The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประวัติและผลงานเพื่อประกอบ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by daojai, 2022-06-20 19:03:46

รายงานประวัติและผลงาน

รายงานประวัติและผลงานเพื่อประกอบ

เอกสารประวัตแิ ละผลงประกอบการประเมนิ เพือ่ คดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ 1

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมินเพือ่ คดั เลือกฯ ตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมอื ง

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมินเพอ่ื คดั เลอื กใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์ ก

คำนำ

รายงานประวัติและประสบการณ์เพื่อประกอบการคัดเลือกบุคคลเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังตาแหน่ง
ศึกษานิเทศก์ สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หน่วยสอบ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
มหาสารคาม ฉบับเป็นเอกสารท่ีสังเคราะห์จากการปฏิบัติงานจริง และได้รวบรวมนาเสนอเป็นรูปเล่ม เพื่อใช้
ประโยชน์ในการคัดเลือก ประกอบด้วย 1) ประวัติและประสบการณ์ท่ีแสดงถึงการพัฒนาตนเองเก่ียวกับการเป็น
ผู้นาทางวิชาการ หรือการพัฒนาการศึกษาและการเป็นผู้นาในการแลกเปลี่ยนเรยี นรูท้ างวชิ าการ 2) วิสัยทัศน์การ
เป็นศึกษานิเทศก์ 3) ผลงานหรือรางวัลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนที่ภาคภมู ิใจ และ 4) แผนการนิเทศ
เพ่อื นาไปประกอบ การประเมนิ ดา้ นความสามารถในการนเิ ทศการศึกษา

ดาวใจ ศรีสองเมือง

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมินเพื่อคดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ 1

สารบัญ

ประวตั สิ ่วนตวั ........................................................................................................................................................1
การพฒั นาตนเองเก่ยี วกับการเปน็ ผนู้ าทางวิชาการ ................................................................................................1
การพัฒนาการศึกษาและการเป็นผูน้ าในการแลกเปล่ียนเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ............................................................3
วิสยั ทศั นก์ ารเป็นศึกษานเิ ทศก์ ...............................................................................................................................6

กรอบบทบาทหนา้ ที่ตามวิสัยทศั น์......................................................................................................................6
พันธกิจ ..............................................................................................................................................................6
หนา้ ที่ความรบั ผิดชอบของศกึ ษานเิ ทศก์ ............................................................................................................7
ผลงานหรือรางวลั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการจดั การเรียนการสอนท่ีภาคภมู ใิ จ ....................................................................8
แผนการนเิ ทศ ..................................................................................................................................................... 10

ความเป็นมาและความสาคญั ..........................................................................................................................................................................................10
วัตถุประสงค์ .................................................................................................................................................................................................................... 11
เปา้ หมาย.........................................................................................................................................................................................................................11
ขอบขา่ ยการนิเทศ...........................................................................................................................................................................................................12
เครื่องมอื นิเทศ ................................................................................................................................................................................................................13
ระยะเวลา........................................................................................................................................................................................................................ 13
แนวปฏบิ ัตใิ นระดับสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษามหาสารคาม....................................................................................................................13
กระบวนการและขนั้ ตอนการนิเทศ.................................................................................................................................................................................14
กิจกรรมการนิเทศ ...........................................................................................................................................................................................................15
ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ บั ..............................................................................................................................................................................................15
แนวทางการนิเทศการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning..........................................................................................................................................16
ภาคผนวก .............................................................................................................................................................................................................................27

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมินเพื่อคดั เลือกใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์ 1

ประวัตแิ ละประสบกำรณ์ท่แี สดงถึงกำรพัฒนำตนเองเก่ยี วกับกำรเป็นผู้นำทำงวชิ ำกำร
หรอื กำรพฒั นำกำรศึกษำและกำรเป็นผู้นำในกำรแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ทำงวิชำชีพ

ประวตั ิส่วนตัว

1. ชอ่ื -ช่อื สกุล นางดาวใจ ศรสี องเมือง .

2. ปัจจุบันดารงตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ โรงเรียน บรบือ .

สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม ไดร้ ับเงนิ เดอื นอันดับ คศ.3 ข้นั 40,400 บาท

3. ประวัติส่วนตวั

เกดิ วันที่ 24 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2521 อายุ 44 ปี .

บรรจุเข้ารับราชการในตาแหน่ง อาจารย์ 1 ระดบั 3 เริม่ ปฏบิ ัติงานวนั ที่ 14 เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 .

รวมเวลาทง้ั สนิ้ 18 ปี 14 วนั

4. วฒุ กิ ารศกึ ษา วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) สาขาวชิ า วิทยาการคอมพวิ เตอร์ .

จบจากสถาบนั การศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ .

5. ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ประเภท ศกึ ษานิเทศก์ เลขท่ี 64142260001705 .

6. การได้รับวิทยฐานะ

- เล่อื นวิทยฐานะชานาญการ เมอ่ื วนั ท่ี 12 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2554 .

- เล่อื นวิทยาฐานะชานาญการพเิ ศษ เมอื่ วนั ท่ี 10 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 .

7. ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ ชัน้ สงู สดุ คือ ชน้ั ท่ี 2 : ทวตี ิยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) .

และทวีตยิ าภรณม์ งกุฎไทย (ท.ม.) .

กำรพัฒนำตนเองเก่ยี วกับกำรเป็นผนู้ ำทำงวิชำกำร

ข้าพเจ้ามีความมุ่งมั่นศึกษาค้นคว้า เข้ารับการอบรม พัฒนาศักยภาพของตนเองเพื่อให้มีความรู้นามา
พัฒนาวิชาชีพอยู่เสมอ เพื่อให้เป็นผู้นาการเปล่ียนแปลงการเรียนการสอนทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
ให้เข้าสู่การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 มีการพัฒนาวธิ ีการจัดการเรียนการสอนด้วยส่อื นวตั กรรมตา่ ง ๆ
พร้อมทั้งนาความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดการเรียน
การสอนในรายวิชาวิทยาการคานวณ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5-6 ได้ดาเนินการวิเคราะห์หลักสูตร
ตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด แล้วนาไปจัดทาหน่วยการเรียนรู้โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับ
บรบิ ทของสถานศึกษา มกี ารประเมนิ ผลการใช้หลกั สตู รรายวชิ าวิทยาการคานวณพรอ้ มอธบิ ายขอ้ เสนอแนะการนา
ผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรให้มีคุณภาพสูงข้ึน และเข้าร่วมเป็นผู้เช่ียวชาญวิเคราะห์หลักสูตร
ของรายวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมินเพื่อคดั เลอื กใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ 2

มหาสารคาม และได้รว่ มทาหนา้ ท่ีบรรณาธิการหลักสูตรวิทยาการคานวณและโคด้ ดิ้ง (C4T) ของสานกั งานส่งเสริม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) และข้าพเจ้าได้พัฒนาตนเองเกี่ยวกับการเป็นผู้นาทางวิชาการ
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบโครงงานคอมพิวเตอร์และใช้กระบวนการวิจัยด้วยหลักการแก้ปัญหา
ทางคอมพิวเตอร์มาช่วยในการหาทางแก้ปัญหาปรับปรุงการเรียนการสอน เมื่อประสบผลสาเร็จก็จะเผยแพร่
ผลการวจิ ัยใหแ้ กเ่ พอ่ื นครแู ละสาธารณชนทราบเพ่ือเป็นอีกแนวทางในการแก้ไขปญั หา จนได้รบั แต่งตง้ั จากโรงเรียน
บรบือใหเ้ ปน็ ครูแกนนาร่วมกับคณะครโู รงเรียนบรบือ ให้ความรู้ ถอดบทเรยี นและออกแบบการจัดการเรยี นรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจากสถานที่จริงผ่านการสืบเสาะหาความรู้ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
และมผี ลงานเปน็ ทป่ี ระจักษ์ ดังน้ี

1. รับรางวัลระดับ เหรียญทอง รางวัลทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) ประเภท ครูผู้สอนยอดเย่ียม
ด้านบริหารจัดการช้ันเรียนยอดเยี่ยม ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจาปีการศึกษา 2560 จากสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน วันท่ี 26 มกราคม 2561

2. รางวัลชมเชย ครูที่ปรึกษาการประกวดคลิปวิดีโอ หัวข้อ “ความซ่ือสัตย์สุจริต”เก่ียวกับจรรยาบรรณ
ของวชิ าชีพ สานกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา วนั ท่ี 27 ธันวาคม 2561

3. รับรางวัลศึกษานิเทศก์ดีเด่นและผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาดีเด่น ด้านการส่งเสริมพัฒนาส่ือ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา จากสมาคมศึกษานิเทศก์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจาปีการศึกษา
2561 วนั ท่ี 18 กุมภาพันธ์ 2562

4. รางวัลระดับ เหรียญทอง ชนะเลิศ รางวัลทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) ประเภท ครูผู้สอน
ยอดเย่ยี ม ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษายอดเยย่ี ม (DLTV ) ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ประจาปี
การศกึ ษา 2561 จาก สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน วนั ที่ 11 มีนาคม 2562

5. รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นประสพความสาเร็จเป็นท่ีประจักษ์ระดับ เหรียญทอง ชนะเลิศ รางวัล
ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ประเภท ครูผู้สอนยอดเย่ียม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
ยอดเยี่ยม (DLTV) ระดับชาติ ประจาปีการศึกษา 2561 จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
วันที่ 26 เมษายน 2562

6. ได้รับรางวัลชนะเลศิ การประกวดวัฒนธรรมสร้างสรรค์ (ประกวดหนังส้ัน) ภายใต้โครงการมหกรรม
วัฒนธรรมชนเผ่าร้อยแก่นสารสินธ์ุ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จังหวัดกาฬสินธ์ุ จากสานักงานวัฒนธรรม
จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ วนั ที่ 24 กรกฎาคม 2562

7. รับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “คุรุสดุดี” ระดับดีเย่ียม ประจาปี 2563 จากสานักงานคุรุสภา
วันที่ 6 กนั ยายน 2562

8. รางวลั “พระพฤหสั บดี” ประจาปี 2562 ประเภทบุคคล จากสานกั งาน สกสค.วนั ที่ 5 กันยายน 2562

เอกสารประวัตแิ ละผลงานประกอบการประเมินเพ่ือคดั เลือกฯ ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมนิ เพื่อคดั เลอื กใหด้ ารงตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์ 3

9. รางวัลครทู ่ีปรึกษา การประกวดคลิปส้ันของนักเรียนได้รับรางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 การประกวด
คลิปส้ันภายใต้หัวข้อ “New normal ในยุค Covid-19” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ประจาปี 2563

10. ครูแกนนาอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณสาหรับวิทยากรแกนนา
ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน และไดร้ ับคัดเลอื กเป็นวิทยากรแกนนาหลกั สูตร (Core Trainer)
จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานร่วมกบั สสวท. วันท่ี 5-12 ตลุ าคม 2562

11. บรรณาธิการหลักสูตรการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณและ โค้ดดิ้ง (C4T) จากสถาบันส่งเสริม
การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) วนั ที่ 29 กมุ ภาพันธ์– 1 มนี าคม 2563

12. รางวัล ระดับเหรียญเงิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) ประเภท ครูผู้สอนยอดเยี่ยม
ประเภท Active Teacher ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ประจาปกี ารศึกษา 2564 จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน วันท่ี 26-28 สิงหาคม 2564

13. รางวลั ครดู ีของแผน่ ดนิ ขัน้ พืน้ ฐาน จากมลู นธิ คิ รดู ขี องแผ่นดิน วันที่ 22 สิงหาคม 2564
14. เข้าร่วมประชุมการวิจัยทางการศึกษาระดับชาติ ครั้งท่ี 6 จากสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
วนั ที่ 26-27 สิงหาคม 2564
15. เข้ารว่ มสมั มนาออนไลน์ ครัง้ ท่ี 5/2564 เรอื่ ง “สื่อ สสวท. สรา้ งสรรคเ์ พ่ือการศกึ ษา SMT ของไทย”
จากสมาคมครวู ิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (สวคท.) วันท่ี 8 สิงหาคม 2564

กำรพฒั นำกำรศึกษำและกำรเปน็ ผู้นำในกำรแลกเปลีย่ นเรยี นรทู้ ำงวิชำชีพ

ข้าพเจ้ามีการทาแผนพัฒนาตนเองที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน ตามแผลกลยุทธ์ของโรงเรียน พัฒนา
ตนเองตามแผนมีการนาความรู้ ความสามารถและทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองมาพัฒนานวัตกรรมการจัด
การเรียนรู้ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน และสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการพัฒนาตนเอง จนเกิด Best Practice
เป็นแบบอย่างท่ีดี และได้เข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพโดยเข้าร่วมสังเกตการสอนในรายวิชาการเขียน
โปรแกรมเบื้องต้น โดยนากลยุทธ์การจัดการและใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ PLC สร้างเครือข่ายการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ในสถานศึกษา เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อเพื่อนครูในโรงเรียน
จากความมุ่งม่นั ต้งั ใจและอุทิศตนเพ่ือสง่ เสริมสนับสนนุ การจัดการเรียนร้แู กน่ ักเรยี น ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ให้ได้มีความรู้ความสามารถในการนาเอาเทคโนโลยีไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด
ส่งผลให้ข้าพเจ้าได้มีเป็นวิทยากร ตั้งแต่ปี 2558 จนถึงปัจจุบัน โดยมีผลงานการเป็นวิทยากรตงั้ แต่ปี 2561-2565
ดังนี้

1. วิทยากรประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการดาเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีประเมินวิทยฐานะแนวใหม่
(ว21/2560) ของสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 26 ระหว่างวันท่ี 10-11 พฤษภาคม 2561

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมินเพ่อื คดั เลือกฯ ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมอื ง

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมนิ เพอื่ คดั เลือกใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์ 4

2. วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรื่อง การจัดทาข้อมูล
ล็อคบุค๊ (Logbook) โรงเรยี นโนนแดงวิทยาคม วันที่ 15 พฤษภาคม 2561

3. วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรื่อง การจัดทาข้อมูล
ล็อคบคุ๊ (Logbook) โรงเรียนบรบือวิทยาคาร วนั ที่ 23 พฤษภาคม 2561

4. วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารโครงการพัฒนาบุคลากรเพ่ือให้บุคลากรได้มีความรู้ถึงหลักเกณฑ์และวธิ ี
ประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) โรงเรียนดงบังพสิ ยั นวการนุสรณ์ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2561

5. วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาความรู้และทักษะการจัดทาผลงานวิชาการ(หลักเกณฑ์
และวิธีการให้ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู มีวิทยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะ เกณฑ์ใหม่)
โรงเรียนวาปีปทมุ วันท่ี 27 มิถุนายน 2561

6. วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโครงการปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
ด้วยการจัดการเรียนรู้บูรณาการเพื่อพัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนในสหวิทยาเขต บรบือ
ณ โรงเรียนบรบอื วทิ ยาคาร วนั ที่ 3 สงิ หาคม 2561

7. วิทยากรการประชุมปฏิบัติการถอดบทเรียนและสรุปผลการดาเนินงานโครงการปลูกฝังคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ของผู้เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้บูรณาการเพ่ือพัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ของสานักงาน
เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 26 ระหวา่ งวนั ที่ 6-7 กันยายน 2561

8. วิทยากรการประชุมปฏิบัติการการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความรู้ความเข้าใจระบบสารสนเทศ
ด้านคุณภาพมัธยมศึกษาของสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ระหว่างวนั ที่ 13-14 กันยายน 2561

9. วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทาแผนการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนโพนงามพิทยานุกูล สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 26 วนั ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

10. วิทยากรในการถ่ายภาพและตัดต่อวีดิโอ กิจกรรมวันปฐมนิเทศและประชุมผู้ปกครองนักเรียน
ประจาปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านโนนสาราญ วันท่ี 21 พฤษภาคม 2562

11. วิทยากรหลักสูตรอบรมออนไลน์การจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณสาหรับครูมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6
Coding Online Grade 10-12 Teacher (C4T-9) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 มถิ นุ ายน 2563

12. วิทยากรโครงการสอนออนไลน์ Project 14 โครงการนาสู่ความปกติใหม่ทางการศึกษาของ สสวท.
(New Normal Education) สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) วนั ที่ 16 กรกฎาคม 2563

13. วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณสาหรับครู C4T (Coding for
Teacher) สาหรับครูผู้สอนวิทยาการคานวณระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (สสวท.)รว่ มกบั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 26 ระหวา่ งวนั ท่ี 17-18 ตุลาคม 2563

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมนิ เพ่อื คัดเลือกฯ ตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรีสองเมอื ง

เอกสารประวัติและผลงประกอบการประเมนิ เพอ่ื คดั เลือกใหด้ ารงตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์ 5

14. วิทยากร หลักสูตรการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณสาหรับวิทยากรแกนนา( Coding Core
Trainer : CCT)ระดับมัธยมศึกษา รุ่นที่ 3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับ
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (สพฐ.) ระหว่างวนั ท่ี 10-16 พฤษภาคม 2564

15. วทิ ยากรการอบรมออนไลน์ “การพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรยี นรู้ของครูในสถานการณ์ COVID-19”
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 2 ร่วมกับสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
อาเภอพนมไพร วนั ท่ี 13 สงิ หาคม 2564

16. วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณสาหรับครู C4T (Coding for
Teacher) สาหรับครูผู้สอนวิทยาการคานวณระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ระหว่างวันที่
14-16 กนั ยายน 2564

17. วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณสาหรับครู C4T (Coding for
Teacher) สาหรับครูผู้สอนวิทยาการคานวณระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (สสวท.)ร่วมกับสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ระหว่างวันที่
29-30 กันยายน – 1 ตลุ าคม 2564

18.วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “วิทยาการข้อมูล Data science ระดับมัธยมศึกษา”
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ระหว่างวันท่ี 28-29 มีนาคม 2565

19.วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร วิทยาการข้อมูล (Coding Online for Teacher Plus : C4T
Plus- Data science) ระดับมัธยมศึกษา” สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ระหว่าง
วนั ท่ี 23-24 เมษายน 2565

จากประวัติและประสบการณ์ทแ่ี สดงถึงการพัฒนาตนเองเกี่ยวกับการเปน็ ผู้นาทางวิชาการและการพัฒนา
การศึกษา รวมถึงการเป็นผู้นาในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ทางวิชาชีพ ข้าพเจ้ามีความมุ่งม่ันที่จะนาประสบการณ์
และความสามารถมาท่ีมีมาช่วยเหลือ แนะนาตลอดจนให้ข้อมลู ข่าวสารท่ีเปน็ ประโยชน์ ให้การบรกิ ารด้วยความเต็มใจ
และเสมอภาคแก่เพ่ือนครูทกุ คนมีอัธยาศยั ดี เปน็ กันเอง และปฏิบัตติ นเปน็ แบบอย่างท่ดี ี จนไดร้ ับคายกยอ่ งชมเชย
ดงั แสดงไว้ในเวบ็ ไซต์ (โปรดสแกน)

ผลงานและประวตั คิ รูดาวใจ

บทเรยี นออนไลนค์ รูดาวใจ
เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมนิ เพื่อคดั เลอื กฯ ตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมินเพือ่ คดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ 6

วสิ ยั ทศั น์กำรเป็นศกึ ษำนิเทศก์

“ศึกษานิเทศก์ต้องร่วมคิด พาทา นาวิชาการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการศึกษาและการจัด
การเรียนรู้ในสถานศึกษามุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการและมีคุณลักษณะตามมาตรฐาน
การศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เพื่อเพ่ิมศักยภาพ เสริมสร้างภาคีเครือข่าย
ทางการศึกษาด้วยกระบวนการ PLC ในการส่งเสริมการวิจัย การพัฒนาสื่อและนวัตกรรมทางการศึกษา รวมท้ัง
การให้บริการส่ือที่เน้นพัฒนาสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ร่วมเสริมสร้างคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู
ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอันนาไปสู่คุณภาพผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และมีทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษท่ี 21 มคี ุณธรรมและดารงชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

กรอบบทบำทหนำ้ ทีต่ ำมวสิ ัยทศั น์

1. สร้างภาคีเครือข่ายประสานการปฏิบัติงานด้วยกระบวนการ PLC พัฒนาคุณภาพการศึกษา
โดยการนานโยบายสู่การปฏิบัติระหว่างสถานศึกษากับสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
และส่งเสริมเผยแพร่ รูปแบบการจัดระบบการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การจัดการศึกษา การพัฒนา
นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

2. นิเทศ กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพ เพื่อขับเคลื่อนกระบวนการเรียนการสอน
สร้างแรงจูงใจให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และรายงานตามสภาพท่ีเป็นจริงตามรูปแบบการนิเทศ (Functional -
Agenda- Area Based)

3. ส่งเสริมการวิจัยของครูให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอันนาไปสู่คุณภาพผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21
มีคุณธรรมและดารงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

4. พฒั นาตนเองและพฒั นาวชิ าชีพอยู่เสมอเพอื่ เป็นผนู้ าทางวิชาการและเปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้
พันธกจิ

1. จัดทาแผนพัฒนาตนเองด้านสมรรถนะหลักและด้านสมรรถนะประจาสายงานเพื่อการนิเทศ ติดตาม
และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาที่มปี ระสทิ ธภิ าพ

2. ส่งเสริมให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการและพัฒนาส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึกษาได้อยา่ งมีคณุ ภาพ

3. สง่ เสริมการพัฒนาส่ือ นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพ
4. ส่งเสรมิ การศกึ ษา คน้ คว้า วเิ คราะห์ วจิ ยั การพฒั นาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมนิ เพอื่ คดั เลอื กฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมอื ง

เอกสารประวัตแิ ละผลงประกอบการประเมินเพอ่ื คดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ 7

5. สง่ เสรมิ ใหส้ ถานศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาชาติ
6. ส่งเสริมการพฒั นาการวัดและประเมินผลการศกึ ษา
7. พัฒนาระบบการนิเทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจดั การศึกษา

หน้ำท่คี วำมรับผิดชอบของศกึ ษำนเิ ทศก์

หน้าที่ความรับผิดชอบตามมาตรฐานตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ ปฏิบัติหน้าที่ในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษามหาสารคาม กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา เกี่ยวกับงานวิชาการและงานนิเทศ
การศึกษาเพอ่ื ปรับปรงุ การเรยี นการสอนให้ได้มาตรฐาน ดงั นี้

1. ส่งเสริมสนับสนุนเครือข่ายการนิเทศของเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม สถานศึกษา
หน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ชุมชน

2. ประสานงานจัดทาระบบสารสนเทศเกี่ยวเครือข่ายการนิเทศในเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา
มหาสารคาม

3. จัดทาแผนการส่งเสริมสนับสนุนเครือข่ายการนิเทศของเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
ในรูปแบบตา่ ง ๆ

4. ส่งเสริมให้สถานศึกษาบริหารหลักสูตรสถานศึกษา จัดกระบวนการเรียนรู้มีระบบการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาชาติ พัฒนาการวัดและประเมินผลการศึกษา การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม
และเทคโนโลยที างการศึกษาไดอ้ ย่างมีคุณภาพ

5. การศึกษา ค้นคว้าทางวิชาการ เพื่อจัดทาเป็นเอกสาร คู่มือและส่ือใช้ในการปฏิบัติงาน และเผยแพร่
ใหค้ รไู ด้ใชใ้ นการพฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นการสอน

6. การวิเคราะห์ วิจัยเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทางการศกึ ษา เพือ่ พฒั นาระบบการบรหิ ารงานวชิ าการ พฒั นามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศกึ ษา เพื่อใช้
ในการปฏิบัตงิ าน และเผยแพรแ่ กผ่ ู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและผู้สนใจทัว่ ไป

7. การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อเป็นข้อมูลและสารสนเทศในการวางแผนการนิเทศ
และการพฒั นางานทางวชิ าการ

8. ปฏิบัติงานอ่นื ๆ ที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

เอกสารประวัตแิ ละผลงานประกอบการประเมนิ เพ่ือคัดเลอื กฯ ตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรีสองเมือง

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมินเพื่อคดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ 8

ผลงำนหรอื รำงวัลทเี่ ก่ยี วข้องกับกำรจดั กำรเรียนกำรสอนทภี่ ำคภมู ใิ จ

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติหน้าท่ีจัดการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาการคานวณ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5
จงึ ไดอ้ อกแบบนวตั กรรมการเรียนรู้ผ่านชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพของครู (PLC) เพือ่ ม่งุ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนเพม่ิ ข้นึ และมที ักษะที่จาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 ในรูปแบบ KHAI Model ดังน้ี

1. K- Knowledge หมายถึง ครูต้องมีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community : PLC) และศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตัวช้ีวัด
มาตรฐานการเรียนรู้ และเอกสารต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง มี 5 ขั้นตอน ได้แก่ สร้างทีม กาหนดปัญหา วางแผน
และออกแบบกระบวนการ ลงมือปฏิบัติตามแผน สนทนาสะท้อนผลการปฏิบัติ และทาซ้าในรอบถัดไปต้ังแต่
ข้นั ตอนท่ี 3 จนกวา่ จะดาเนนิ การเสร็จส้ินกระบวนการตามวัตถปุ ระสงค์ท่ตี ้ังไวร้ ่วมกนั

2. H-How to หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยสะเต็มศึกษาบูรณาการตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงวิธดี าเนนิ การตามกระบวนการทางาน กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคดิ วธิ ีการขบั เคลื่อน
ชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี โดยมสี ่ือการสอนรูปแบบตา่ ง ๆ ทั้งน้ีในกระบวนการจดั การเรยี นรู้ มี 4 ขั้นตอน ได้แก่

Step 1 -> Study curriculum ศึกษาหลักสูตรแกนกลางข้ันพื้นฐาน มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
ทีเ่ กยี่ วข้องกบั การจดั การเรียนการสอน

Step 2 -> Information Technology พัฒนาบทเรยี นออนไลนผ์ า่ นระบบเครอื ข่าย
Step 3 -> Project Base Learning จัดการเรียนรแู้ บบโครงงานเป็นฐาน
Step 4 -> Integrating the Philosophy of Sufficiency Economy บูรณาการตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. A-Activity learning เป็นส่วนของผู้เรียน ที่มุ่งเน้นการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน ทั้ง 5 ด้าน
(ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะ
ชีวติ และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี มี 8 ขัน้ ตอน ได้แก่
ขั้นตอนท่ี 1 Check knowledge ตรวจสอบความรู้ วิเคราะห์ผเู้ รียนรายบคุ คล
ขั้นตอนที่ 2 Understanding ทาความเข้าใจในเนื้อหารายละเอยี ดในการเรยี นของรายวิชา
ขนั้ ตอนที่ 3 Learning Objective กาหนดเปา้ หมายการเรียนรู้ร่วมกัน
ข้ันตอนท่ี 4 Solve Problem ไขปัญหาสบื ค้น คน้ คว้าเนอื้ หาที่เรียนรู้และข้อมลู ท่เี กยี่ วข้อง
ขน้ั ตอนที่ 5 Take the main lesson, Sufficiency ถอดบทเรียนพอเพียง
ขั้นตอนท่ี 6 Brief Knowledge สรุปองค์ความรู้จากบทเรียน
ข้ันตอนที่ 7 Practice ลงมอื ปฏิบัติ ลงมือถา่ ยทาวดิ ทิ ศั น์ในทอ้ งถนิ่
ขน้ั ตอนที่ 8 Present นาเสนอและเผยแพร่

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมินเพอ่ื คดั เลือกใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานิเทศก์ 9

4. I-Innovation จากการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ KHAI Model ท่ีช่วยพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ตามโมเดล Thailand 4.0 คือ เป็นผู้ท่ีมีความรู้ดี มีความสามารถสูง และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จนเป็นนวัตกร
ท่ีสามารถสรา้ งนวตั กรรมและนามาใชแ้ ลว้ เกิดคุณคา่ กับคุณภาพชีวิตได้ ดงั แผนภาพ

จากกรอบแนวคิดขา้ งต้นมวี ัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี
1. เพ่ือการจัดการเรียนภูมิปัญญาท้องถ่ินโดยนาเอาหลักการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเข้ามาบูรณาการ
ในบทเรยี นภายใตแ้ นวคดิ “มันแกวเงนิ ล้านของดีพน้ื บา้ นบรบอื ”
2. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้โดยนักเรียนเป็นผู้ศึกษา พัฒนาและเผยแพร่ข้อมูลภูมิปัญญา
ของชมุ ชนตนเองบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้
3. เพ่ือให้นักเรียนสามารถนาเอาความรู้เก่ียวกับสะเต็มศึกษาบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้
จากการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนดว้ ย KHAI Model ส่งผลให้ขา้ พเจ้าได้รับโลร่ างวัลผู้มีผลงานดีเด่น
ประสพความสาเร็จเป็นท่ีประจักษ์ระดับ เหรียญทอง ชนะเลิศ รางวัลทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS)
ประเภท ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษายอดเยี่ยม (DLTV) ระดับชาติ ประจาปี
การศึกษา 2561 และปัจจุบันข้าพเจ้าได้พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนด้วย KHAI Model ให้มีความยืดหยุ่น
สามารถรองรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับรายวิชาอื่น ๆ ได้เป็นอย่างดี และมีรางวัลท่ีได้
นาเสนอกิจกรรมการเรยี นการสอนด้วย KHAI Model ดงั รายละเอียดแนบท้ายภาคผนวก

เอกสารประวตั แิ ละผลงานประกอบการประเมินเพ่อื คดั เลอื กฯ ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวตั แิ ละผลงประกอบการประเมนิ เพื่อคดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ 10

แผนกำรนเิ ทศ

ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ

การจัดการศึกษาเป็นกระบวนการอย่างเป็นระบบ โดยมีเป้าหมายชัดเจน คือการพัฒนาคุณภาพ มนุษย์
ทุกด้าน ไม่วาจะเป็นด้านร่างกาย จิตใจ สติปญญา คุณธรรม ค่านิยม ความคิด การประพฤติปฏิบัติ ฯลฯ
โดยคาดหวังวาคนท่ีมีคุณภาพน้จี ะทาใหสังคมมีความมั่นคง สงบสขุ เจริญก้าวหนาทนั โลกแขงขันกับสังคมอนื่ ในเวที
ระหว่างประเทศได้คนในสังคมมีความสุข มีความสามารถประกอบอาชีพการงานอย่างมีประสิทธิภาพ และอยู่ร่วมกันได
อย่างสมานฉันท สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ได้เห็นความสาคัญของการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน
จึงได้ประกาศนโยบายเรง่ ดว่ น 10 นโยบาย ปี 2565 (Quick Policy 2565) ดังน้ี

1. การนาพระบรมราโชบาย ของในหลวงรัชกาลท่ี 10 สู่การปฏิบตั ิ
2. การดาเนนิ การด้านประวตั ิศาสตร์ หนา้ ทีพ่ ลเมือง คุณธรรม จริยธรรม
3. การศกึ ษากับการพฒั นาประชาธปิ ไตย โดยเน้นการดาเนินงานรว่ มกับสภานกั เรียน
4. การจดั การศึกษาปฐมวยั
5. การพัฒนาการเรยี นการสอน ACTIVE LEARNING ใหส้ อดคลอ้ งกบั BIG ROCK
6. การดาเนินการ พาน้องกลับมาเรยี น
7. การดาเนินการ โรงเรยี นคุณภาพ
8. การดาเนินการ LEARNING LOSS ใหส้ อดคลอ้ งกบั UNESCO
9. การประกันคณุ ภาพ RT NT และ O-NET
10. การดาเนินการดา้ นความปลอดภยั ในโรงเรียน
การนานโยบายเร่งด่วน ทั้ง 10 นโยบาย สู่การปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพ จึงเป็นเร่ืองท่ีทุกฝ่าย
ต้องร่วมมือกัน ท้ังผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครูและบุคลากรทุกคน ท่ีต้องวางแผน ปฏิบัติ และนิเทศ กากับติดตาม
ให้เกิดคุณภาพ โดยเฉพาะการนิเทศการศึกษาที่เป็นส่วนหน่ึงของการบริหารจัดการศึกษา ที่ต้องมีการวางแผน
การนิเทศ ติดตาม และประเมินให้ครอบคลุมประเด็นนโยบายเร่งด่วน ซึ่งการนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการ
สาคัญในการให้บริการช่วยเหลือ สนับสนุน เป็นการร่วมมือกัน เพื่อปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษา การนิเทศ
การศึกษาครอบคลุมถึงการนิเทศการสอน การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาบุคลากรเพ่ือให้สามารถปฏิบัติงาน
ในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ผู้นิเทศนอกจากจะมีบทบาทในการส่งเสริม ช่วยเหลือ สนับสนุนครูให้พัฒนาการเรียน
การสอนพัฒนาหลักสูตร พัฒนาเทคนิควิธีการและนวัตกรรมการการศึกษา และมาตรฐานศึกษานิเทศก์

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมนิ เพ่ือคัดเลือกฯ ตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรีสองเมือง

เอกสารประวัตแิ ละผลงประกอบการประเมนิ เพอ่ื คดั เลือกใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์ 11

ของครุ ุสภา 2556 มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน มาตรฐานท่ี 8 ไดก้ ลา่ วถงึ ศกึ ษานิเทศก์ไว้ว่า ศกึ ษานเิ ทศกต์ อ้ ง “ปฏิบตั ิ
ตนเป็นแบบอย่างที่ดี” ดังน้ัน ศึกษานิเทศก์จึงเป็นผู้ท่ีมีบทบาทสาคัญย่ิงในการท่ีจะนาพาคุณภาพการศึกษาของ
ชาติไปสู่เป้าหมาย โดยเฉพาะในเร่ืองการปฏิรูปการศึกษาและเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ศึกษานิเทศก์ยังมีหน้าที่พัฒนา
ระบบการนเิ ทศใหเ้ ป็นการนิเทศแนวใหม่ เพ่อื รองรบั การเปลยี่ นแปลงของสังคมทีเ่ ป็นไปอยา่ งรวดเร็วอีกดว้ ย

ในปีการศึกษาที่ผ่านมา ศึกษานิเทศก์สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม ได้ปฏิบัติ
หน้าท่ีตามบทบาทอย่างเข้มแข็ง ร่วมกับประธานเครือข่าย ผู้บริหารโรงเรียนในเครือข่าย และรองผู้อานวยการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่ละเครือข่ายออกนิเทศสังเกตช้ันเรียนครบทุกห้องเรียนทุกโรงเรียน ส่งผลให้
โรงเรียน ผู้บริหาร ครู ในสังกัดมีความตื่นตัว ตระหนักในบทบาทหน้าท่ี ความรับผิดชอบ ดังจะเห็นได้จาก
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากการทดสอบระดับชาติเพ่ิมขึ้นและลาดับที่ของเขตพื้นท่ีได้ลาดับท่ีดีขึ้น
และจากข้อมูลการนิเทศ ติดตาม พบว่า ผู้บริหารให้ความสาคัญกับงานวิชาการน้อย ขาดการนิเทศภายใน
ปฏิบัติงานนอกสถานศึกษามากเกินไป ครู ผู้บริหารขาดขวัญและกาลังใจด้านการให้ความดีความชอบ และการนา
จุดเน้นสู่การปฏิบัติยังไม่เป็นรูปธรรมชัดเจน เพ่ือให้เกิดสัมฤทธิผลในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในทุกระดับ
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ในสังกัดทุกแห่งให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน โดยส่งเสริมให้มีการดาเนินการในหลาย ๆ ด้าน ท่ีคาดหวังให้เป็น
ยุทธศาสตร์สาคัญที่จะนาไปสู่ คุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ จึงจัดให้มีการนิเทศการศึกษาเต็มพิกัด ท่ัวถึง
ต่อเน่ือง โดยใช้กระบวนการกระตุ้นร่วมคิด ร่วมทา สนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษาและครู มีการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาและคุณภาพของผู้เรียนให้เป็นไปตามนโยบาย และตรงตามความต้องการที่แท้จริงของการพัฒนา
โดยผา่ นครูและผบู้ ริหารสถานศึกษา และผูม้ ีสว่ นเก่ียวข้องทุกระดบั ให้เกิดผลอยา่ งย่ังยืนต่อไป

วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนใหส้ งู ขน้ึ
2. เพ่ือนเิ ทศพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษาใหเ้ ข้มแข็ง
3. เพือ่ แก้ปัญหาการอา่ นออกเขียนได้ และส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
4. เพอ่ื นิเทศจุดเน้น / นโยบาย / กจิ กรรม / งาน / โครงการต่าง ๆ
5. เพอื่ พฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่สอดคลอ้ งกบั นโยบายของสานักงาน

เขตพ้ืนการศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
6. เพ่อื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการ PLC (Profession Learning Community)

เปำ้ หมำย
เชิงปรมิ ำณ

เอกสารประวัตแิ ละผลงานประกอบการประเมินเพือ่ คัดเลือกฯ ตาแหน่ง ศึกษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรีสองเมือง

เอกสารประวัติและผลงประกอบการประเมนิ เพือ่ คดั เลอื กใหด้ ารงตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์ 12

1. นิเทศ ติดตามการจัดทาแผนงาน ระบบงาน และการจัดองค์กรเพ่ือการบริหารจัดการศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษา เครือข่ายโรงเรียน จานวน 2 ครงั้ / ปี จานวน 35 โรงเรยี น

2. นเิ ทศ ตดิ ตามการดาเนนิ งานตามจดุ เนน้ และนโยบายของสถานศึกษา อย่างนอ้ ย จานวน 2 ครง้ั / ปี
3. นิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการ
และสภาพปัญหา อยา่ งนอ้ ย จานวน 2 ครัง้ / ปี
4. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครู และบคุ ลากร ในสังกัดสานกั งานเขตพื้นที่มัธยมศกึ ษามหาสารคาม ทกุ คน
เชงิ คุณภำพ
1. ผู้นิเทศ ให้การนิเทศตามนโยบายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษาและผู้เก่ียวข้อง
ด้วยการบูรณาการการนิเทศท่ีเปน็ ระบบและมปี ระสิทธิภาพ
2. ผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศ ร่วมวิเคราะห์ ตัดสินใจในการแก้ปัญหา และร่วมพัฒนากระบวนการ
จัดการเรียนการสอนตามแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในการเรียนการสอนและการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับ
การนเิ ทศแบบกัลยาณมิตรอยา่ งเปน็ ระบบ
3. สถานศกึ ษาทุกแห่งสามารถบรหิ ารจดั การศึกษา จัดการเรียนการสอน และการนิเทศภายในได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เกิดประสิทธผิ ล ตามมาตรฐาน
4. นักเรยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐาน และผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสูงขึน้
5. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครู และบคุ ลากร ในสงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษามหาสารคาม
ทกุ คน ได้รบั ขวญั กาลังใจ และแรงบนั ดาลใจในการปฏบิ ัติงาน

ขอบข่ำยกำรนิเทศ

1. วิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ในระดบั เขตพื้นที่ ระดับโรงเรียน
2. วิเคราะห์จุดเน้น / นโยบาย / กิจกรรม / งาน / โครงการต่าง ๆ เพื่อกาหนดแนวทางในการพัฒนา
คณุ ภาพผเู้ รียนในสังกดั
3. จดั ทาแผนนิเทศ เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน และยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในทุกระดบั
4. นิเทศโดยการนาผลการวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) และคุณลักษณะผู้เรียนตาม
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของในหลวงรัชกาลท่ี 10 ไปปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
กระบวนการ PLC แบบมสี ่วนรว่ ม และหอ้ งเรียนเปน็ ฐาน
5. นเิ ทศการประเมนิ ผลในชน้ั เรยี นตามมาตรฐานและตัวช้ีวัด
6. นิเทศตามขอบข่ายและภารกิจงานนเิ ทศ

6.1 นเิ ทศ ตดิ ตามการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรยี นรู้ ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

เอกสารประวัติและผลงานประกอบการประเมนิ เพอ่ื คัดเลอื กฯ ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวตั แิ ละผลงประกอบการประเมินเพือ่ คดั เลอื กใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ 13

6.2 นิเทศ ตดิ ตามการพฒั นาส่อื นวัตกรรมเทคโนโลยี
6.3 นเิ ทศ ติดตามการพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
6.4 นิเทศ ตดิ ตามการพัฒนาระบบการวดั และประเมินผลการศึกษา
6.5 พัฒนาศักยภาพผู้บริหารสถานศึกษาครู และบุคลากรทางการศึกษา ด้านการวิเคราะห์วิจัย
เพื่อพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
7. นิเทศโดยการมีส่วนร่วมพัฒนาและใช้ห้องเรียนเป็นฐาน จากทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องเพ่ือขับเคลื่อน
การจดั การเรียนการสอนและยกระดบั คุณภาพนักเรยี น

เครื่องมือนิเทศ

การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ปีการศึกษา 2565 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มธั ยมศึกษามหาสารคาม ใชเ้ ครอื่ งมือในการนเิ ทศ ดงั นี้

1. สภาพความพร้อมและบรบิ ทของสถานศกึ ษา
2. แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม การจดั กระบวนการเรียนร้ตู ามหลกั สูตรฯ
3. แบบนเิ ทศ ระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา
4. แบบนเิ ทศ ติดตามการพฒั นาจดุ เน้น / นโยบาย / กจิ กรรม / งาน / โครงการตา่ ง ๆ

ระยะเวลำ
การดาเนินงานการนเิ ทศ ปีการศึกษา 2565 ในระหว่างเดือนพฤษภาคม 2565 – เมษายน 2566

แนวปฏิบัติในระดบั สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมัธยมศึกษำมหำสำรคำม

1. ประสานการปฏิบัติงาน พัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการนานโยบายสู่การปฏิบัติระหว่างสานักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคามกับสถานศึกษาในสังกัด และส่งเสริมเผยแพร่รูปแบบการสร้าง
และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดระบบการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การจัดการศึกษา การพัฒนา
นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา

2. นิเทศ กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา และรายงานตามสภาพท่ีเป็นจรงิ ตามรูปแบบการนิเทศ (Functional - Agenda Area Based)

3. ชี้แนะ ชว่ ยเหลอื ครู ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ในการจัดกระบวนการเรียนรูต้ ามพระราชบัญญตั ิการศึกษา
แห่งชาติ พทุ ธศักราช 2552

เอกสารประวัติและผลงานประกอบการประเมนิ เพอ่ื คดั เลือกฯ ตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวตั แิ ละผลงประกอบการประเมินเพอ่ื คดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ 14

4. เกบ็ รวบรวมข้อมลู สรปุ และรายงานผลการนเิ ทศการศกึ ษาให้ผเู้ ก่ียวขอ้ งทกุ ระดบั ทราบ

กระบวนกำรและข้นั ตอนกำรนิเทศ

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
มหาสารคาม ได้กาหนดแนวทางและวิธีการนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เครือข่ายสถานศึกษา
และสถานศกึ ษา โดยเน้นการมีสว่ นรว่ มในการบริหารจดั การและนาแนวทางกระบวนการนเิ ทศแบบ (Professional
Learning Community : PLC) มาใช้ในการนิเทศ โดยใช้วงจรคุณภาพ (PDCA) ในการติดตามตรวจสอบ ดังน้ี

ขั้นเตรียม (Plan)
1. ประชุมปฏิบตั กิ ารเพื่อวางแผนการนเิ ทศในระดบั เขตพืน้ ที่โดยมี ผอู้ านวยการสานักงานเขตพ้ืนที่

การศึกษาและรองผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาและศึกษานิเทศก์ เขา้ รว่ มประชมุ 1 วัน
2. จัดทาคาสัง่ แต่งต้งั คณะทางานจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศ ปงี บประมาณ 2565
3. ประชุมคณะทางานจัดทาแผนปฏิบัติการนิเทศการศึกษา และศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้องตามขอบเขต

เน้ือหา และประเด็นทีจ่ ะดาเนนิ การนิเทศ
4. สร้างเครื่องมือนิเทศให้สอดคล้อง ครอบคลุม เน้ือหาตามประเด็นท่ีจะนิเทศ โดยมีผู้เชี่ยวชาญ

ใหค้ าปรึกษา แนะนา ตรวจสอบ และดาเนินแกไ้ ข ให้ถูกตอ้ ง และเท่ียงตรง
5. แจง้ สถานศกึ ษาทุกแหง่ เตรยี มรบั การนเิ ทศ
6. ประชมุ คณะกรรมการนเิ ทศตามคาสงั่ เพ่ือชแ้ี จงแนวทางการดาเนินการนิเทศ

ขนั้ ปฏบิ ัติกำรนเิ ทศ (Do)
คณะผนู้ เิ ทศ ปฏิบัติการนเิ ทศรายสถานศึกษา ตามลาดับดังนี้
1. ผู้นิเทศทุกคณะพบผู้อานวยการโรงเรียนหรือผู้รักษาราชการแทน แจ้งวัตถุประสงค์ ช้ีแจงข้ันตอน

การนิเทศและเครอ่ื งมือนิเทศ
2. ดาเนินการนิเทศตามขอบเขตของเนื้อหาการนิเทศ และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เคร่ืองมือนิเทศ

ที่กาหนด
3. ประชุมสะท้อนผลการนิเทศ แก่ผู้บริหารสถานศึกษาและครู หลังจากดาเนินการตามขั้นตอน

ครบทุกรายการแล้ว โดยมกี ารสรุปผลด้วยวาจา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ขอ้ เสนอแนะ เพ่ือนาไปวางแผนพฒั นาต่อไป
ขน้ั ตรวจสอบข้อมูลและสรุปกำรนิเทศ (Check)
1. รวบรวมข้อมูลท่ไี ด้จากเคร่ืองมือการนิเทศ สรปุ ผลการนิเทศระดับสหวทิ ยาเขต
2. ประชมุ เพื่อวเิ คราะห์ ประมวลผล และสรุปผลการนเิ ทศรว่ มกัน
3. สรปุ และจดั ทาเอกสารรายงานผลการนเิ ทศ ระดับเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา
ขนั้ ทบทวนและปรับปรุงกำรปฏบิ ัตงิ ำน (Act)

เอกสารประวัตแิ ละผลงานประกอบการประเมนิ เพอื่ คดั เลอื กฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวัติและผลงประกอบการประเมนิ เพอื่ คดั เลอื กใหด้ ารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์ 15

1. นาเสนอรายงานผลการนเิ ทศต่อผ้บู ังคับบญั ชาระดบั เขตพืน้ ที่การศกึ ษาศึกษานเิ ทศก์ สถานศกึ ษา
และผู้มีมสี ว่ นเกี่ยวข้องทุกระดบั

2. สรปุ และจัดทาเอกสารรายงานผลการนิเทศระดบั เขตพื้นทีก่ ารศึกษา
3. ดาเนนิ การใชผ้ ลการนิเทศ เพ่ือกาหนดแนวทาง วางแผน เตรยี มการนเิ ทศคร้งั ต่อไป

กิจกรรมกำรนิเทศ

ที่ รำยกำรนิเทศ วัตถปุ ระสงค์ รูปแบบ/กิจกรรมกำรนิเทศ เคร่ืองมือนเิ ทศ

1 สภาพความพร้อมและ เพ่อื ประเมินความพร้อม การสงั เกต ตรวจสอบ แบบสงั เกตบันทึก

บริบทของสถานศึกษา และการจดั บรบิ ท สภาพความเป็นจรงิ

ของสถานศึกษา

2 กระบวนการจดั เพ่ือนิเทศ ติดตาม - เยยี่ มชน้ั เรยี น แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม

การเรยี นรเู้ พ่ือยกระดบั การจัดการเรียนรู้ - สงั เกตการสอน การจัดการเรยี นรู้

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ตามหลักสตู รฯ - สอบถาม/สมั ภาษณ์ ตามหลักสูตรฯ

- สะท้อนคดิ เสนอแนะ

- แลกเปลี่ยนเรียนรู้

- ตรวจเอกสาร รอ่ งรอย

3 ระบบประกันคุณภาพ เพ่อื นเิ ทศ ติดตาม - สอบถาม/สัมภาษณ์ แบบนเิ ทศ ระบบ

การศกึ ษาภายใน ตรวจสอบ ระบบประกัน - สะทอ้ นคิด เสนอแนะ ประกนั คุณภาพ

สถานศึกษา คุณภาพภายใน - แลกเปลย่ี นเรียนรู้ การศกึ ษาภายใน

ของสถานศกึ ษา - ตรวจเอกสาร รอ่ งรอย สถานศึกษา

4 การพัฒนาติดตาม เพื่อติดตามการพัฒนา - สอบถาม/สัมภาษณ์ แบบนิเทศ ติดตาม

การพัฒนาจดุ เนน้ / จุดเนน้ / นโยบาย / - ให้ขอ้ เสนอแนะ การพฒั นาจดุ เนน้ /

นโยบาย / กจิ กรรม / กจิ กรรม / งาน / - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นโยบาย / กจิ กรรม

งาน / โครงการต่าง ๆ โครงการต่าง ๆ - ตรวจสอบรอ่ งรอย / งาน / โครงการ

ตา่ ง ๆ

ประโยชน์ท่ีคำดวำ่ จะไดร้ ับ

1. สถานศึกษาในสังกัดบริหารจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล ตามมาตรฐาน
สง่ ผลให้ผ่านการประเมินและรับรองคณุ ภาพการศกึ ษา จาก สมศ.

เอกสารประวตั แิ ละผลงานประกอบการประเมินเพื่อคดั เลือกฯ ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรีสองเมอื ง

เอกสารประวตั แิ ละผลงประกอบการประเมินเพื่อคดั เลือกใหด้ ารงตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์ 16

2. นักเรยี นทุกระดบั ชน้ั มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น(O-NET) เพ่มิ ขน้ึ ไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 5
3. สถานศกึ ษาและสหวิทยาเขตคณุ ภาพการศกึ ษา ดาเนนิ การนิเทศภายในอย่างเปน็ ระบบ ต่อเนอื่ ง
4. สถานศกึ ษา มีการจัดการเรยี นร้ตู ามจุดเน้น / นโยบาย / กิจกรรม / งาน / โครงการต่าง ๆ
5. รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและการนิเทศการศกึ ษาใหผ้ ูท้ ีเ่ กีย่ วข้องทราบ
6. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกระดับ มีข้อมูลสารสนเทศเพ่ือใช้กาหนด
แนวทาง วางแผน ปรบั ปรงุ และเตรยี มการนิเทศเพ่อื พัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาต่อไป
7. สถานศึกษา และสหวิทยาเขต นาข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตอ่ ไป

แนวทำงกำรนเิ ทศกำรจัดกำรเรียนรแู้ บบ Active Learning
กรอบแนวคดิ ในกำรนเิ ทศ

ในปัจจุบันสานักงานคณะกรรมการศึกษาช้ันพ้ืนฐานได้ส่งเสริมให้ครูนาการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก
Active learning มาใช้ในการจดั การเรียนรู้ให้มากขนึ้ เพอื่ ส่งเสรมิ ศักยภาพชองผู้เรยี นในการเรยี นร้ทู ี่เนน้ ให้ผู้เรียน
ลงมือทา คิดวิเคราะห์และร่วมมือกันแก้ไขปัญหา ถ้าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะนี้ประสบความสาเร็จจะ
ทาให้ผูเ้ รยี นสามารถรักษาผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทนได้มากและนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning ซง่ึ
ถ้าเราสามารถพาผู้เรียนไปถึงข้ันน้ันได้ จะเป็นการปฏิวัติวงการการศึกษาของไทยเลยทีเดียว เพราะกระบวนการ
เรียนรู้แบบ Active Learning นั้น ตัวแปรสาคัญในการเรียนรู้จะไปอยู่ท่ีตัวผู้เรียนเป็นหลัก การจะพัฒนาไปถึงข้ัน
น้ันได้ ผู้เรียนจะต้องมีทักษะและความพร้อมในการเรียนรู้อย่างเหมาะสมในระดับหน่ึง ซ่ึงทักษะพื้นฐานเช่น การ
อ่าน การเขียน การคิดคานวณ และทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศนับเป็นเรื่องที่สาคัญที่ผู้เรียนจะต้องมีความ
พร้อม เพ่ือที่จะก้าวสู่การเรียนรู้แบบ Active learning ได้โดยสมบูรณ์ และการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้
ทักษะและเชื่อมโยงองค์ความรู้ นาไปปฏิบัติ เพ่ือแก้ไขปัญหาหรือประกอบอาชีพในอนาคต โดยมีหลักการจดั การ
เรียนการสอนที่ ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในช้ันเรียน มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนกับนักเรียน ด้วย
เทคนิควิธีการที่หลากหลาย ครูผู้สอนมีบทบาทอานวยความสะดวกและจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือให้นักเรียนสร้าง
ความร้ดู ว้ ยตนเอง จนเกดิ เปน็ การเรียนรู้อย่างมีความหมาย (Meaningful Learning)
วัตถุประสงค์ของกำรนิเทศ

1. เพ่ือพัฒนาความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การจัดการเรียนรูแ้ บบ Active Learning
2. เพ่ือพฒั นาการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning
3. เพอื่ ให้ครูผสู้ อนนากจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ไปใช้ในชนั้ เรียนมากขึน้

เอกสารประวัตแิ ละผลงานประกอบการประเมนิ เพือ่ คดั เลือกฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรีสองเมือง

เอกสารประวัตแิ ละผลงประกอบการประเมินเพอ่ื คดั เลอื กใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ 17

ประเดน็ กำรนิเทศ
1. องค์ความรเู้ กยี่ วกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นร้แู บบ Active Learning
2. การออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ที่บรู ณาการกิจกรรม Active Learning
3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการกจิ กรรม Active Learning (สังเกตช้นั เรียน)

กระบวนกำรนิเทศ
ขน้ั ท่ี 1 ศกึ ษำสภำพปัจจุบัน ปัญหำและควำมต้องกำร
1. ข้อมูลสารสนเทศเพือ่ การนเิ ทศ
1.1 ข้อมูล สารสนเทศ และส่ิงอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ห้องเรียน

ห้องปฏบิ ัตกิ าร วสั ดอุ ุปกรณก์ ารเรยี นการสอน หอ้ งสมุด รวมถงึ แหลง่ เรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศกึ ษา
1.2 ขอ้ มูลและสารสนเทศท่ีเกี่ยวกับผู้เรียน เช่น ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน (NT / O-NET)
1.3 ขอ้ มูลและสารสนเทศทเ่ี กยี่ วกับครู เชน่ จานวนครู คุณวฒุ ิการศกึ ษา ตาแหน่งหน้าที่ รายวชิ าที่สอน

ผลงานทางวิชาการ การจดั แผนการเรียน/ชน้ั เรียน สื่อ อุปกรณ์การสอน แหลง่ ข้อมลู เรียนรู้
1.4 ข้อมูลด้านกระบวนการเรียนการสอน เช่น ลักษณะและวิธีการสอน ตารางสอน การมี

ส่วนร่วมของนักเรียน การใช้ตาราเรียน สื่อการสอน การประเมินผลการเรียนการสอน การรายงานผลการเรียน
การสอนซ่อมเสริม วิธีและการใช้เคร่ืองมือประเมิน

2. องค์ความรกู้ ารจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning เพอื่ นาไปใช้ในกระบวนการนิเทศ ติดตามเพ่ือสง่ เสริมและ
พฒั นาการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning มีองค์ความรู้ 4 ประเด็น ดังน้ี

ประเดน็ ที่ 1 นโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและเป้าหมายของการจัดการ
เรียนรู้แบบ Active Learning

ประเด็นท่ี 2 การบริหารจดั การเรยี นรู้แบบ Active Leaning
2.1 รูปแบบ/วิธีการ/กระบวนการ/ขั้นตอน/เทคนิค เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ

Active Learning
2.2 แนวทางการจดั ทาแผนเรยี นรู้บรู ณาการกิจกรรม Active Learning
2.3 สารสนเทศด้านการจดั การศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 และนวัตกรรมต่าง ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง

ประเด็นท่ี 3 การจัดการเรียนรู้ แบบ Active Leaning และแนวทางการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
ท่ีสอดแทรกกจิ กรรม Active Learning ได้แก่

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมินเพื่อคดั เลือกฯ ตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวัติและผลงประกอบการประเมินเพ่ือคดั เลือกใหด้ ารงตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์ 18

3.1 การเลือกกิจกรรม รูปแบบ วิธีการท่ีส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning เพ่ือ
บูรณาการในแผนการเรียนรสู้ าหรับผู้เรียน โดยใช้ ส่ือ เทคโนโลยแี ละแหล่งเรียนรทู้ ี่หลากหลาย เพ่ือกระตุ้นผู้เรยี น
อย่างเหมาะสม

3.2 การเสริมสร้างสมรรถนะและทักษะท่ีจาเป็นสาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เช่น ทักษะ
วิชาการ ทักษะชวี ิต และทักษะวิชาชีพ

3.3 การวัดและประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning
ประเด็นท่ี 4 การสังเกตชนั้ เรยี น

4.1 การสังเกตและวเิ คราะหส์ ภาพการจดั การเรยี นการสอนตามสภาพจรงิ
4.2 แนวทางปรับและพฒั นากจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื นวตั กรรมทเ่ี หมาะสมกบั วัยของผูเ้ รียน
ขั้นท่ี 2 วำงแผนและกำหนดทำงเลือก
การนิเทศเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ Active Learning มีการกาหนด
แผนงาน ดงั น้ี
1. ประชุมสร้างทีมนิเทศ ประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา และหัวหน้างานวิชาการ
ของโรงเรยี น
2. ดาเนนิ การนิเทศผา่ นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community)
3. ใชเ้ ทคนคิ การนเิ ทศหลากหลาย เชน่ เทคนิคการนิเทศตามสถานการณ์ เทคนคิ การนเิ ทศแบบ
ชแ้ี นะสะท้อนคดิ และเปน็ พเี่ ล้ียง (Reflective Coaching and Mentoring) เทคนิคการนเิ ทศแบบสนทนากลมุ่
4. กาหนดระยะเวลาการนเิ ทศ เป็นรายภาคเรยี น เชน่ นเิ ทศภาคเรียนละ 7 ครงั้
ขัน้ ที่ 3 กำรสร้ำงส่ือ เคร่อื งมือและกำรพฒั นำวิธกี ำรนเิ ทศ
ดาเนนิ การสร้างส่ือและเครื่องมือนเิ ทศ สร้างและพัฒนาตามกิจกรรมการนิเทศในแตล่ ะกิจกรรม เพื่อ
เป็นเคร่ืองมือนิเทศ กากับ และติดตาม การพัฒนาการดาเนินงานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ Active
Learning

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมนิ เพ่ือคดั เลือกฯ ตาแหน่ง ศึกษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมอื ง

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมินเพอ่ื คดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ 19

ข้นั ที่ 4 กำรปฏบิ ัติกำรนเิ ทศ

ครั้งท่ี วิธกี ำรนิเทศ วัตถุประสงค์ เอกสำรประกอบกำรนเิ ทศ*

1 จัดกจิ กรรมพบปะ 1. เพื่อสร้างทีมงานนเิ ทศ 1. เอกสารเก่ยี วกับองคค์ วามรู้

ผู้อานวยการสถานศึกษา รอง 2. เพ่อื สรา้ งความเขา้ ใจ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

ผ้อู านวยการ และข้อตกลงร่วมกันระหวา่ ง แบบ Active Learning

ฝา่ ยวชิ าการของสถานศึกษา / ผู้นิเทศ กับผรู้ ับการนิเทศ 2. แบบบันทกึ การสัมภาษณผ์ ู้บรหิ าร

หัวหนา้ งานวชิ าการ หัวหน้า ในการส่งเสริมและพฒั นา คณะกรรมการนเิ ทศภายในโรงเรียน

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ครูผูส้ อน จัดกจิ กรรมการเรียนรู้

และศึกษานิเทศก์ แบบ Active Learning

2 1.จัดกจิ กรรมพบกลมุ่ เพ่ือจัด - เพื่อตรวจสอบและสรา้ ง 1. เอกสารองคค์ วามรู้ในการจัด

กิจกรรม ครผู ู้สอน และทีม ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการ กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Active

นเิ ทศ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ แบบ Learning

2. มอบหมายการจดั ทา Active Learning 2. แบบประเมินตนเองของครู

แผนการเรยี นรู้ที่บรู ณาการ เกย่ี วกับ Active Learning

Active Learning 3. แบบบนั ทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

4. แบบบันทึกกจิ กรรมพบกลุ่ม

3 - จัดกจิ กรรมพบกลมุ่ 1. เพื่อแลกเปลย่ี นเรียนรู้ 1. แบบตรวจสอบแผน

เพ่ือจัดกจิ กรรม และเสนอแนะแนวทางพัฒนา การจดั การเรยี นร้ทู ่ีบรู ณาการ

แผนการเรียนรู้ กจิ กรรม Active Learning

2. แบบบันทึกกิจกรรมพบกลุ่ม

4 - จดั กจิ กรรม สงั เกตชน้ั เรยี น 1. เพอ่ื ตรวจสอบพฤติกรรมการ 1. แบบบนั ทกึ การการสงั เกต

และให้คาปรึกษา โดยใช้ จัดกจิ กรรมอย่างเป็นระบบ ช้ันเรียนแบบ Active Learning

เทคนคิ reflective coaching 2. เพอ่ื แลกเปล่ยี นเรียนรู้ 2. แบบบันทึกกิจกรรมพบกลุ่ม

ระหวา่ งผู้นิเทศและผรู้ บั นิเทศ

5 - จัดกิจกรรมพบกล่มุ เพือ่ จดั 1. เพอ่ื แลกเปล่ียนเรียนรู้ 1. แบบตรวจสอบแผนการจัด

กจิ กรรม และเสนอแนะแนวทางการ กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีบูรณาการ

ออกแบบการจดั การเรียนรู้ Active Learning

(คร้ังท่ี 2) จัดการเรียนร้ใู หม่เนน้ 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรมพบกลุ่ม

ประเดน็ ทค่ี วรปรบั ปรุงจาก

ครัง้ ที่ 1)

เอกสารประวัตแิ ละผลงานประกอบการประเมนิ เพื่อคัดเลือกฯ ตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมอื ง

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมินเพ่อื คดั เลอื กใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ 20

ครง้ั ท่ี วธิ กี ำรนเิ ทศ วตั ถุประสงค์ เอกสำรประกอบกำรนิเทศ*

6 - จดั กิจกรรม สงั เกตชั้นเรยี น 1. เพ่ือตรวจสอบพฤติกรรม 1. แบบบนั ทึกการการสงั เกต ชน้ั

และให้คาปรึกษา โดยใช้ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้อย่าง เรยี น ดา้ น Active Learning

เทคนิค reflective coaching เปน็ ระบบ 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม พบกลุ่ม

(คร้ังที่ 2) 2. เพ่อื แลกเปล่ียนเรียนรู้

ระหว่างผูน้ ิเทศและผู้รับ

การนิเทศ

3. เพอื่ ตรวจสอบความรู้

ความเข้าใจ และความสามารถ

จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน

แบบ Active Learning

7 - จดั กจิ กรรมพบปะ - เพอ่ื ตรวจสอบและประเมนิ ผล 1. แบบบนั ทึกสรุปข้อคน้ พบ

ผู้อานวยการสถานศกึ ษา รอง การดาเนนิ การพฒั นากิจกรรม พฤติกรรมการสอน

ผ้อู านวยการฝา่ ยวชิ าการ การเรยี นรู้แบบ Active 2. ขอ้ มลู แบบตารางแมททริกซ์

สถานศึกษา /หัวหน้าวิชาการ Learning

หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ครผู สู้ อน และศึกษานิเทศก์

* ผู้นิเทศควรจัดทา/จัดหาเครื่องมือประกอบการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ตาม
ความเหมาะสม

ข้ันที่ 5 กำรประเมินผลและรำยงำนผล
ผู้นิเทศจัดกิจกรรมพบปะ ผู้เก่ียวข้อง เพ่ือตรวจสอบความสาเร็จของการปฏิบัติงาน รวบรวม

ขอ้ มลู ปญั หาอปุ สรรค ในการปฏบิ ตั ใิ นแต่ละขั้นตอน รวมทั้งความพงึ พอใจในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบ Active Learning ภายในโรงเรียนร่วมกัน การประเมิน สรุป และรายงานผลการดาเนินงาน ทั้งเชิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพ

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมินเพ่อื คดั เลอื กฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวตั แิ ละผลงประกอบการประเมินเพื่อคดั เลอื กใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ 21

สอ่ื และเคร่ืองมือนิเทศ

1. แบบนิเทศ ติดตาม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning สาหรับครูผู้สอน เพ่ือ
ตรวจสอบการดาเนินงานการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning

2. แบบตรวจสอบแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ีบรู ณาการกิจกรรม Active Learning
3. แบบบันทกึ การสัมภาษณ์ผู้บริหาร คณะกรรมการนเิ ทศภายในโรงเรยี น
4. แบบันทกึ การสนทนากล่มุ ของครูผสู้ อน
5. แบบนเิ ทศ ตดิ ตามการจัดกิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ Active Learningของสถานศึกษา
6. แบบบนั ทกึ สรุปข้อคน้ พบพฤตกิ รรมการสอน

ตัวชวี้ ดั ควำมสำเรจ็

รอ้ ยละ 80 ของจานวนครผู ู้สอนผ่านการประเมนิ การพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ
Active Learning

กำรสรุปขอ้ ค้นพบ เพื่อประเมินผลควำมสำเร็จ
การจัดการข้อมูลเพ่ือความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ของผลการศึกษา โดยนาข้อมูลที่ได้ทบทวนเบื้องต้นและ

จาแนกไว้เปน็ หมวดหมู่ต่าง ๆ มาจัดให้เป็นระบบและเขียนข้อค้นพบโดยเขียนเฉพาะสงิ่ ทเ่ี กิดข้นึ ไม่ใส่ความคิดเห็น
หรอื บทวเิ คราะหใ์ ด ๆ เพ่อื ใหผ้ อู้ า่ นมโี อกาสมองเหน็ สงิ่ ที่เกิดขึน้ ตามความเปน็ จริง

1) กำรจัดระบบข้อมลู และเขียนข้อค้นพบแบบขอ้ ควำม (เชิงคุณภาพ)
เปน็ การนาขอ้ มูลที่ได้มาเรยี บเรยี งใหก้ ระชบั เป็นประเดน็ หลกั ผลทีเ่ กดิ ข้นึ คาพดู สาคญั ทเี่ กย่ี วข้องกับแต่

ละประเด็น บรรยายเรยี บเรยี งเป็นเรื่องเลา่ ข้อค้นพบเกี่ยวกับครูคนท่เี ราสงั เกตเป็นวิธีการหนึ่ง ทใ่ี ช้สกัดขอ้ มลู ได้ดี โดย
เขยี นขอ้ ค้นพบที่เกี่ยวข้องกับประเด็น มองเหน็ ภาพรวมสิ่งท่เี กิดข้ึนจริง อยา่ งกระชบั ได้ใจความ ซึ่งนอกจากจะจัดการ
กับจานวนขอ้ มลู ไมใ่ หม้ ากเกนิ ไปแลว้ ยงั ช่วยทาใหผ้ ู้อา่ นมองเห็นภาพอย่างชัดเจน

2) กำรจดั ระบบข้อมูลแบบตำรำงแมททรกิ ซ์ (เชงิ ปริมาณ)
การประเมนิ ผลด้วยการจัดระบบขอ้ มูลแบบตารางแมททริกซ์ เปน็ การรวบรวมขอ้ มลู ท่ีเกี่ยวข้องใส่ลง

ตารางซ่ึงจะช่วยให้ เข้าใจการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู การทาตารางแมททริกซ์น้ีจะใช้คาสาคัญสั้นๆ
อ่านเขา้ ใจง่าย ดูชดั เจนและจดจาได้ ตรงไปตรงมาและกระจ่างแจ้ง

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมินเพื่อคัดเลอื กฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวตั แิ ละผลงประกอบการประเมินเพอื่ คดั เลอื กใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์ 22

แบบนเิ ทศ ติดตำม กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรูแ้ บบ Active Learning

โรงเรยี น....................................................................................... สหวทิ ยาเขต.........................................................

ช่ือครผู ้สู อน.................................................................................สอนระดบั ชนั้ ...............วชิ า...................................

คำช้แี จง โปรดทาแบบนเิ ทศ ตดิ ตามการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning คน้ พบการ พัฒนาการจัดกจิ กรรมการ

เรียนรู้ แบบ Active Learning ของครรู ายบคุ คล/รายภาคเรยี น

ตอนท่ี 1 สังเกตกำรสอน

ครง้ั ท่ี 1 คร้งั ที่ 2

ท่ี องคป์ ระกอบ ปฏิบตั ิ ไม่ ปฏิบตั ิ ไม่ ข้อสังเกต
ปฏิบตั ิ ปฏบิ ตั ิ

ดา้ นครผู ูส้ อน

1 สร้างบรรยากาศการเรียนร้แู บบมสี ่วนรว่ ม

2 สร้างแรงจูงใจจากตัวอยา่ ง เหตุการณ์ และสถานการณท์ ี่น่าสนใจ

3 สร้างแรงจูงใจใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นรูจ้ ากการลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ

4 ฝกึ ใหม้ ีการนาเสนอผลงาน และยอมรบั แนวคดิ จากผอู้ ื่น

5 แบ่งกลุ่มการทางาน หรือฝกึ ใหท้ างานเปน็ ทมี

6 จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่สี อดคล้องกับมาตรฐาน และตัวชีว้ ัด ตาม

หลกั สตู รแกนกลาง

7 สร้างแรงจงู ใจ และแรงบันดาลใจแก่ผู้เรยี น โดยการกาหนดโจทย์

เงือ่ นไข สถานการณ์ ทีน่ า่ สนใจและทา้ ทาย

8 ฝึกให้ผเู้ รียนได้ปฏิบตั งิ านจากสถานการณจ์ าลองและสถานการณ์

จริง

9 มีการวดั ประเมนิ ผลในรปู แบบที่หลากหลาย ทง้ั กอ่ นเรียน ระหว่าง

เรียน และหลงั เรียน

10 มีการประยุกต์ใช้ส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยี กับการจดั กิจกรรมเพื่อ

กระตุน้ ความความสามารถและสรา้ งทักษะแกผ่ ู้เรยี น

11 ใจกว้าง ยอมรับในความสามารถ การแสดงออก และความคดิ เหน็

ของที่ผู้เรยี น

12 วางแผนเกยี่ วกับเวลาในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรอู้ ย่างชัดเจน ทงั้

ในส่วนของเนื้อหา และกิจกรรม

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมินเพอื่ คดั เลอื กฯ ตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรีสองเมือง

เอกสารประวัติและผลงประกอบการประเมินเพอื่ คดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ 23

คร้งั ท่ี 1 ครงั้ ที่ 2

ท่ี องคป์ ระกอบ ปฏิบตั ิ ไม่ ปฏบิ ตั ิ ไม่ ข้อสังเกต
ปฏิบตั ิ ปฏบิ ตั ิ
ด้ำนผูเ้ รียน
13 ผู้เรยี นสรา้ งองค์ความร้แู ละจัดระบบการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
14 ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมการเรยี นการสอน
15 ผู้เรยี นมคี วามกระตือรือรน้ ในการเรียนรู้
16 ผูเ้ รยี นมปี ฏสิ มั พันธท์ ด่ี ีกับผสู้ อนและเพอ่ื นในชั้นเรียน
17 ผู้เรยี นกลา้ นาเสนอและแสดงความคดิ เหน็ และโต้แย้งอยา่ งมีเหตผุ ล
18 ผู้เรยี นมคี วามรับผดิ ชอบ สามารถทากจิ กรรมจนสาเร็จลลุ ว่ ง
19 ผู้เรยี นร่วมกันจดั เก็บ ทาความสะอาดอุปกรณ์และสถานทหี่ ลังการ

ปฏิบัติกจิ กรรม
ดำ้ นกระบวนกำร
20 เปน็ กิจกรรมทีใ่ หผ้ เู้ รยี นมสี ่วนร่วมในการเรียนรู้
21 เปน็ กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ีเนน้ ใหผ้ เู้ รียนฝึกทักษะการอา่ น การฟัง การ
พดู และการคดิ เช่น การคดิ วเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คิดสร้างสรรค์
22 เป็นกิจกรรมที่สรา้ งสถานการณใ์ หผ้ เู้ รยี นไดล้ งมือปฏิบตั จิ รงิ
23 เป็นกิจกรรมทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นบูรณาการข้อมูล, ข่าวสาร,
สารสนเทศ, และหลกั การสู่การสรา้ งความคิดรวบยอด
24 เป็นกิจกรรมทม่ี กี ารสรา้ งองคค์ วามรู้ ท้ังจากการปฏบิ ตั ิ จาก
ประสบการณ์ และจากการสรปุ ทบทวนของผูเ้ รียน

สรุป

ตอนท่ี 2 กำรโคช้ ของศกึ ษำนเิ ทศก์
.............................................................................................................................................................................. ......
............................................................................................................................ ........................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................................... .....................................
............................................................................................. .......................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................

เอกสารประวัติและผลงานประกอบการประเมินเพ่อื คดั เลือกฯ ตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวตั แิ ละผลงประกอบการประเมินเพอื่ คดั เลอื กใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ 24

ตอนท่ี 3 สะท้อนผลกำรสังเกตกำรสอน
ขอ้ คน้ พบ

ด้ำนครผู ู้สอน.............................................................................................................................................................
.
..................................................................................................... ...............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
ด้ำนผู้เรยี น........................................................................................................................................................ ..........
........................................................................................................................ ............................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................... .........................................
......................................................................................... ...........................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
ดำ้ นกระบวนกำร........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................... .............
..................................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................ ............................................
...................................................................................... ..............................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................. .................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................

เอกสารประวตั ิและผลงานประกอบการประเมินเพื่อคดั เลอื กฯ ตาแหน่ง ศึกษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวัติและผลงประกอบการประเมนิ เพอ่ื คดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ 25

แบบประเมินแผนกำรจดั กำรเรียนรู้

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี .......ชอ่ื ......................................................................................... ช้ัน.......เวลา........ชั่วโมง
หนว่ ยการเรียนร้.ู ..................................................................................................................เวลาทง้ั หมด.........ชว่ั โมง
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ .............................................. ช่ือครูผู้สอน................................................................................

คำช้แี จง โปรดเขยี นเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่องทตี่ รงกับระดับคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิ
ระดับคุณภาพการปฏิบัติ
4 หมายถึง คุณภาพการปฏบิ ตั ิอย่ใู นระดบั มากท่ีสุด 3 หมายถึง คุณภาพการปฏิบตั ิอยู่ในระดับมาก
2 หมายถึง คุณภาพการปฏบิ ตั ิอยู่ในระดับปรับปรงุ 1 หมายถึง คุณภาพการปฏบิ ตั ิอยู่ในระดบั ปรับปรงุ มากท่ีสุด

ระดับคณุ ภาพ

รำยกำรประเมิน การปฏบิ ัติ

4321

1. ชื่อแผนการจัดการเรียนรูก้ ะทัดรดั ชัดเจน ครอบคลมุ เนื้อหาสาระ

2. มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวช้ีวัด จดุ ประสงค์การเรยี นร้มู คี วามเชอื่ มโยงกนั

อย่างเหมาะสม

3. สาระสาคัญกบั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละ ตัวชว้ี ดั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้มีความ

สอดคล้อง

4. สาระสาคญั กบั สาระการเรียนรู้มคี วามสอดคลอ้ งกัน

5. ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรมู้ าตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชว้ี ัด จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

สาระสาคัญ และสาระการเรยี นรมู้ คี วามเชื่อมโยงสมั พนั ธ์กัน

6. เป้าหมายของการเรียนร้ใู นแผนการจัดการเรยี นรู้มีความชดั เจน ครอบคลุม

การเรียนรใู้ นแผนการจดั การเรียนรู้

7. กิจกรรมการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกบั สาระการเรยี นรมู้ าตรฐานการเรยี นรู้และ

ตวั ชีว้ ัด จดุ ประสงค์การเรียนรู้

8. กิจกรรมการเรียนร้มู ุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

9. กจิ กรรมการเรยี นรมู้ คี วามครอบคลมุ ในการพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความรู้ทกั ษะ/

กระบวนการ และคุณลกั ษณะ ท่ีพงึ ประสงค์

10. กิจกรรมการเรียนร้สู ามารถนาผู้เรียนไปสูก่ ารสร้างช้นิ งาน/ภาระงาน

เอกสารประวตั แิ ละผลงานประกอบการประเมนิ เพือ่ คดั เลอื กฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง

เอกสารประวัติและผลงประกอบการประเมนิ เพ่อื คดั เลอื กใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์ 26

ระดบั คณุ ภาพ

รำยกำรประเมนิ การปฏบิ ัติ

4321

11. กิจกรรมการเรยี นรคู้ านงึ ถึงผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล

12. มีการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้และ

ตัวช้ีวัด

13. มีการทดสอบหรือการจัดกิจกรรมเพอ่ื ตรวจสอบความรคู้ วามสามารถของ

ผู้เรียนในแผนการจดั การ เรียนรทู้ ไ่ี ด้มาตรฐาน สอดคลอ้ งกับกับมาตรฐานการ

เรยี นรู้และตัวชว้ี ัด สมั พันธ์กับการทดสอบระดบั ชาติ

14. ประเด็นและเกณฑก์ ารประเมนิ สามารถสะท้อนคุณภาพผเู้ รียนตามมาตรฐาน

การเรียนรู้และตัวช้ีวดั

15. การวัดและประเมนิ ผลคานงึ ถึงผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล

16. ส่ือแหล่งการเรียนรู้มีความเหมาะสม เพยี งพอ สง่ ผลตอ่ การเรียนรขู้ องผเู้ รยี น

17. แผนการจัดการเรยี นรู้ทจี่ ัดท าสามารถนาไปปฏิบัติได้จริง

รวม

เฉล่ีย

สรุปผล

การแปลความหมายการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ เกณฑค์ า่ เฉล่ยี 1.00 – 1.50 : ปรับปรงุ 1.51 – 2.50 :
พอใช้2.51 – 3.50 : ด3ี .51 – 4.00 : ดมี าก เกณฑ์การผ่าน มีผลการประเมินในระดบั ดีขึ้นไป

เอกสารประวตั แิ ละผลงานประกอบการประเมินเพื่อคัดเลอื กฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมอื ง

เอกสารประวัติและผลงประกอบการประเมินเพือ่ คดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ 27

.

ภำคผนวก

เอกสารประวตั แิ ละผลงานประกอบการประเมินเพือ่ คัดเลอื กฯ ตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ ของ นางดาวใจ ศรีสองเมอื ง

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมนิ เพ่ือคดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ 28

เอกสารประวัติและผลงานประกอบการประเมินเพอ่ื คัดเลือกฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมอื ง

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมนิ เพ่ือคดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ 29

เอกสารประวัติและผลงานประกอบการประเมินเพอ่ื คัดเลือกฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมอื ง

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมนิ เพ่ือคดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ 30

เอกสารประวัติและผลงานประกอบการประเมินเพอ่ื คัดเลือกฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมอื ง

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมนิ เพ่ือคดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ 31

เอกสารประวัติและผลงานประกอบการประเมินเพอ่ื คัดเลือกฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมอื ง

เอกสารประวตั ิและผลงประกอบการประเมนิ เพ่ือคดั เลือกใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ 32

เอกสารประวัติและผลงานประกอบการประเมินเพอ่ื คัดเลือกฯ ตาแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมอื ง

เอกสารประวตั แิ ละผลงประกอบการประเมินเพ่อื คดั เลอื กใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ 33

นอรายงานผลการนิเทศต่อผ้บู ังคบั บญั ชาระดับเขตพ้ืนที่การศกึ ษา ศึกษานเิ ทศก์ ก.ต.ป.น. สถานศึกษาและผู้มีส่วน
เกยี่ วขอ้ งทุกระดับ

4.2 ใชผ้ ลการนิเทศ เพ่ือกาหนดแนวทาง วางแผน เตรียมการนเิ ทศครั้งต่อไป

เอกสารประวัติและผลงานประกอบการประเมนิ เพ่ือคดั เลอื กฯ ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ ของ นางดาวใจ ศรสี องเมือง


Click to View FlipBook Version