรหิ ารจัดการเรียนการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรียนบา้ นหนองเจด็ บาท

1) คัดกรอง (Screening) : ผู้ทเ่ี ข้ามาในสถานศกึ ษาทุกคน ต้องไดร้ ับการคัดกรองวัดอณุ หภูมริ ่างกาย
2) สวมหน้ากาก (Mask) : ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาที่อยู่ใน
สถานศกึ ษา
3) ล้างมือ (Hand Washing) : ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้า นานอย่างน้อย 20 วินาที หรือใช้เจล
แอลกอฮอล์หลีกเล่ียงการสัมผัสบริเวณจุดเสยี่ ง เช่น ราวบันได ลูกบิดประตูเป็นต้น รวมทั้งไม่ใช้มือสัมผัส ใบหน้า
ตา ปาก จมูก โดยไมจ่ าเป็น
4) เว้นระยะห่าง (Social Distancing) : เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร รวมถงึ การ
จัดเว้นระยะห่างของสถานที่
5) ทาความสะอาด (Cleaning) : เปิดประตูหน้าต่าง ให้อากาศถ่ายเท ทาความสะอาดห้องเรียน และ
บริเวณต่าง ๆ โดยเช็ดทาความสะอาดพื้นผิวสัมผัสของโต๊ะ เก้าอี้และวัสดุอุปกรณ์ก่อนเข้าเรียนช่วงพักเที่ยง และ
หลังเลิกเรียนทุกวนั รวมถึงจัดให้มีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิด และรวบรวมขยะออกจากห้องเรยี นเพื่อนาไปกาจัด
ทุกวนั
6) ลดแออัด (Reducing) : ลดระยะเวลาการทากิจกรรมให้ส้ันลงเท่าท่ีจาเป็นหรือเหลื่อมเวลาทา
กิจกรรมและหลีกเลี่ยงการทากิจกรรมรวมตัวกันเป็นกลุ่มลดแออัด เพื่อให้แนวปฏิบัติสาหรับสถานศึกษาในการ
ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 เกิดประโยชน์และมีผลกระทบในทางที่ดีต่อบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
ผูบ้ ริหาร ครูผู้ดแู ลนักเรยี น ผปู้ กครอง นักเรียน และแมค่ รัว ผ้จู าหน่ายอาหาร ผู้ปฏิบตั ิงานทาความสะอาด ดังนั้น
จึงกาหนดให้มีแนวปฏิบัติสาหรับ บุคลากรของสถานศึกษาสาหรับใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัด มี
ดังนี้
แนวปฏบิ ัตสิ าหรบั ผู้บริหาร

1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา
2. จัดต้ังคณะทางานดาเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ประกอบด้วย
ครนู กั เรยี น ผ้ปู กครอง เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ ทอ้ งถิ่น ชมุ ชน และผู้เกี่ยวขอ้ ง พร้อมบทบาทหน้าที่
3. ทบทวน ปรับปรุง ซ้อมปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินของสถานศึกษาในภาวะท่ีมีการระบาดของโรคติดเช้ือ
(Emergency operation for infectious disease outbreaks)
4. ส่ือสารประชาสมั พันธ์การปอ้ งกันโรคโควิด 19 เกยี่ วกบั นโยบาย มาตรการ แนวปฏบิ ตั แิ ละการจัดการ
เรยี นการสอนให้แก่ครนู ักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา ผ่านช่องทางส่อื ท่ีเหมาะสมและติดตาม
ขอ้ มูลข่าวสารทเี่ กี่ยวขอ้ งกับโรคโควิด 19 จากแหลง่ ข้อมลู ท่เี ช่อื ถอื ได้
5. สื่อสารทาความเข้าใจเพ่ือลดการรังเกียจและลดการตีตราทางสังคม (Social stigma) กรณีอาจพบ
บุคลากรในสถานศึกษา นกั เรียน หรอื ผปู้ กครองติดเชอ้ื โรคโควิด 19
6. มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในสถานศึกษา (Point of entry) ให้แก่
นักเรียน ครู บุคลากร และผู้มาติดต่อ และจัดให้มีพ้ืนท่ีแยกโรค อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามัย เจลแอลกอฮอล์อย่างเพียงพอ รวมถึงเพ่ิมช่องทางการสื่อสารระหว่างครูนักเรียน ผู้ปกครอง และ
เจ้าหน้าทส่ี าธารณสุข ในกรณีทพ่ี บนักเรียนกล่มุ เสี่ยงหรอื สงสยั
7. ควรพิจารณาการจัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้
อย่างต่อเนื่อง ตรวจสอบตดิ ตาม กรณีนักเรียนขาดเรยี น ลาป่วย การปิดสถานศึกษา การจัดให้มีการเรียนทางไกล
ส่อื ออนไลนก์ ารตดิ ตอ่ ทางโทรศพั ท์ Social media โดยติดตามเปน็ รายวัน หรือสัปดาห์

11
แผนบรหิ ารจัดการเรียนการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรียนบ้านหนองเจด็ บาท

8. กรณีพบนักเรียน ครูบุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาในสถานศึกษาให้
รีบแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพ้ืนที่ เพื่อดาเนินการสอบสวนโรคและพิจารณาปิดสถานศึกษา ตามแนวทางของ
กระทรวงสาธารณสขุ

9. มมี าตรการให้นกั เรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนมตามสทิ ธทิ ่ีควรได้รบั กรณพี บอยใู่ นกลุ่ม
เส่ียงหรอื กกั ตวั

10. ควบคุม กากับ ติดตาม และตรวจสอบการดาเนินงานตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
โควิด 19 ในสถานศึกษาอยา่ งเคร่งครัดและตอ่ เนื่อง

แนวปฏบิ ตั สิ าหรบั ครูผดู้ ูแลนกั เรยี น

1. ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พนื้ ท่เี สีย่ ง คาแนะนาการปอ้ งกันตนเองและ
ลดความเสี่ยงจากการแพรก่ ระจายของเชอ้ื โรคโควิด 19 จากแหลง่ ขอ้ มูลท่เี ช่ือถือได้

2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ไอ มนี ้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ไดก้ ล่ิน
ไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันทีกรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด 19 หรือกลับจาก
พืน้ ทีเ่ สีย่ งและอยูใ่ นช่วงกกั ตวั ใหป้ ฏบิ ัติตามคาแนะนาของเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ อยา่ งเคร่งครัด

3. แจ้งผูป้ กครองและนักเรียน ให้นาของใช้ส่วนตัวและอุปกรณ์ป้องกันมาใช้เป็นของตนเอง พร้อมใช้ เช่น
ซอ้ น สอ้ ม แกว้ น้า แปรงสฟี ัน ยาส่ีฟัน ผา้ เชด็ หนา้ หน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามยั เป็นต้น

4. สื่อสารความรู้คาแนะนาหรือจัดหาส่ือประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเสี่ยงจากการ
แพร่กระจายโรคโควิด 19 ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามัย คาแนะนาการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การทาความสะอาด หลีกเลี่ยงการทากิจกรรม
ร่วมกนั จานวนมากเพือ่ ลดความแออดั

5. ทาความสะอาดสือ่ การเรียนการสอนหรอื อปุ กรณ์ของใช้รว่ มท่เี ปน็ จุดสมั ผสั เสย่ี ง ทกุ ครัง้ หลังใช้งาน
6. ควบคุมดแู ลการจัดที่น่งั ในห้องเรียน ระหวา่ งโต๊ะเรียน ท่ีนง่ั ในโรงอาหาร การจดั เวน้ ระยะห่าง ระหว่าง
บุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร หรือเหลื่อมเวลาพักกินอาหารกลางวัน และกากับให้นักเรียน สวมหน้ากากผ้าหรือ
หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลา และล้างมือบอ่ ย ๆ
7. ตรวจสอบ กากับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการติด
โรคโควดิ 19 และรายงานต่อผู้บรหิ าร
8. ทาการตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคนที่เข้ามาในสถานศึกษาในตอนเช้า ทั้งนักเรียน ครูบุคลากร และผู้
มาติดต่อโดยใช้เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย พร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของ ระบบทางเดินหายใจ เช่น
ไข้ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รรู้ ส โดยติดสัญลักษณ์สติ๊กเกอรห์ รือตราปั๊ม แสดง
ให้เหน็ ชดั เจนวา่ ผ่านการคดั กรองแล้ว

- กรณีพบนักเรียนหรือผู้มีอาการมีไข้อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 37.5 องศาเชลเซียสข้ึนไป ร่วมกับ
อาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหน่ึง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน ให้รีบแจ้งผู้ปกครองมารับและพาไปพบ
แพทย์ให้หยุดพักที่บ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติพร้อมแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อประเมินสถานการณ์และ
ดาเนินการสอบสวนโรค และแจ้งผู้บริหารเพื่อพิจารณาการปิดสถานศึกษาตามมาตรการแนวทางของกระทรวง
สาธารณสุข

- บนั ทึกผลการคดั กรองและส่งตอ่ ประวัติการป่วย ตามแบบบันทกึ การตรวจสขุ ภาพ
- จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอยา่ งเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณทางเขา้ สบู่
ลา้ งมือบรเิ วณอ่างล้างมือ

12
แผนบริหารจดั การเรยี นการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรยี นบ้านหนองเจด็ บาท

9. กรณีครูสังเกตพบนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม เช่น เด็กสมาธิส้ัน เด็กท่ีมีความวิตกกังวลสูงอาจมี
พฤติกรรมดูดน้ิวหรือกัดเล็บ ครูสามารถติดตามอาการและนาเข้าข้อมูลที่สังเกตพบในฐานข้อมูลด้านพฤติกรรม
อารมณ์สงั คมของนักเรียน เพ่ือใหเ้ กิดการดแู ลชว่ ยเหลือรว่ มกบั ผู้เช่ยี วชาญดา้ นสุขภาพจติ ต่อไป

10. วิธีการปรบั พฤติกรรมสาหรับนักเรียนท่ีไม่รว่ มมอื ปฏบิ ัตติ ามมาตรการท่คี รกู าหนด ด้วยการแกป้ ัญหา
การเรียนรู้ใหม่ให้ถูกต้อง นั่นคือ "สร้างพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์" หรือ "ลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์"

11. ครูสื่อสารความรู้เกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติท่ีเกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติท่ีมีการแพร่
ระบาดของโรคโควิด 19 และนากระบวนการการจัดการความเครียด การฝึกสติให้กลมกลืนและเหมาะสมกับ
นักเรียนแต่ละวัย ร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ (Resilience) ให้กับนักเรียน ได้แก่
ทักษะชวี ติ ดา้ นอารมณส์ ังคม และความคดิ เป็นตน้

12. ครูสังเกตอารมณ์ความเครยี ดของตัวท่านเอง เนื่องจากภาระหน้าที่การดแู ลนักเรียนจานวนมากและ
กากบั ใหป้ ฏิบัตติ ามมาตรการป้องกันการติดโรคโควดิ 19 เปน็ บทบาทสาคัญ อาจจะสร้างความเครียดวติ กกังวล
ทั้งจากการเฝา้ ระวงั นักเรียน และการป้องกันตวั ท่านเองจากการสัมผัสกับเช้ือโรค ดงั นั้น เมื่อครมู ีความเครยี ดจาก
สาเหตุต่าง ๆ มขี ้อเสนอแนะ ดังน้ี

1) ความสับสนมาตรการของสถานศึกษาท่ีไม่กระจ่างชัดเจน แนะนาให้สอบทานกับผู้บริหาร
หรอื เพอ่ื นร่วมงาน เพ่อื ให้เขา้ ใจบทบาทหนา้ ทแ่ี ละข้อปฏบิ ัตทิ ต่ี รงกัน

2) ความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในสถานศึกษา พูดคุยสื่อสารถึงความไม่สบายใจ ร้องขอ
ส่ิงจาเป็นสาหรับการเรียนการสอนท่ีเพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคโควิด 19 เช่น สถานท่ี สื่อการสอน
กระบวนการเรียนรู้การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น หากท่านเป็นกลุ่มเส่ียง มีโรคประจาตัว สามารถเข้าสู่
แนวทางดูแลบคุ ลากรของสถานศกึ ษา

3) จัดให้มีการจัดการความเครียด การฝึกสติเป็นกิจวัตรก่อนเร่ิมการเรียนการสอนเพ่ือลดความ
วิตกกังวลต่อสถานการณท์ ต่ี งึ เครียดนี้

แนวปฏบิ ัติสาหรบั นักเรียน

1. ตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 พื้นท่เี สย่ี ง คาแนะนาการป้องกนั
ตนเองและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของโรคโควิด 19 จากแหลง่ ข้อมูลท่เี ชอื่ ถือได้

2. สงั เกตอาการป่วยของตนเอง หากมอี าการไข้ไอ มนี ้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น
ไม่รรู้ ส รีบแจ้งครูหรอื ผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด19 หรือกลับจากพ้ืนที่
เสีย่ งและอยู่ในช่วงกักตวั ให้ปฏิบัตติ ามคาแนะนาของเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุขอย่างเคร่งครัด

3. มีและใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้ร่วมกับผู้อื่น เช่น ช้อน ส้อม แก้วน้า แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดหน้า
หนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัย และทาความสะอาดหรอื เก็บใหเ้ รยี บรอ้ ย ทกุ ครงั้ หลังใช้งาน

4. กรณีนักเรียนด่ืมน้าบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และทาเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์เฉพาะไม่ให้
ปะปนกับของคนอนื่

5. หมั่นล้างมือบ่อย ๆ ด้วยวิธีล้างมือ 7 ข้ันตอนอย่างน้อย 20 วินาทีก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วม
หลีกเล่ียงใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จาเป็น รวมถึงสร้างสุขนิสัยท่ีดีหลังเล่นกับเพ่ือนเมื่อกลับมาถึง
บ้านต้องรบี อาบนา้ สระผม และเปลย่ี นเสอ้ื ผา้ ใหม่ทนั ที

6. เว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร ในการทากิจกรรมระหว่างเรียน ชว่ งพัก และหลัง
เลกิ เรียน เช่น นงั่ กินอาหาร เล่นกับเพือ่ น เขา้ แถวต่อควิ ระหว่างเดินทางอยบู่ นรถ

7. สวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามัยตลอดเวลาที่อยใู่ นสถานศกึ ษา

13
แผนบรหิ ารจดั การเรยี นการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรียนบ้านหนองเจด็ บาท

8. หลีกเลีย่ งการไปในสถานทีท่ แ่ี ออัดหรอื แหล่งชมุ ชนท่เี ส่ียงตอ่ การตดิ โรคโควิด 19
9. ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ด้วยการกินอาหารปรุงสุก รอ้ น สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผัก ผลไม้ 5 สี
เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ควรเสริมอาหารเช้าจากบ้าน หรือให้ผู้ปกครองจัดเตรียมอาหารกล่อง (Box set) กินที่
โรงเรียนแทน รวมถึงออกกาลังกาย อยา่ งน้อย 60 นาทีทกุ วัน และนอนหลบั อย่างเพียงพอ 9- 11 ชว่ั โมงตอ่ วัน
10. กรณีนักเรียนขาดเรียนหรือถูกกักตัว ควรติดตามความคืบหน้าการเรียนอย่างสม่าเสมอ ปรึกษาครู
เช่น การเรยี นการสอน สื่อออนไลน์อา่ นหนงั สือ ทบทวนบทเรยี น และทาแบบฝึกหัดที่บา้ น
11. หลีกเลี่ยงการล้อเลียนความผิดปติหรืออาการไม่สบายของเพ่ือน เนื่องจากอาจจะก่อให้เกิดความ
หวาดกลวั มากเกนิ ไปตอ่ การป่วยหรอื การตดิ โรคโควิด 19 และเกิดการแบ่งแยกกีดกนั ในหมนู่ ักเรียน

บทบาทหน้าที่ของนักเรียนแกนนาด้านสุขภาพ

นักเรียนที่มีจิตอาสา เป็นอาสาสมัครช่วยดูแลสุขภาพเพ่อื นนักเรยี นด้วยกันหรือดูแลรุ่นน้องด้วยเช่น สภา
นักเรยี น เด็กไทยทาได้ อย.นอ้ ย. ยวุ อาสาสมัครสาธารณสุข (ยวุ อสม.)

1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พืน้ ท่ีเสย่ี ง คาแนะนาการปอ้ งกันตนเองและ
ลดความเสยี่ งจากการแพรก่ ระจายของโรคโควิด 19 จากแหล่งข้อมลู ทเี่ ชอ่ื ถอื ได้

2. ช่วยครูตรวจคัดกรองวัดอุณหภูมิร่างกายของนักเรียนทุกคนท่ีมาเรียน ในตอนเช้า ทางเข้า โดยมีครู
ดแู ลให้คาแนะนาอยา่ งใกล้ชิด เน้นการจัดเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคล อย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร

3. ตรวจดูความเรียบร้อยของนักเรียนทุกคนท่ีมาเรียน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย หากพบ
นักเรียนไมไ่ ดส้ วม ให้แจง้ ครผู ้รู บั ผดิ ชอบ เพอ่ื จดั หาหนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามัยสารองให้

4. เฝ้าระวังสังเกตอาการของนักเรียน หากมีอาการไข้ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ
ไม่ไดก้ ล่นิ ไม่รรู้ ส ให้รบี แจง้ ครูทนั ที

5. จัดกิจกรรมสื่อสารให้ความรู้คาแนะนาการป้องกันและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายโรคโควิด
19 แก่เพ่ือนนักเรียน เช่น สอนวธิ ีการล้างมือท่ีถกู ต้อง การทาหน้ากากผ้า การสวมหน้ากาก การถอดหนา้ กากผ้า
กรณเี กบ็ ไว้ใช้ตอ่ การทาความสะอาดหนา้ กากผ้า การเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล จัดทาปา้ ยแนะนาตา่ ง ๆ

6. ตรวจอุปกรณ์ของใชส้ ่วนตัวของเพื่อนนักเรียนและรุ่นน้อง ให้พร้อมใช้งาน เน้นไม่ใช้ร่วมกับผู้อื่น เช่น
จาน ชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้า แปรงสีฟนั ยาสีฟนั ผา้ เช็ดหนา้ ผา้ เช็ดมอื ของตนเอง

7. จัดเวรทาความสะอาดห้องเรียน ห้องเรียนร่วม และบริเวณจุดสัมผัสเสี่ยงทุกวัน เช่น ลูกบิดประตู
กลอนประตูราวบันได สนามเดก็ เล่น อปุ กรณ์กฬี า เคร่อื งดนตรี คอมพวิ เตอร์

8. เป็นแบบอย่างท่ีดีในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคโควิด 19 ด้วยการสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามัย ล้างมือบ่อย ๆ กินอาหารใช้จาน ช้อน ส้อม แก้วน้าของตนเอง การเว้นระยะห่าง เป็นต้น โดยถือปฏิบัติ
เป็นสุขนสิ ัยกจิ วัตรประจาวนั อยา่ งสม่าเสมอ

แนวปฏบิ ตั สิ าหรับผ้ปู กครอง

1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พื้นท่ีเสี่ยง คาแนะนาการป้องกัน
ตนเองและลดความเส่ียงจากการแพรก่ ระจายของโรค จากแหลง่ ขอ้ มูลที่เชอ่ื ถือได้

2. สังเกตอาการป่วยของบุตรหลาน หากมีอาการไข้ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบไม่ได้
กล่ิน ไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์ควรแยกเด็กไม่ให้ไปเล่นกับคนอื่น ให้พักผ่อนอยู่ท่ีบ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ
กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด 19 หรือกลับจากพน้ื ท่ีเสี่ยง อยู่ในช่วงกักตวั ให้ปฏิบัตติ ามคาแนะนาของ
เจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ อยา่ งเคร่งครัด

14
แผนบรหิ ารจดั การเรยี นการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรียนบา้ นหนองเจด็ บาท

3. จัดหาของใช้ส่วนตัวให้บุตรหลานอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทาความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผ้า
ชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้า แปรงสฟี นั ยาสีฟนั ผา้ เชด็ หนา้ ผา้ เชด็ ตวั

4. จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์และกากับดูแลบุตรหลานให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วม
หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จาเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดีหลังเล่นกับเพ่ือนและเม่ือกลับ
มาถึงบา้ น ควรอาบนา้ สระผม และเปลยี่ นชดุ เสอื้ ผา้ ใหมท่ นั ที

5. ดูแลสุขภาพบุตรหลาน จัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม่ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาดอาหารครบ 5
หมู่และผัก ผลไม้ 5 สีและควรจัดอาหารกล่อง (Box set) ใหแ้ ก่นกั เรียนในช่วงเช้าแทนการซ้ือจากโรงเรียนกรณีที่
ไม่ได้กินอาหารเช้าจากที่บ้าน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกาลังกาย อย่างน้อย 60 นาทีทุกวัน และนอนหลับ
อย่างเพยี งพอ 9-11 ชว่ั โมงตอ่ วัน

6. หลีกเลี่ยงการพาบุตรหลานไปในสถานเสี่ยงต่อการติดโรคโควิด 19 สถานที่แออัดท่ีมีการรวมกันของ
คนจานวนมาก หากจาเป็นต้องสวมหนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามยั ล้างมือบ่อย ๆ 7 ขน้ั ตอน ดว้ ยสบู่และน้านาน
20 วินาที หรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์

7. กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการดูแล
จัดการเรยี นการสอนแก่นักเรยี น เช่น การส่งการบา้ น การร่วมทากจิ กรรม เป็นตน้

แนวปฏบิ ัติดา้ นอนามัยสง่ิ แวดล้อม

สถานศึกษาเป็นสถานที่ท่ีมีคนอยู่รวมกันจานวนมาก ท้ังนักเรียน ครูผู้ปกครอง บุคลากร ผู้มาติดต่อและ
ผู้ประกอบการร้านค้า กรณีที่นักเรียนต้องทากิจกรรมร่วมกับเพ่ือน ทาให้มีโอกาสใกล้ชิดกันมาก ทาให้เกิดความ
เสยี่ งตอ่ การแพรก่ ระจายของเชอื้ โรคได้งา่ ย จงึ ควรมีแนวปฏิบัติการจดั อาคารสถานท่ีดังนี้

1. ห้องเรียน ห้องเรยี นรวม เชน่ ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งดนตรี
1) จัดโต๊ะ เก้าอี้หรือที่น่ัง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ควร

คานึงถึงสภาพบริบทและขนาดพื้นท่ี และจัดทาสัญลักษณ์แสดงจุดตาแหน่งชัดเจน กรณีห้องเรียนไม่เพียงพอใน
การจัดตาระยะห่างระหว่างบุคคลควรจัดให้มีการสลับวันเรียนแต่ละช้ันเรียน การแบ่งจานวนนักเรียนหรือการใช้
พื้นท่ีใช้สอยบริเวณสถานศึกษา ตามความเหมาะสมท้ังนี้อาจพิจารณาวิธีปฏิบัติอื่นตามบริบท ความเหมาะสม
โดยยึดหลกั Social distancing

2) จัดให้มีการเหลื่อมเวลาเรียน การเรียนกลุ่มย่อย หรือวิธีปฏิบัติที่เหมาะสมตามบริบท
สถานการณ์และเนน้ ใหน้ ักเรยี นสวมหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยขณะเรยี นตลอดเวลา

3) จัดให้มีการระบายอากาศท่ีดีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตูหน้าต่าง หลีกเล่ียงการใช้
เคร่ืองปรับอากาศ หากจาเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ กาหนดเวลาเปิด - ปิดเคร่ืองปรับอากาศ เปิดประตู
หนา้ ต่างระบายอากาศ ทุก 1 ชว่ั โมงและทาความสะอาดอย่างสม่าเสมอ

4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับนักเรียนและครูใช้ประจาทุกห้องเรียน
อย่างเพียงพอ

5) ให้มีการทาความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ีอุปกรณ์และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตูเครื่องเล่น
ของใช้ร่วมทุกวันอย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง เช้าก่อนเรียนและพักเที่ยง หรือกรณีมีการย้ายห้องเรียน ต้องทาความ
สะอาดโตะ๊ เกา้ อกี้ อ่ นและหลังใช้งานทุกคร้ัง

2. ห้องสมุด

15
แผนบริหารจัดการเรยี นการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรยี นบ้านหนองเจ็ดบาท

1) จัดโต๊ะ เก้าอี้หรือที่น่ัง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร และ
จัดทาสญั ลกั ษณแ์ สดงจดุ ตาแหน่งชดั เจน

2) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตูหน้าต่าง หากจาเป็นต้องใช้
เครื่องปรับอากาศกาหนดเวลาเปิด - ปิดเคร่ืองปรับอากาศ เปิดประตูหน้าต่าง ระบายอากาศ ทุก 1 ชั่วโมง และ
ทาความสะอาดอยา่ งสม่าเสมอ

3) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับครูบรรณารักษ์นักเรียน และผู้ใช้บริการ
บรเิ วณทางเขา้ ด้านหนา้ และภายในหอ้ งสมดุ อย่างเพยี งพอ

4) ให้มีการทาความสะอาดโต๊ะเก้าอ้ีอุปกรณ์และจุดสัมผัสเส่ียง เช่น ลูกบิดประตูช้ันวางหนังสือ
ทุกวนั วันละ 2 ครง้ั (เชา้ กอ่ นให้บรกิ าร พักเท่ียง)

5) การจากัดจานวนคนจากัดเวลาในการเข้าใช้บริการห้องสมุด และให้นักเรียนและผู้ใช้บริการ
ทกุ คน สวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัยขณะใช้บรกิ ารห้องสมดุ ตลอดเวลา

3. ห้องประชุม หอประชมุ
1) จัดให้มีการคัดกรองตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าห้องประชุม หอประชุม หากพบผู้มี

อาการไข้ไอ มีน้า เจ็บคอหายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส แจ้งงดร่วมประชุมและแนะนาให้ไปพบ
แพทย์ทนั ที

2) จดั โต๊ะ เก้าอ้ีหรือที่นัง่ ให้มีการเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล 1 - 2 เมตร และจดั ทาสัญลกั ษณ์
แสดงจุดตาแหนง่ ชดั เจน

3) ผ้เู ขา้ ประชุมทกุ คนสวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัยขณะประชมุ ตลอดเวลา
4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับผู้เข้าประชุม บริเวณทางเข้าภายใน
อาคารหอประชุมบรเิ วณทางเข้าดา้ นหนา้ และด้านในของห้องประชมุ อย่างเพยี งพอและท่ัวถึง
5) งดหรือหลกี เลยี่ งการใหบ้ รกิ ารอาหารและเคร่ืองด่มื ภายในห้องประชุม
6) ให้มีการทาความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้อุปกรณ์และจุดสัมผัสเส่ียงร่วม เช่น ลูกบิดประตู รีโมท
อปุ กรณส์ อ่ื กอ่ นและหลังใช้ห้องประชมุ ทุกครง้ั
7) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตูหน้าต่าง ก่อนและหลังใช้ห้อง
ประชุมทุกครั้งหากจาเป็นต้องใช้เคร่ืองปรับอากาศ กาหนดเวลาเปิด - ปิดเคร่ืองปรับอากาศ เปิดประตูหน้าต่าง
ระบายอากาศ ทุก 1 ชว่ั โมงและทาความสะอาดอยา่ งสม่าเสมอ

4. สนามกีฬา
1) จดั พื้นท่ีทากจิ กรรมและเลน่ กฬี า ลดความแออัด อาจจัดใหเ้ ล่นกีฬาเป็นรอบ หรือให้มีการเว้น

ระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร
2) จดั ให้มีเจลแอลกอฮอลใ์ ช้ทาความสะอาดมอื สาหรับนกั กีฬาและผมู้ าใชบ้ ริการ บริเวณทางเข้า

และบรเิ วณด้านในอาคารอย่างเพียงพอและทวั่ ถึง
3) ทาความสะอาดอุปกรณ์และเครื่องเล่นแต่ละชนิดก่อนหรือหลังเล่นทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1

ครั้ง
4) จัดใหม้ กี ารระบายอากาศ ใหอ้ ากาศถา่ ยเท เชน่ เปิดประตหู น้าตา่ ง เปิดพดั ลม
5) จากัดจานวนคนจานวนเวลาในการเล่นกีฬาหรอื กิจกรรมภายในอาคารโรงยิมหรอื สนามกีฬา
6) หลีกเลี่ยงการจัดกิจกรรมหรอื เล่นกีฬาประเภทแข่งขันเป็นทีมหรอื มีการปะทะกนั อย่างรนุ แรง

เช่น วอลเลยบ์ อล ฟุตบอล ฟตุ ซอล บาสเกตบอล เป็นตน้

16
แผนบรหิ ารจัดการเรยี นการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท

5. สถานทแี่ ปรงฟนั
สถานศึกษาส่งเสริมให้มีกจิ กรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอยา่ งถูกต้องเหมาะสมตามสถานการณ์และ
บริบทพื้นท่ี หลีกเลี่ยงการรวมกลุ่ม ควรจัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลในการแปรงฟันและให้มีอุปกรณ์การแปรง
ฟนั ส่วนบคุ คล ดังนี้
3.5.1 การจัดเตรยี มวสั ดุอปุ กรณก์ ารแปรงฟัน แปรงสฟี นั

1) นักเรียนทกุ คนมีแปรงสีฟันเป็นของตนเอง หา้ มใชแ้ ปรงสฟี ันและยาสีฟนั รว่ มกัน
2) ทาสัญลักษณ์หรือเขียนชื่อบนแปรงสีฟันของแต่ละคน เพื่อให้รู้ว่าเป็นแปรงสีฟันของใคร

ป้องกันการหยิบของผอู้ ืน่ ไปใช้
3) ควรเปล่ยี นแปรงสฟี นั ใหน้ กั เรยี น ทุก 3 เดอื น เมือ่ แปรงสีฟันเส่ือมคณุ ภาพ โดยสังเกตดงั นี้
- บริเวณหัวแปรงสีฟนั มีคราบสกปรกติดค้าง ล้างได้ยาก
- ขนแปรงสีฟันบานแสดงว่าขนแปรงเสื่อมคุณภาพใช้แปรงฟันได้ไม่สะอาดและอาจกระแทก
เหงอื กให้เป็นแผลได้ ยาสีฟัน ใหน้ ักเรียนทุกคนมียาสีฟันเป็นของตนเอง และเลือกใชย้ าสีฟันผสมฟลูออไรด์ ซึ่งมี
ปรมิ าณฟลอู อไรด์ 1,000-1,500 ppm. (มิลลิกรัม/ลติ ร) เพื่อป้องกนั ฟนั ผุ แก้วน้าจัดให้นกั เรียนทุกคนมแี กว้ น้า
ส่วนตัวเป็นของตนเอง จานวน 2 ใบ ผ้าเช็ดหน้าส่วนตัว สาหรับใช้เช็ดทาความสะอาดบริเวณใบหน้าควรซักและ
เปลย่ี นใหมท่ ุกวัน
3.5.2 การเก็บอุปกรณ์แปรงสฟี ัน
1) เกบ็ แปรงสฟี ันในบรเิ วณท่มี อี ากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่อบั ช้นื และปลอดจากแมลง
2) จดั ทาท่ีเก็บแปรงสีฟัน แก้วน้า โดยเก็บของนักเรยี นแต่ละคนแยกจากกนั ไมป่ ะปนกัน เว้นที่
ให้มีระยะห่างเพียงพอท่ีจะไม่ให้แปรงสีฟันสัมผสั กนั เพอื่ ป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 และควรวางหัว
ของแปรงสฟี นั ตั้งข้นึ เพื่อปอ้ งกันไม่ใหน้ า้ ทค่ี ้างตามดา้ มแปรงสีฟนั หยดลงใสห่ วั แปรงสีฟัน
3.5.3 การจดั กิจกรรมแปรงฟนั หลงั อาหารกลางวนั
ครูประจาชั้นดูแลและจัดให้มีกิจกรรมการแปรงฟันในห้องเรียน ให้นักเรียนทุกคนแปรงฟันหลังอาหาร
กลางวันทุกวันอย่างสม่าเสมอ โดยหลีกเลีย่ งการรวมกลุ่ม และเว้นระยะห่างในการแปรงฟัน โดย
1) ให้นักเรียนแปรงฟันในห้องเรียน โดยน่ังที่โต๊ะเรียน เพ่ือป้องกันการแพร่กระจายของน้าลาย
ละอองนา้ หรือเชื้อโรคส่ผู ู้อ่นื กรณหี ้องเรยี นแออัด ใหเ้ หลื่อมเวลาในการแปรงฟัน
2) ก่อนการแปรงฟันทุกครั้ง ให้ล้างมือด้วยสบู่และน้าเสมอ เป็นเวลาอย่างน้อย 20 วินาที หรือ
เจลแอลกอฮอล์ที่มีความเข้มข้น 70-74 % หลีกเล่ียงการรวมกลุ่ม และเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย
1- 2 เมตร
3) ครูประจาช้ันเทนา้ ให้นักเรยี นใส่แก้วน้าใบที่ 1 ประมาณ 1/3 แกว้ (ประมาณ 15 ml)
4) นักเรียนนั่งท่ีโต๊ะเรียน แปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ครอบคลุมทุกซ่ีทุกดา้ น นานอย่าง
นอ้ ย 2 นาทเี มื่อแปรงฟันเสร็จแลว้ ให้บ้วนยาสฟี ันและนา้ สะอาดลงในแกว้ น้า ใบที่ 2 เชด็ ปากใหเ้ รยี บร้อย
5) นกั เรียนทกุ คนนาน้าที่ใช้แลว้ จากแกว้ ใบท่ี 2 เทรวมใส่ภาชนะท่ีเตรียมไวแ้ ละให้ครูประจาช้ัน
นาไปเททิ้งในที่ระบายน้าของสถานศึกษา ห้ามเทลงพ้ืนดิน
6) นักเรียนนาแปรงสีฟันและแก้วน้าไปล้างทาความสะอาด และนากลับมาเก็บให้เรียบร้อย
หลกี เล่ียงการรวมกลุ่มและเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร
7) มีการตรวจความสะอาดฟันหลงั การแปรงฟันด้วยตนองทุกวัน โดยอาจมีกระจกของตวั เอง ใน
การตรวจดูความสะอาดเสริมดว้ ยกจิ กรรมการยอ้ มสฟี ันอย่างน้อยภาคเรยี นละ 2 คร้งั

17
แผนบรหิ ารจัดการเรียนการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท

๖. สนามเดก็ เลน่
1) ให้มีการทาความสะอาดเคร่ืองเล่นและอุปกรณ์การเล่นทุกวัน อย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง ทา

ความสะอาดดว้ ยนา้ ยาทาความสะอาดตามคาแนะนาของผลติ ภณั ฑ์
2) จัดเครื่องเล่น อุปกรณ์การเล่น และนักเรียน ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย

1 - 2 เมตร และกากับดูแลใหเ้ ด็กสวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย ตลอดเวลาการเล่น
3) จากัดจานวนคนจากัดเวลาการเล่นในสนามเด็กเล่น โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของครูใน

ชว่ งเวลา พกั เท่ยี งและหลังเลิกเรียน
4) ให้ล้างมอื ดว้ ยสบแู่ ละนา้ หรือเจลแอลกอฮอลใ์ ช้ทาความสะอาดมือก่อนและหลงั เลน่ ทกุ คร้ัง

๗. หอ้ งส้วม
1) จัดเตรียมอุปกรณ์ทาความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ายาทาความสะอาดหรือน้ายาฟอก

ขาว อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถังน้า ไม้ถูพื้น คีบด้ามยาวสาหรับเก็บขยะ ผ้าเช็ดทาความสะอาด และอุปกรณ์
ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลท่ีเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน เช่น ถุงมือ หน้ากากผ้า เส้ือผ้าที่จะนามาเปลี่ยนหลังทา
ความสะอาด

2) การทาความสะอาดห้องน้า ห้องส้วม อยา่ งนอ้ ยวันละ 2 คร้ัง ดว้ ยนา้ ยาทาความสะอาดทว่ั ไป
พ้ืนหองส้วมให้ฆ่าเชือ้ โดยใช้ผลิตภัณฑฆ์ ่าเช้ือท่ีมสี ่วนผสมของโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (รู้จักกันในชื่อน้ายาฟอกขาว )
โดยนามาผสมกับน้าเพ่ือให้ได้ความเข้มข้น 0.1 % หรือ 1000 ส่วนในล้านส่วน หรือผลิตภัณฑ์ฆ่าเช้ือท่ีมี
สว่ นผสมของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์โดยน้ามาผสมกับนา้ เพื่อให้ได้ความเข้มข้น 0.5% หรือ 5000 ส่วน ในลา้ น
ส่วน ราดน้ายาฆ่าเช้ือท้ิงไว้อย่างน้อย 10 นาที เน้นเช็ดบริเวณที่รองนั่งโถส้วม ฝาปิดโถส้วม ท่ีกดชักโครก สาย
ชาระ ราวจับ ลูกบิดหรือกลอนประตูที่แขวนกระดาษชาระ อ่างล้างมือ ขันน้า ก๊อกน้า ท่ีวางสบู่ ผนัง ซอกประตู
ดว้ ยผา้ ชุบนา้ ยาฟอกขาว หรอื ใชแ้ อลกอฮอล์ 70% หรือไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5%

3) หลังทาความสะอาด ควรซักผ้าเช็ดทาความสะอาดและไม้ถูพื้น ด้วยน้าผสมผงซักฟอกหรือ
นา้ ยาฆ่าเช้อื แล้วซกั ดว้ ยนา้ สะอาดอีกครัง้ และนาไปผ่ึงแดดให้แห้ง

๘. หอ้ งพกั ครู
1) จัดโต๊ะ เกา้ อี้หรอื ทีน่ ง่ั ให้มกี ารเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1 - เมตร ควรคานงึ ถึง

สภาพบริบทและขนาดพ้ืนท่ี อาจพิจารณาใช้ฉากก้ันบนโต๊ะเรียน และจัดทาสัญลักษณ์แสดงจุดตาแหน่งชัดเจน
โดยถือปฏิบัตติ ามหลัก Social distancing อย่างเคร่งครัด

2) ใหค้ รูสวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัยตลอดเวลาทอ่ี ยู่ในสถานศึกษา
3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตูหน้าต่าง หลีกเล่ียงการใช้
เครื่องปรับอากาศ หากจาเป็นต้องใช้เคร่ืองปรับอากาศ กาหนดเวลาเปิด - ปิดเครื่องปรับอากาศ เปิดประตู
หนา้ ต่าง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมงและทาความสะอาดอย่างสม่าเสมอ
4) ให้มีการทาความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ีอุปกรณ์และจุดสัมผัสเส่ียง เช่น ลูกบิดประตู อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ เป็นตน้ เป็นประจาทกุ วัน อย่างน้อยวนั ละ 2 ครั้ง
5) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับครูและผู้มาติดต่อ บริเวณทางเข้า
ดา้ นหน้าประตูและภายในห้องอยา่ งเพยี งพอและทวั่ ถงึ

18
แผนบริหารจดั การเรียนการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรยี นบา้ นหนองเจด็ บาท

๙. ห้องพยาบาล
1) จดั หาครูหรอื เจา้ หนา้ ทเี่ พอ่ื ดแู ลนกั เรียนในกรณที ีม่ ีนักเรยี นปว่ ยมานอนพักรอผู้ปกครองมารบั
2) จัดให้มีพื้นท่ีหรือห้องแยกอย่างชัดเจน ระหว่างนักเรียนป่วยจากอาการไข้หวัดกับนักเรียน

ป่วยจากสาเหตุอื่น ๆ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชือ้ โรค
3) ทาความสะอาดเตียงและอปุ กรณ์ของใช้ทุกวนั
4) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือ บริเวณทางเข้าหน้าประตูและภายในห้อง

พยาบาลอยา่ งเพยี งพอ

1๐. โรงอาหาร
การจดั บรกิ ารภายในโรงอาหาร การนั่งกินอาหารร่วมกันของผใู้ ช้บริการ รวมถึงอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ตู้
กดน้าดื่มระบบกรองน้าและผู้สัมผัสอาหาร อาจเป็นแหล่งแพร่กระจายเช้ือโรค จึงควรมีการดูแล เพื่อลดและ
ปอ้ งกันการแพรก่ ระจายเชือ้ โรค ดงั นี้
1) หน่วยงานที่จดั บรกิ ารโรงอาหารกาหนดมาตรการการปฏบิ ัตใิ หส้ ถานทส่ี ะอาดถกู สุขลักษณะดังน้ี

(1) จัดให้มีอ่างล้างมือ พร้อมสบู่สาหรับให้บริการแก่ผู้เข้ามาใช้บริการโรงอาหาร บริเวณก่อน
ทางเขา้ โรงอาหาร

(2) ทกุ คนทีจ่ ะเข้ามาในโรงอาหาร ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย
(3) จัดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในพ้ืนท่ีต่าง ๆ เช่น ท่ีนั่งกิน
อาหารจดุ รบั อาหาร จดุ ซื้ออาหาร จดุ รอกดนา้ ดืม่ จุดปฏิบตั งิ านรว่ มกนั ของผู้สมั ผสั อาหาร
(4) จดั เหลือ่ มชว่ งเวลาซอ้ื และกินอาหาร เพื่อลดความแออดั พน้ื ทภ่ี ายในโรงอาหาร
(5) ทาความสะอาดสถานที่ปรุง ประกอบอาหาร พ้ืนท่ีตั้งตู้กดน้าด่ืม และพื้นท่ีบริเวณที่นั่งกิน
อาหารใหส้ ะอาด ด้วยน้ายาทาความสะอาดหรือผงซกั ฟอก และจัดใหม้ ีการฆา่ เช้ือดว้ ยโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (นา้ ยา
ฟอกขาว) ท่มี ีความเข้มขน้ 1,000 ส่วนในล้านส่วน (ใช้โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 6% อัตราส่วน 1 ช้อนโตะ๊ ต่อน้า 1
ลิตร)
(6) ทาความสะอาดโต๊ะและท่ีนั่งให้สะอาด สาหรับนั่งกินอาหาร ด้วยน้ายาทาความสะอาดหรือ
จัดให้มีการฆ่าเช้ือด้วยแอลกอฮอล์ 70% โดยหยดแอลกอฮอล์ลงบนผ้าสะอาดพอหมาด ๆ เช็ดไปในทิศทาง
เดียวกัน หลังจากผู้ใช้บรกิ ารทกุ ครัง้
(7) ทาความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์และเครื่องใช้ให้สะอาด ด้วยน้ายาล้างจาน และให้มีการฆ่า
เชื้อด้วยการแช่ในน้าร้อน 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 วินาทีหรือแช่ด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ายาฟอก
ขาวท่ีมีความเข้มข้น 100 ส่วนในล้านส่วน ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 6% อัตราส่วนคร่ึงช้อนชาต่อน้า 1 ลิตร) 1
นาทีแลว้ ล้างนา้ ใหส้ ะอาด และอบหรอื ผึ่งให้แหง้ กอ่ นนาไปใช้ใส่อาหาร
(8) ทาความสะอาดตู้กดน้าด่ืม ภายในตู้ถงั น้าเย็น อย่างน้อยเดอื นละ 1 คร้ัง และเช็ดภายนอกตู้
และก๊อกน้าดื่มให้สะอาดทุกวัน และฆ่าเชื้อด้วยการแช่โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ายาฟอกขาว) ที่มีความเข้มข้น
100 ส่วนในล้านส่วน เป็นเวลา 30 นาทีทุกครั้งก่อนบรรจุน้าใหม่ ในกรณีที่มีเคร่ืองกรองน้าควรทาความสะอาด
ด้วยการล้างย้อน (Backwash) ทุกสัปดาห์และเปลี่ยนไส้กรองตามระยะเวลากาหนดของผลิตภัณฑ์และตรวจเช็ค
ความชารุดเสียหายของระบบไฟฟ้าท่ีใชส้ ายดิน ตรวจเช็คไฟฟา้ รั่วตามจุดตา่ ง ๆ โดยเฉพาะบริเวณก๊อกน้าที่ถือเป็น
จดุ เส่ยี ง เพอ่ื ป้องกนั ไฟฟา้ ดูดขณะใชง้ าน

19
แผนบรหิ ารจัดการเรียนการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรยี นบา้ นหนองเจ็ดบาท

(9) จัดบริการอาหาร เน้นป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรค เช่น อาหารปรุงสาเร็จสกุ ใหมท่ ุกครั้ง
หลีกเลี่ยงการจาหน่ายอาหารเส่ียง เช่น อาหารประเภทกะทิหรืออาหารปรุงข้ามวัน การปกปิดอาหารปรุงสาเร็จ
การใช้ภาชนะท่ีเหมาะสมกับประเภทอาหาร และจัดให้มีภาชนะอุปกรณ์สาหรับการกินอาหารอยางเพียงพอเป็น
รายบุคคล เชน่ จาน ถาดหลุม ชอ้ น สอ้ ม แก้วนา้ เป็นต้น

(10) ประชาสมั พันธ์ให้ความรภู้ ายในโรงอาหาร เช่น การสวมหนา้ กากท่ถี กู วิธขี ้นั ตอนการล้างมือ
ที่ถูกต้อง การเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล การเลอื กอาหารปรุงสุกใหมส่ ะอาด เป็นต้น

(11) กรณีมีการใช้บริการร้านอาหารจากภายนอก จัดส่งอาหารให้กับสถานศึกษาควรให้ครูหรือ
ผู้รับผิดชอบตรวจประเมินระบบสุขาภิบาลอาหารของร้านอาหาร โดยกาหนดข้อตกลงการจัดส่งอาหารปรุงสุก
พรอ้ มกินภายใน 2 ชั่วโมง หลงั ปรงุ เสรจ็ และมกี ารปกปดิ อาหารเพือ่ ปอ้ งกันการปนเปือ้ นส่ิงสกปรกลงในอาหาร

(12) พิจารณาทางเลือกให้ผู้ปกครองสามารถตรียมอาหารกลางวัน (Lunch box) ให้นักเรียนมา
รบั ประทานเองเพอ่ื ปอ้ งกนั เช้อื และลดการแพรก่ ระจายเชื้อ

2) ผสู้ มั ผสั อาหารต้องดูแลสุขลกั ษณะสว่ นบุคคล มีการปอ้ งกนั การแพร่กระจายเชื้อโรค ดังน้ี
(1) หากมีอาการป่วย ไข้ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้

หยดุ ปฏบิ ตั งิ านและแนะนาใหไ้ ปพบแพทย์ทนั ที
(2) ดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเอง แต่งกายให้สะอาด สวมใส่ผ้ากันเปื้อนและ

อปุ กรณ์ป้องกนั การปนเปอ้ื นสู่อาหาร ในขณะปฏิบตั งิ าน
(3) รักษาความสะอาดของมือ ด้วยการล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้า ก่อนปฏิบัติงานและขณะ

เตรียมอาหารประกอบอาหาร และจาหน่ายอาหาร รวมถึงหลังจากการจับเหรียญหรือธนบัตร หรือสัมผัสส่ิง
สกปรก อาจใช้เจลแอลกอฮอล์ทาความสะอาดมือร่วมด้วย หลีกเล่ียงการใช้มือสมั ผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่
จาเปน็

(4) สวมใสห่ นา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาขณะปฏิบตั งิ าน
(5) มีพฤติกรรมขณะปฏิบัติงานป้องกันการปนเปื้อนของเช้ือโรค เช่น ใช้อุปกรณ์ในการปรุง
ประกอบอาหาร เช่น เขียง มีด การหยิบจับอาหาร แยกระหว่างอาหารสุก อาหารประเภทเน้ือสัตว์สด ผัก และ
ผลไม้และไม่เตรียม ปรงุ ประกอบอาหารบนพื้นโดยตรง
(6) จัดเมนูอาหารทีจ่ าหน่าย โดยเนน้ อาหารปรุงสุกด้วยความร้อน โดยเฉพาะเน้ือสัตว์ ปรงุ ใหส้ ุก
ด้วยความร้อนไม่น้อยกว่า 70 องศาเซลเซียส หลีกเลี่ยงการจาหน่ายอาหารบูดเสียง่าย เช่น อาหารประเภทกะทิ
และอาหารท่ีไม่ผา่ นความร้อน เช่น ซชู เิ ป็นต้น
(7) อาหารปรุงสาเร็จ จัดเก็บในภาชนะสะอาด มีการปกปิดอาหารจัดเก็บสูงจากพ้ืนไม่น้อยกว่า
60 เซนตเิ มตร กรณีอาหารปรงุ สาเร็จ รอการจาหนา่ ย ใหน้ ามาอุน่ ทุก 2 ชวั่ โมง
(8) การใช้ภาชนะบรรจุอาหารแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งต้องสะอาดมีคุณภาพ เหมาะสมกับการบรรจุ
อาหารปรงุ สาเรจ็ และไมค่ วรใชโ้ ฟมบรรจุอาหาร
(9) ระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ าน ใหม้ ีการเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร
(10) ควรพิจารณาใหม้ รี ะบบชาระเงินออนไลนส์ าหรับผ้บู ริโภค
3) ผู้ที่เข้ามาใช้บรกิ ารโรงอาหาร ต้องดาเนนิ การป้องกนั ตนเอง และปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื โรค ดงั นี้
(1) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้า หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ทาความสะอาดมือทุกคร้ังก่อนเข้าไป
ในโรงอาหารก่อนกินอาหารภายหลังซื้ออาหารหลังจากจับเหรียญหรือธนบัตรหลังจาก สัมผัสส่ิงสกปรกหรือหลัง
ออกจากหอ้ งสว้ ม

20
แผนบริหารจดั การเรยี นการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรยี นบา้ นหนองเจ็ดบาท

(2) ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยู่ในโรงอาหารหรือเข้าไปใน
สถานท่จี าหนา่ ยอาหาร

(3) เลือกซ้ืออาหารปรุงสาเร็จสุกใหม่ หลีกเลี่ยงการกินอาหารประเภทเน้ือสัตว์เคร่ืองในสัตว์ที่
ปรุงไม่สุกและตรวจสอบคุณภาพของอาหารทันทีเช่น สภาพอาหาร กลิ่น ความสะอาดและความเหมาะสมของ
ภาชนะบรรจุ มีการปกปดิ อาหารมิดชดิ ไม่เลอะเทอะ ไม่ฉีกขาด เป็นตน้

(4) ให้มกี ารเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการซ้ืออาหารขณะรออาหาร
นั่งกินอาหาร ขณะรอกดนา้ ดม่ื

(5) พิจารณาเลอื กใช้ระบบการชาระเงินแบบออนไลน์

1๑. การเข้าแถวเคารพธงชาติ
1) การจัดพื้นท่ีเขา้ แถว ใหม้ ีการเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร กรณมี ีพื้นท่ี

จากัดไม่เพียงพออาจพิจารณาสลับช้ันเรียนมาเข้าแถวบริเวณหน้าเสาธง หรือจัดให้มีการเข้าแถวบริเวณที่มีพื้นที่
กวา้ งขวาง เชน่ หน้าห้องเรียนลานอเนกประสงค์ลานสนามกีฬา ห้องประชุม เป็นตน้

2) ครแู ละนกั เรียนทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาการเข้าแถวเคารพ
ธงชาติ

3) ลดระยะเวลาการจัดกิจกรรมหนา้ เสาธง กรณีมีการสื่อสารประชาสมั พันธค์ วรใชช้ ่องทางอืน่ ๆ
เชน่ เสยี งตามสายผ่านออนไลน์ Line Facebook E-mail แจ้งในห้องเรียน เปน็ ต้น

4) ทาความสะอาดอุปกรณ์ของใช้หรือจุดสัมผัสเสี่ยงภายหลังการใช้งานทุกคร้งั เช่น เชือกท่ีเสา
ธง ไมโครโฟน เป็นตน้

แนวปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งเปิดภาคเรียน

กรณีเปิดเรียนได้ตามปกต(ิ OnSite) กรณีโรงเรียนไมส่ ามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ

1. ดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อม 1.การเรียนผา่ นโทรทัศน์(On-Air)
2. ด้านการจดั การเรยี นการสอน 2.การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (On-line)
3. ด้านสาธารณสุข 3.การเรยี นผา่ นหนังสือ เอกสาร ใบงาน
4. แนวทางปฏิบัตสิ าหรบั ผูจ้ ัดกิจกรรม
5. แนวทางปฏิบตั สิ าหรับผู้เขา้ กจิ กรรม (On-Hand)
๖ มาตรการหลัก 4..การจดั การเรียนการสอนแบบ (On-Demand)
๗ มาตรการเขม้

21
แผนบริหารจัดการเรียนการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรยี นบา้ นหนองเจด็ บาท

๕. แนวทางและรูปแบบการจดั การเรยี นการสอนของสถานศึกษา

แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) ที่กาหนดไว้นี้ โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท พิจารณาเลือกจัดการเรียนการสอนโดยพิจารณารูปแบบ
ให้มีความเหมาะสม ตามความต้องการของสถานศึกษา และให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท้ังนี้
ต้องคานึงถงึ ความปลอดภัยของนักเรยี น ครู และบุคลากร เป็นสาคญั

1. การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) เป็นรูปแบบการเรียนการสอนผ่านอินเทอรเ์ น็ต และแอป
พลิเคชัน การจัดการเรียนการสอนแบบนี้ สาหรับ ครูและนักเรียนท่ีมีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เช่น
คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ และมกี ารเช่ือมตอ่ สญั ญาณ อินเทอร์เนต็

แอพลเิ คช่ันท่โี รงเรียนเลอื กใช้ คือ Google Meet
โปรแกรมสาหรับการประชุมทางวิดีโอแบบออนไลน์ โดยผู้สอนท่ีมีบัญชี Google จะสามารถสร้าง
หอ้ งเรยี นออนไลน์ทรี่ องรับนักเรียนได้สงู สุด ๑๐๐ คน และใชส้ อนไดส้ ูงสุด ๖๐ นาทตี อ่ การสรา้ ง ห้อง ๑ ครั้ง
๒. รูปแบบการเรียนการสอนผ่านหนังสือ เอกสาร ใบงาน (ON Hand) รูปแบบนี้เป็นการเรียนการ
สอนผา่ นหนังสือโดยใหแ้ บบฝึกหัด ให้การบ้านไปทาท่ีบ้าน อาจใช้ ร่วมกับรปู แบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสม และ
ความต้องการของนกั เรยี น

22
แผนบริหารจัดการเรยี นการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรยี นบา้ นหนองเจด็ บาท

๖. แผนการเผชญิ เหตุ

แผนการเผชิญเหตุ สถานศึกษาทุกแห่งจะต้องจัดให้มีเตรียมพร้อมไว้หากเกิดกรณีฉุกเฉิน และมีการ
ซักซ้อมอย่างเคร่งครัด สม่าเสมอ หากพบผู้ติดเช้ือ หรือพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง สถานศึกษาต้องมีความพร้อม ใน
เรื่องสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับบุคลากรทางการ แพทย์ใน
พ้ืนที่ รวมทั้งการสร้างการรับรู้ข่าวสารภายใน การคัดกรองเพื่อแบ่งกลุ่มนักเรียน ครูและบุคลากรใน สถานศึกษา
ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาแผนการเผชิญเหตุในคู่มือการปฏิบัติ ตามมาตรการ
Sandbox : Safety Zone in School รายละเอยี ด ดังนี้

23
แผนบรหิ ารจดั การเรยี นการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรยี นบ้านหนองเจ็ดบาท

24
แผนบรหิ ารจดั การเรยี นการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรยี นบา้ นหนองเจ็ดบาท

๗. บทบาทหน้าทขี่ องผู้ที่เกย่ี วข้อง

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ยังคงมีการแพร่ระบาด
อย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้สถานศึกษามีแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท จึงกาหนดบทบาทของบุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตาม
หลักเกณฑ์ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ดังน้ี

๑. บทบาทของนักเรียน
นักเรียนเป็นหัวใจสาคัญที่ต้องได้รับความคุ้มครอง ดูแลในเรื่องความปลอดภัยอย่างสูงสุด ท้ังนี้ นักเรียน

จะต้องถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ อย่าง
เคร่งครัด ตั้งแต่การเดินทางออกจากบ้านมาเรียน ขณะอยู่ในโรงเรียน จนถึงการกลับบ้าน บทบาทของนักเรียน
ควรมดี งั น้ี

๑) เตรียมความพรอ้ มในเรอ่ื งอปุ กรณก์ ารเรียน เครื่องใช้ส่วนตัว และอ่ืน ๆ ทีจ่ าเป็นสาหรับการเรียน การ
สอน

๒) ปฏิบัติตาม 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริมของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ
กาหนดอย่างเคร่งครัด

๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
และสร้างความรู้ความเข้าใจของคาแนะนาในการป้องกันตนเอง และลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหล่งขอ้ มลู ท่ีเช่อื ถือได้

๔) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคช่ัน Thai Save Thai (TST) อย่างสม่าเสมอ และสังเกต
อาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส รีบแจ้ง
ครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
หรอื กลบั จากพน้ื ทเ่ี ส่ยี ง และอยู่ในช่วงกักตวั ใหป้ ฏิบัตติ ามคาแนะนาของเจา้ หน้าทีส่ าธารณสขุ อย่างเครง่ ครดั

๕) ขอคาปรึกษาจากครูผู้สอนเมื่อพบปัญหาเกี่ยวกับการเรียน อุปกรณ์การเรียนเรียน เครื่องใช้ส่วนตัว
หรือพบความผดิ ปกติของรา่ งกายท่ีอาจเสย่ี งต่อการตดิ เชื้อของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ทันที

๒. บทบาทของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ครูและบุคลากรทางการศึกษาน้ัน ซ่ึงถืออยู่ใกล้ชิดนักเรียน มีหน้าที่สาคัญในการจัดการเรียนรู้ให้แก่

นักเรียนทุกรูปแบบ จึงต้องเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
นอกจากจะต้องดูแลตนเองแล้ว ยังต้องดูแลนักเรียนอีกด้วย โดยเฉพาะด้านสุขอนามัยตามมาตรการท่ี กระทรวง
สาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด บทบาทของครูและบุคลากรทางการศึกษา ควรมีดงั นี้

๑) ประชุมออนไลน์(Online) ช้แี จงผ้ปู กครองนักเรียนเพ่อื สร้างความเข้าใจร่วมกัน ในการป้องกัน การเฝ้า
ระวงั การเตรียมตัวของนกั เรียนใหพ้ ร้อมกอ่ นเปิดเรยี น

๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่างสม่าเสมอและสังเกต
อาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิ่นไม่รู้รส ให้หยุด
ปฏิบัติงาน และรบี ไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
หรอื กลบั จากพนื้ ทเ่ี ส่ียงและอยใู่ นชว่ งกกั ตวั ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามคาแนะนาของเจา้ หนา้ ที่สาธารณสุขอย่าง เครง่ ครัด

25
แผนบริหารจดั การเรยี นการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรียนบา้ นหนองเจ็ดบาท

๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
และสร้างความรู้ความเข้าใจของคาแนะนาในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรค
ติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-19) จากแหลง่ ข้อมูลท่ีเชื่อถอื ได้

๔) จัดหาส่ือประชาสัมพันธใ์ นการป้องกันและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือท่ีถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก อนามัย
คาแนะนาการปฏิบัตติ ัว การเวน้ ระยะหา่ งทางสังคม การทาความสะอาด หลีกเลยี่ งการทากจิ กรรม รว่ มกันจานวน
มากเพอื่ ลดจานวนคน

๕) ปฏิบัติตาม 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริมของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ
กาหนดอยา่ งเคร่งครัด

๖) คอยดูแล สอดส่องช่วยเหลอื นกั เรียนในเรอ่ื งสขุ อนามยั ให้เป็นไปตามมาตรการท่ี กระทรวงสาธารณสุข
และกระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด ไดแ้ ก่

(๑) ทาการตรวจคัดกรองสุขภาพนักเรียนทุกคนท่ีเข้ามาในโรงเรียนในตอนเช้า ใช้เครื่องวัด
อุณหภูมิร่างกายพร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ
หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ไดก้ ล่ิน ไม่รรู้ ส โดยติดสัญลักษณ์ สติกเกอร์หรือตราปั๊ม แสดงให้เห็นชัดเจนว่า ผ่าน
การคดั กรองแล้ว

(๒) กรณีพบนักเรียนหรือผู้มีอาการมีไข้ อุณหภูมิร่างกายต้ังแต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียสข้ึนไป
ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหน่ึง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน ประสานโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพประจาตาบล หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพ่ือตรวจคัดกรองอีกคร้ัง หากพบว่าผลตรวจเบื้องเป็นบวกจึง
แจ้งผู้ปกครองมารับ จากนั้นแจ้งผู้บริหารหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพ่ือดาเนินการตามแผนเผชิญเหตุ และมาตรการ
ปอ้ งกันตามระดบั การแพรร่ ะบาดโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)ของสถานศึกษา

(๓) บันทึกผลการคดั กรองและสง่ ตอ่ ประวตั กิ ารป่วย ตามแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ
(๔) จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใชง้ านอย่างเพยี งพอ เชน่ เจลแอลกอฮอลว์ างไวบ้ ริเวณ ทางเข้า
สบู่ล้างมอื บรเิ วณอ่างลา้ งมอื
๗) ตรวจสอบ กากับ ติดตามการมาเรยี นของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยใู่ นกลมุ่ เสี่ยง ต่อการ ติด
โรคโควดิ 19 และรายงานตอ่ ผบู้ รหิ าร
๘) ปรับพฤติกรรมสาหรับนักเรียนท่ีไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการที่ครูกาหนด ด้วยการแก้ปัญหาการ
เรยี นรู้ใหม่ให้ถกู ต้อง นั่นคือ “สร้างพฤติกรรมท่พี งึ ประสงค”์ หรอื “ลดพฤติกรรมท่ไี ม่พึงประสงค”์
๙) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติท่ีเกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติ ที่มีการ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) และนากระบวนการการจัดการความเครียด การฝึก
สติให้กลมกลืนและเหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัยร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทาง ใจ
(Resilience) ใหก้ ับนักเรยี น ได้แก่ ทักษะชีวิตด้านอารมณ์ สังคม และความคดิ เป็นต้น
๑๐) สังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวเอง เนื่องจากภาระหน้าที่การดูแลนักเรียนจานวนมาก และกากับ
ให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เป็นบทบาทสาคัญอาจจะ
สร้างความเครียดวิตกกังวลทั้งจากการเฝ้าระวังนักเรียน และการป้องกันตัวเองจากการสัมผัสกับเชื้อโรค ดังนั้น
เม่อื ครมู ีความเครียด จากสาเหตตุ า่ งๆ มีข้อเสนอแนะ ดงั น้ี
(๑) กรณีมีความสับสนกับมาตรการของโรงเรียนที่ไม่ชัดเจน แนะนาให้สอบถาม กับผู้บริหาร
โรงเรยี นหรือเพอ่ื นรว่ มงาน เพือ่ ใหเ้ ข้าใจบทบาทหน้าทีแ่ ละข้อปฏิบัติท่ตี รงกัน

26
แผนบรหิ ารจดั การเรียนการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรยี นบ้านหนองเจด็ บาท

(๒) กรณีมีความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในโรงเรียน ให้พูดคุยสื่อสารถึงความไม่สบายใจ และ
รอ้ งขอส่ิงจาเป็นสาหรับการเรยี นการสอนท่เี พียงพอต่อการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) เช่น สถานท่ี ส่ือการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น หาก ตนเอง
เป็นกลุ่มเสี่ยง หรือมีโรคประจาตัวก็สามารถเข้ารับการตรวจ รักษาตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุข และ
กระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด

(๓) จัดให้มีกิจกรรมบาบัดความเครียด โดยการฝึกสติให้เป็นกิจวัตรก่อนเริ่มการเรียนการสอน
เพ่อื ลดความวติ กกังวลต่อสถานการณ์ทีต่ งึ เครยี ดนี้

๑๑) กากับและติดตามการได้รับวัคซีนของนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนให้เป็นไปตามมาตรการท่ี
กาหนดและเป็นปัจจบุ นั

๓. บทบาทของผู้บริหารสถานศกึ ษา
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาทสาคัญในการขับเคล่ือนต้ังแต่การวางแผน การกาหนดนโยบาย

สถานศึกษา การเตรียมความพร้อมการเปิดเรียน การส่งเสริมครูในการออกแบบการจัดการเรียนการสอน การ
กากับ ติดตามช่วยเหลือ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหา การประเมินสถานการณ์ การ
รายงาน ตลอดจนร่วมมือกับครแู ละบุคลากร ผปู้ กครองนักเรียน ใหก้ ารตรวจสอบสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เพื่อความปลอดภัยของนักเรียน โดยบทบาทของผู้บริหาร
สถานศกึ ษา ควรมี ดังน้ี

๑) จัดให้มีการประชุมหารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู ผู้ปกครอง นักเรียน
ผนู้ าชมุ ชน และมมี ตใิ ห้ความเหน็ ชอบร่วมกนั ในการจัดพนื้ ที่ และรูปแบบการจดั การเรยี นการสอน

๒) ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) ในโรงเรยี น

๓) แต่งต้ังคณะทางานดาเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ประกอบด้วย นักเรยี น ครู ผูป้ กครอง เจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุข ทอ้ งถ่ิน ชุมชน และผู้เกยี่ วข้อง

๔) ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการประเมินผล
ผ่าน MOE Covid

๕) ทบทวน ปรับปรุง ซักซ้อมปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุของโรงเรียนในภาวะท่ีมีการระบาด ของโรคติด
เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

๖) จัดให้มีการส่ือสารประชาสัมพันธ์แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจัดการเรียนการสอนให้แก่ครู นักเรียน
ผู้ปกครอง และคณะกรรมการโรงเรียน ผ่านช่องทางส่ือท่ีเหมาะสม และติดตามข้อมูลข่าวสารท่ีเก่ียวข้อง จาก
แหล่งขอ้ มูลทเ่ี ชื่อถอื ได้

7) สนับสนนุ ให้นกั เรยี น ครูและบุคลากรได้รบั วคั ซีนครบโดส ตงั้ แต่ร้อยละ 85 ขึน้ ไป
8) สนับสนุนให้มกี ารตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) ตามมาตรการของภาครัฐ
9) สนับสนุน ส่งเสริม ให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองประเมินตนเองผ่าน Thai
Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จาแนกเขตพนื้ ทก่ี ารแพรร่ ะบาด
10) ส่ือสารสร้างความรู้ความเข้าใจ เพ่ือลดการรังเกียจ และลดการตีตราทางสังคม (Social Stigma)
กรณพี บวา่ มีบคุ ลากรในโรงเรียน นักเรียน หรอื ผู้ปกครองตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
11) กาหนดมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในโรงเรียน (Point of Entry) ให้แก่
นักเรียน ครู บุคลากร และผู้มาติดต่อ และจัดให้มีพ้ืนที่แยกโรค อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผ้า หรือหน้ากาก

27
แผนบรหิ ารจัดการเรยี นการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรยี นบา้ นหนองเจ็ดบาท

อนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพิ่มช่องทางการสื่อสารระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และ
เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ ในกรณที ีพ่ บนักเรียนกลุ่มเส่ยี งหรอื สงสยั

12) จัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้อย่างต่อเน่ือง
ตรวจสอบ ติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดโรงเรียน การจัดให้มีการเรียนการสอนทางไกล ส่ือ
ออนไลน์ การติดตอ่ ทางโทรศพั ท์ หรือ Social Media เปน็ รายวนั หรอื รายสัปดาห์

13) กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาในโรงเรียน ให้
รบี แจ้งเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุขในพ้ืนท่ีเพื่อดาเนินการสอบสวนโรค และพิจารณาดาเนินการตามแผนเผชิญเหตุ และ
มาตรการป้องกนั ตามระดบั การแพรร่ ะบาดโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสถานศึกษา

14) มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม ตามสิทธิท่ีควรได้รับ กรณีพบอยู่ใน
กล่มุ เสีย่ งหรอื อยูใ่ นชว่ งกกั ตัว

15) ควบคุม กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดาเนินงาน ตามมาตรการป้องกัน การแพร่
ระบาดภายในโรงเรยี นอยา่ งเคร่งครัด และตอ่ เนอื่ ง

๑๖) เยี่ยมบ้าน สร้างขวญั กาลงั ใจนักเรยี น ทั้งนักเรียนที่มาเรียนแบบปกติ และทีไ่ ม่สามารถมาเรยี น แบบ
ปกติได้

๔. บทบาทของผปู้ กครองนกั เรียน
ผปู้ กครองนักเรียนเป็นบุคคลท่ีมีสาคัญย่ิง มีหน้าที่ต้องดูแลเอาใจใส่นักเรียนและตนเอง ในด้านสุขอนามัย

และการป้องกันความเส่ียงจากการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)อย่างเคร่งครัด
ต้องให้ความร่วมมือกับโรงเรียน ครูประจาช้ัน หรือครูที่ปรึกษา เก่ียวกับมาตรการการดูแลนักเรียน ผู้ปกครอง
นักเรียนจึงมีบทบาทสาคัญร่วมกับครูเพื่อช่วยนักเรียนท้ังในเร่ืองการเรียนรู้และการดูแลความปลอดภัยของ
นกั เรยี น บทบาทของผปู้ กครองนักเรียน ควรมีดังน้ี

๑) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
และสร้างความรู้ความเข้าใจของคาแนะนาในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรค
ตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหล่งขอ้ มลู ที่เช่อื ถอื ได้

๒) ประเมินความเส่ียงของตนเอง นักเรียน และคนในครอบครัวผ่านแอปพลิเคชัน Thai Save Thai
(TST) อย่างสม่าเสมอ สังเกตอาการป่วยของนักเรียน ของตนเอง และของคนในครอบครัว หากมีอาการไข้ ไอ มี
น้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้รบี พาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไมใ่ ห้ไปเล่น กับคน
อื่น ให้พักผ่อนอยู่ที่บ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) หรือกลับจากพ้ืนท่ีเส่ียงอยู่ในช่วงกักตัวให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อย่าง
เครง่ ครดั

๓) จัดหาของใช้ส่วนตัวให้นักเรียนอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทาความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผา้ ชอ้ น
สอ้ ม แก้วนา้ แปรงสฟี ัน ยาสฟี ัน ผา้ เช็ดหน้า ผา้ เช็ดตัว เปน็ ตน้

๔) จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์และกากับดูแลนักเรียนให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วม
หลกี เลีย่ งการใช้มอื สัมผสั ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไมจ่ าเปน็ และสร้างสุขนสิ ัยท่ีดี หลงั เล่นกับเพ่ือน และเมื่อกลับ
มาถึงบา้ น ควรอาบน้า สระผม และเปล่ียนชุดเสอ้ื ผา้ ใหม่ทันที

๕) ดูแลสุขภาพนักเรียน จัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ ๕
หมแู่ ละผกั ผลไม้ ๕ สี และควรจดั อาหารกล่อง (Box Set) ใหแ้ ก่นักเรียนในชว่ งเชา้ แทนการซ้ือจากโรงเรยี น (กรณี
ที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจากท่ีบ้าน) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกาลังกาย อย่างน้อย ๖๐ นาที ทุกวันและ
นอนหลับอยา่ งเพียงพอ ๙ - ๑๑ ชัว่ โมงตอ่ วนั

28
แผนบรหิ ารจัดการเรียนการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท

๖) หลีกเลี่ยงการพานักเรียนไปในสถานเส่ียงต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) สถานท่ี
แออัดท่ีมีการรวมกันของคนจานวนมาก หากจาเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ๗
ขนั้ ตอน ดว้ ยสบูแ่ ละน้านาน ๒๐ วินาที หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์

๗) กรณีนักเรียนเดินทางมาโรงเรียน โดยรถโรงเรียน รถตู้ หรือรถอื่น ๆ ผู้ปกครองและโรงเรียนต้องขอ
ความรว่ มมือกบั คนขบั รถใหป้ ฏบิ ตั ติ ามมาตรการของสาธารณสขุ อย่างเคร่งครัด

๘) กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการ ดูแล
จัดการเรยี นการสอนแกน่ ักเรียน เชน่ การสง่ การบา้ น การรว่ มทากิจกรรม เป็นตน้

29
แผนบริหารจดั การเรยี นการสอนและแผนเผชิญเหตุ โรงเรียนบา้ นหนองเจด็ บาท

๘. การตดิ ตามและประเมินผล

การติดตามและประเมินผลเป็นกระบวนการสาคัญที่จะต้องดาเนินการ ให้เป็นไปตามแนวทางการ
เตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนดไว้ เพื่อติดตาม ดูแลช่วยเหลือหรือ
แกไ้ ขปญั หา รับทราบความกา้ วหนา้ ปัญหาอุปสรรคของการดาเนนิ งาน และข้อเสนอแนะ ดังนี้

๑. ระดับสถานศึกษา สถานศึกษากาหนดหรือแต่งตง้ั ผู้รับผิดชอบดาเนินการตามแนวทางการเตรียมการ
เปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) โดยให้ มกี ารติดตามและประเมนิ ผล ดังน้ี

๑) การนาแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์ การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานสู่การ
ปฏบิ ัติ

๒) การประเมินตนเองผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus :TSC+ และรายงานการติดตามการ
ประเมนิ ผลผ่าน MOE Covid

๓) การปฏบิ ตั ิตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ท้ัง ๔ องค์ประกอบ
๔) การปฏบิ ตั ิตาม ๗ มาตรการเข้มของสถานศกึ ษาระหว่างการจัดการเรียนการสอน
๕) การทาและการปฏบิ ตั ิตามแผนการเผชญิ เหตทุ ่ีกาหนดไว้
๖) การรายงานข้อมูลสารเทศทส่ี าคญั ตอ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและหน่วยงานทเี่ กีย่ วข้อง

30
แผนบรหิ ารจดั การเรียนการสอนและแผนเผชญิ เหตุ โรงเรยี นบา้ นหนองเจ็ดบาท


Click to View FlipBook Version