เรื่อง : คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 1/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
คู่มอื ความปลอดภยั ในการทางาน
ผจู้ ัดทา ผ้ทู บทวน ผูอ้ นุมัติ
......................................................... ......................................................... .........................................................
( นายวรวฒุ ิ เปา้ ป่าเถ่ือน ) ( น.ส กริ ณา พละศกั ด์ิ ) ( นายจเร พงษ์สภุ า )
........./......../........... ........./......../........... ........./......../...........
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พื่อใชง้ านรว่ มกันภายในบริษัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ท่คี วบคมุ เอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทันทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พียงบางส่วน หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจ่ายไปยงั ภายนอกบรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบรษิ ัท ไทยวินเิ ทค (2002) จากดั
เรอ่ื ง : คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 2/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
ผขู้ อดาเนนิ การแกไ้ ข
บนั ทกึ การแก้ไข เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ฯวชิ าชพี
แกไ้ ขครงั้ ท่ี ประกาศใชว้ นั ท่ี รายการ
00 02/05/2565 ออกเอกสารใหม่
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนิคสเ์ พือ่ ใชง้ านรว่ มกันภายในบริษัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทีค่ วบคมุ เอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พียงบางส่วน หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบรษิ ัทฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษัท ไทยวนิ เิ ทค (2002) จากดั
เรื่อง : คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 3/31
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้ แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
สารบัญ หน้า
เรอ่ื ง 5
6
1. บทนา 7
2. นโยบายความปลอดภยั 9
3. สิทธิและหนา้ ท่ีของนายจา้ งและลกู จา้ ง 10
4. คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 12
5. หนา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบของ จป.ทกุ ระดบั 13
6. กฎระเบียบขอ้ บงั คบั ท่วั ไปเก่ยี วกบั ความปลอดภยั 13
7. ขอ้ ปฏบิ ตั ิเพ่อื สขุ ภาพและความปลอดภยั ในการทางาน 14
8. กฎระเบยี บความปลอดภยั ในการทางานสาหรบั ผรู้ บั เหมา 15
9. นิยามศพั ทอ์ าชวี อนามยั และความปลอดภยั 15
10. 5 ส.เพ่อื ความปลอดภยั ในการทางาน 16
11. ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ยของสถานท่ที างาน 17
12. ความปลอดภยั ในสานกั งาน 17
13. การปฏบิ ตั งิ านอยา่ งปลอดภยั 19
19
13.1 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ 20
13.2 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องถ่ายเอกสารและเคร่อื งพมิ พ์
13.3 ความปลอดภยั ในการยกเคล่ือนยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยมือ
13.4 ความปลอดภยั ในการอปุ กรณไ์ ฟฟา้
14. การใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล
15. การปอ้ งกนั และระงบั อคั คีภยั
16. การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้
17. รูปแบบของเครอื่ งหมายเพ่อื ความปลอดภยั
18. สญั ลกั ษณท์ ่ตี ดิ บนภาชนะบรรจสุ ารเคมแี ละวตั ถอุ นั ตราย
19. คมู่ ือความปลอดภยั ของสารเคมี
20. ขนั้ ตอนการรายงานอบุ ตั เิ หตุ
21. เบอรโ์ ทรแจง้ เหตฉุ กุ เฉิน
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนิคสเ์ พื่อใชง้ านรว่ มกนั ภายในบรษิ ัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมเอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กบั เอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พียงบางสว่ น หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจ่ายไปยงั ภายนอกบรษิ ัทฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ไทยวนิ เิ ทค (2002) จากดั
เรือ่ ง : ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 4/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
1. บทนา
คณะผบู้ รหิ ารของบริษัทฯ ไดป้ ระกาศเจตนารมณอ์ ย่างแนว่ แนท่ ่จี ะ “ส่งเสรมิ และสรา้ งสรรคใ์ หม้ กี ารทางานอยา่ ง
ปลอดภยั ” โดยถือว่าความปลอดภยั ในการทางานเป็นความปรารถนาอย่างยงิ่ ของบรษิ ทั ฯ
การจัดทาหนังสือคู่มือความปลอดภัยนี้ก็เป็นมาตรการสาคัญอันหนึ่ง ท่ีมุ่งหวังจะให้เป็นเคร่ืองมือในการ
บรหิ ารงานความปลอดภยั ใหบ้ รรลสุ มดงั เจตนารมณข์ า้ งตน้ นดี้ ว้ ย
หนังสือคู่มือความปลอดภัยฉบับนี้ ได้จาแนกประเภทความปลอดภัยในแต่ละงานไว้เป็นการเฉพาะเรื่อง
เพ่ือสะดวกในการใชก้ ารคน้ ควา้ และอา้ งอิง โดยในแต่ละเร่ืองไดเ้ นน้ สาระสาคญั เป็นสองส่วน กล่าวคือ ส่วนแรกว่าดว้ ย
กฎท่ีตอ้ งปฏิบตั ิ ซ่งึ ในสว่ นนีใ้ หถ้ ือเป็นหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบซ่งึ พนกั งานทกุ คนตอ้ งถือปฏิบตั ิ หากมีการละเลยหรือฝ่าฝืน
ถือว่าเป็นความบกพรอ่ งซ่ึงตอ้ งไดร้ บั การพิจารณาโทษทางวินยั สาหรบั ส่วนท่ีสองว่าดว้ ย ขอ้ แนะนา เป็นส่วนท่ีม่งุ เสริม
ให้พนักงานไดต้ ระหนักและระมัดระวัง อันเป็นการสรา้ งความปลอดภัยท่ีสมบูรณ์ย่ิงขึน้ ให้แก่พนักงาน อย่างไรก็ดี
หากพนกั งานไดป้ ฏิบตั ิตามกฎท่ีตอ้ งปฏิบตั ิโดยเคร่งครดั และปฏิบตั ิตามขอ้ แนะนาอย่างครบถว้ นแลว้ ก็เป็นท่ีเช่ือไดว้ ่า
ความปลอดภยั ในการทางานกจ็ ะบรรลสุ มดงั เจตนารมณท์ กุ ประการ
ความปลอดภยั จะเกิดขึน้ ไดม้ ิใช่เพียงแต่คิดและเขียนเป็นหนงั สือค่มู ือนีไ้ วเ้ ท่านนั้ โปรดระลึกอยู่เสมอว่าความ
ปลอดภยั จะเกดิ ขนึ้ ไดต้ อ้ งมกี ารปฏิบตั ิตามส่ิงท่คี ิดท่ีเขียนไวใ้ นค่มู ือนีเ้ ป็นประการสาคญั และการปฏิบตั นิ นั้ ควรจะกระทา
ดว้ ยชีวิตจติ ใจและทาใหเ้ ป็นนิสยั ไปตลอด
ค่มู ือความปลอดภยั ฉบบั นีถ้ ือว่า เป็นส่วนหน่ึงของขอ้ บงั คบั ว่าดว้ ยการทางาน ขอใหพ้ นกั งานทกุ คนไดต้ ระหนกั
และเรียนรูท้ าความเขา้ ใจใหถ้ ่องแท้ หากมีขอ้ สงสัยขอ้ ใหส้ อบถามหวั หนา้ งาน ผบู้ งั คับบญั ชา เพ่ือความกระจ่างชดั เจน
ยิ่งขนึ้ และสามารถนาไปปฏิบตั ิไดถ้ กู ตอ้ ง อนั จะนามาซง่ึ ความปลอดภยั ของตวั พนกั งานเองโดยถว้ นหนา้ กนั
คณะกรรมการความปลอดภยั
บรษิ ทั ไทยวนิ ิเทค (2002) จากดั
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พอ่ื ใชง้ านรว่ มกนั ภายในบริษัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ทีค่ วบคมุ เอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กบั เอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แต่เพยี งบางส่วน หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบริษัทฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ไทยวนิ ิเทค (2002) จากดั
เร่ือง : คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 5/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
2. นโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามัย และส่ิงแวดล้อม
นโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
บริษทั ราช กรุ๊ป จากดั (มหาชน) (บริษทั ฯ) ไดก้ าหนดวสิ ัยทศั นท์ ่ีจะเป็นบริษทั ช้นั นาดา้ นพลงั งาน และระบบ
สาธารณูปโภคพ้ืนฐานที่มงุ่ เนน้ การสร้างมูลค่าในภมู ิภาคเอเชียแปซิฟิ ก และตระหนกั ถึงความสาคญั ดา้ นความปลอดภยั
อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ของพนกั งาน คธู่ ุรกิจ ผรู้ ับเหมา และผมู้ าติดตอ่ บริษทั ฯ จึงกาหนด
นโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี
1. บริษทั ฯ จะพฒั นาระบบการจดั การความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานให้
สอดคลอ้ งกบั กฎหมาย มาตรฐานสากล และขอ้ กาหนดอ่ืนๆ ท่ีบริษทั นามาประยกุ ตใ์ ชเ้ พื่อสร้างวฒั นธรรม
ความปลอดภยั ในการทางานใหก้ บั พนกั งาน คู่ธุรกิจ ผรู้ ับเหมา และผมู้ าติดตอ่ หรือมาปฏิบตั ิงานภายในบริษทั
ฯ ใหเ้ กิดข้ึนอยา่ งตอ่ เน่ืองและยง่ั ยนื
2. บริษทั ฯ ถือว่าความปลอดภยั ในการทางานเป็นหนา้ ที่และความรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิงานของพนกั งานทกุ
คน ผบู้ งั คบั บญั ชาทกุ ระดบั ตอ้ งเป็นแบบอยา่ งท่ีดี เป็นผนู้ า สนบั สนุน ส่งเสริมใหพ้ นกั งานตระหนกั รู้ถึงการ
ทางานดว้ ยความปลอดภยั รวมท้งั กากบั ดูแลใหก้ ารปฏิบตั ิงานของพนกั งาน คู่ธุรกิจ ผรู้ ับเหมา และผมู้ าติดต่อ
หรือมาปฏิบตั ิงานภายในบริษทั ฯ ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ท่ีกาหนดข้ึนโดย
เคร่งครัด ท้งั น้ี เพื่อใหเ้ กิดความปลอดภยั สูงสุดในทกุ ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน
3. บริษทั ฯ จะส่งเสริมและสนบั สนุนใหเ้ กิดการมีส่วนร่วมของพนกั งาน คธู่ ุรกิจ ผรู้ ับเหมา และผมู้ าติดตอ่ หรือมา
ปฏิบตั ิงานภายในบริษทั ฯ ในการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการ
ทางาน
4. บริษทั ฯ ตระหนกั ถึงความสาคญั ของการป้องกนั และประเมินความเส่ียงของอนั ตรายและผลกระทบดา้ น
ส่ิงแวดลอ้ มต่างๆ โดยจะดาเนินการทกุ วิถีทางเพ่อื ใหม้ นั่ ใจว่าระบบการป้องกนั และแกไ้ ขความเสี่ยงจะถกู
นาไปใชอ้ ยา่ งมีประสิทธิผล
5. บริษทั ฯ จะพฒั นาพนกั งานใหม้ ีความรู้ และสร้างจิตสานึกใหพ้ นกั งานทุกระดบั ตระหนกั ถึงความสาคญั ของ
งานดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
6. บริษทั ฯ จะติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ
สภาพแวดลอ้ มในการทางาน และที่กาหนดไวใ้ นแผนงานประจาปี เพ่อื ใหเ้ กิดการปฏิบตั ิอยา่ งจริงจงั และเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด
7. บริษทั ฯ จะใหก้ ารสนบั สนุนทรัพยากร ท้งั งบประมาณ เวลา บคุ ลากร และทรัพยากรที่เกี่ยวขอ้ งอยา่ งเหมาะสม
ในการดาเนินการตามระบบการจดั การความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพ
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พ่ือใชง้ านรว่ มกนั ภายในบรษิ ัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ท่ีควบคมุ เอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางสว่ น หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบรษิ ัทฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษัท ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เรอ่ื ง : ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 6/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
3. สิทธิและหน้าทขี่ องนายจา้ งและลูกจ้าง
จากประกาศของกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงาน เร่ืองสญั ลกั ษณเ์ ตือนอนั ตราย เครอ่ื งหมายเก่ียวกบั ความ
ปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ข้อความแสดงสิทธิและหน้าท่ีของนายจ้างและลูกจ้าง
พ.ศ. 2554 กาหนดใหน้ ายจา้ งตดิ ประกาศขอ้ ความแสดงสทิ ธิและหนา้ ท่ขี องนายจา้ งและลกู จา้ ง ณ สถานประกอบกจิ การ
ซ่งึ ตอ้ งประกอบดว้ ยขอ้ ความดงั ตอ่ ไปนี้
(1) นายจ้างและลูกจ้างมีหน้าท่ีในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอ้ มในการทางาน พ.ศ. 2554
(2) นายจา้ งมีหนา้ ท่ีจดั และดูแลสถานประกอบกิจการและลกู จา้ งใหม้ ีสภาพการทางานและสภาพแวดลอ้ มใน
การทางานท่ีปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานของลูกจ้าง มิให้ลูกจ้างไดร้ ับ
อนั ตรายตอ่ ชีวิต รา่ งกาย จิตใจ และสขุ ภาพอนามยั
(3) นายจ้างมีหน้าท่ีจัดและดูแลใหล้ ูกจา้ งสวมใส่อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลท่ีไดม้ าตรฐาน
ถา้ ลกู จา้ งไม่สวมใสอ่ ปุ กรณด์ งั กล่าว ใหน้ ายจา้ งส่งั ใหห้ ยดุ การทางานจนกวา่ ลกู จา้ งจะสวมใส่อปุ กรณน์ น้ั
(4) นายจา้ งมีหนา้ ท่ีจัดใหผ้ บู้ ริหาร หวั หนา้ งาน และลูกจา้ งทุกคนไดร้ บั การฝึกอบรมใหส้ ามารถบริหารจัดการ
และดาเนินการดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานไดอ้ ย่างปลอดภยั ก่อนการเขา้ ทางาน
เปลี่ยนงาน เปล่ยี นสถานท่ที างาน หรอื เปลีย่ นแปลงเคร่อื งจกั รหรืออปุ กรณ์
(5) นายจ้างมีหน้าท่ีแจ้งให้ลูกจา้ งทราบถึงอันตรายท่ีอาจเกิดขึน้ จากการทางานและแจกคู่มือปฏิบัติงานให้
ลกู จา้ งทกุ คนก่อนท่ลี กู จา้ งจะเขา้ ทางาน เปลย่ี นงาน หรือเปลย่ี นสถานท่ที างาน
(6) นายจา้ งมีหนา้ ท่ีติดประกาศ คาเตือน คาส่งั หรือคาวินิจฉัยของอธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
พนกั งานตรวจความปลอดภยั หรือคณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน แลว้ แต่
กรณี
(7) นายจา้ งเป็นผอู้ อกค่าใชจ้ ่ายในการดา เนินงานดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการ
ทางาน
(8) ลกู จา้ งมีหนา้ ท่ีใหค้ วามรว่ มมือกบั นายจา้ งในการดาเนินการและส่งเสรมิ ดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน โดยคานึงถึงสภาพของงานและหนา้ ท่รี บั ผดิ ชอบ
(9) ลกู จา้ งมีหน้าท่ีแจ้งขอ้ บกพร่องของสภาพการทางานหรือการชารุดเสียหายของอาคาร สถานท่ีเคร่ืองมือ
เคร่ืองจักร หรืออุปกรณ์ ท่ีไม่สามารถแกไ้ ขไดด้ ว้ ยตนเองต่อเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานหัวหนา้ งาน หรือ
ผบู้ รหิ าร
(10) ลกู จา้ งมีหนา้ ท่ีสวมใส่อปุ กรณค์ ุม้ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลท่ีนายจา้ งจดั ใหแ้ ละดูแลใหส้ ามารถใช้
งานไดต้ ามสภาพและลกั ษณะของงานตลอดระยะเวลาทางาน
(11) ในสถานท่ีท่ีมีสถานประกอบกิจการหลายแห่ง ลูกจ้างมีหน้าท่ีปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับความ
ปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานของนายจา้ ง และสถานประกอบกิจการอ่ืนท่ีไม่ใช่ของนายจา้ ง
ดว้ ย
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนิคสเ์ พอ่ื ใชง้ านรว่ มกนั ภายในบรษิ ัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ท่ีควบคมุ เอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แต่เพยี งบางสว่ น หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบริษทั ฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษัท ไทยวนิ ิเทค (2002) จากดั
เรือ่ ง : ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 7/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
(12) ลกู จา้ งมีสิทธิไดร้ บั ความคมุ้ ครองจากการเลิกจา้ ง หรือถกู โยกยา้ ยหนา้ ท่ีการงานเพราะเหตทุ ่ีฟ้องรอ้ ง เป็น
พยาน ใหห้ ลกั ฐาน หรือใหข้ อ้ มลู เก่ียวกบั ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทา งานต่อพนกั งานตรวจ
ความปลอดภยั คณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน หรอื ศาล
(13) ลกู จา้ งมีสิทธิไดร้ บั ค่าจา้ งหรือสิทธิประโยชนอ์ ่ืนใด ในระหว่างหยุดการทางานหรือหยุดกระบวนการผลิต
ตามคาส่งั ของพนกั งานตรวจความปลอดภยั เวน้ แต่ลกู จา้ งท่จี งใจกระทาการอนั เป็นเหตใุ หม้ ีการหยดุ การทางานหรือหยุด
กระบวนการผลิต ทง้ั นี้ ตงั้ แตบ่ ดั นเี้ ป็นตน้ ไป
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนิคสเ์ พ่อื ใชง้ านรว่ มกันภายในบรษิ ัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมเอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทันทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางสว่ น หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษทั ฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบรษิ ทั ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เรอ่ื ง : คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 8/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
4.คณะกรรมการความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
บริษัท ไทยวนิ ิเทค (2002) จากดั
คุณ
ประธาน
คุณ
เลขานุการ
คุณ คุณ
กรรมการผู้แทนระดับบังคับบัญชา กรรมการผู้แทนระดบั บังคับบัญชา
คุณ คุณ คุณ
กรรมการผู้แทนลกู จ้างระดบั ปฏิบัติการ กรรมการผูแ้ ทนลูกจา้ งระดบั ปฏบิ ตั ิการ กรรมการผูแ้ ทนลกู จ้างระดบั ปฏบิ ตั ิการ
หน้าทขี่ อง คปอ.11 ข้อ
1. พิจารณานโยบายและแผนงานดา้ นความปลอดภยั ในการทางาน รวมทง้ั ความปลอดภยั นอกงาน เพ่ือปอ้ งกนั
และลดการเกิดอบุ ตั ิเหตุ การประสบอนั ตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตเุ ดือดรอ้ นราคาญอนั เน่อื งจากการทางาน หรือ
ความไมป่ ลอดภยั ในการทางานเสนอต่อนายจา้ ง
2. รายงานและเสนอแนะมาตรการหรอื แนวทางปรบั ปรุงแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งตามกฎหมายเก่ียวกบั ความปลอดภยั ใน
การทางานและมาตรฐานความปลอดภยั ในการทางานตอ่ นายจา้ ง เพ่อื ความปลอดภยั ในการทางานของลกู จา้ ง ผรู้ บั เหมา
และบคุ คลภายนอกท่เี ขา้ มาปฏิบตั ิงานหรือเขา้ มาใชบ้ รกิ ารในสถานประกอบกจิ การ
3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั ในการทางานของสถานประกอบกิจการ
4. พจิ ารณาขอ้ บงั คบั และค่มู อื ตามขอ้ 3 รวมทง้ั มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั ในการทางานของสถานประกอบ
กิจการเสนอตอ่ นายจา้ ง
5. สารวจการปฏิบตั ิการดา้ นความปลอดภยั ในการทางาน และตรวจสอบสถิติการประสบอนั ตรายท่ีเกิดขึน้ ใน
สถานประกอบกิจการนน้ั อย่างนอ้ ยเดือนละหนง่ึ ครงั้
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนิคสเ์ พอ่ื ใชง้ านรว่ มกันภายในบริษัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ที่ควบคมุ เอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พียงบางส่วน หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษทั ฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบรษิ ทั ไทยวนิ เิ ทค (2002) จากดั
เร่ือง : คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 9/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
6. พิจารณาโครงการหรือแผนการฝึกอบรมเก่ียวกบั ความปลอดภยั ในการทางานรวมถึงโครงการหรือแผนการ
อบรมเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีความรบั ผิดชอบในดา้ นความปลอดภัยของลูกจา้ ง หัวหน้างาน ผู้บริหาร นายจา้ ง และ
บคุ ลากรทกุ ระดบั เพ่ือเสนอความเหน็ ต่อนายจา้ ง
7. วางระบบการรายงานสภาพการทางานท่ไี มป่ ลอดภยั ใหเ้ ป็นหนา้ ท่ขี องลกู จา้ งทกุ คนทกุ ระดบั ตอ้ งปฏิบตั ิ
8. ติดตามผลความคืบหนา้ เรอื่ งท่เี สนอนายจา้ ง
9. รายงานผลการปฏิบัติงานประจาปี รวมท้ังระบุปัญหา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะในการปฏิบัติหนา้ ท่ีของ
คณะกรรมการเม่อื ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่คี รบหนึ่งปี เพ่อื เสนอต่อนายจา้ ง
10. ประเมินผลการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในการทางานของสถานประกอบกิจการ
11.ปฏิบตั งิ านดา้ นความปลอดภยั ในการทางานอนื่ ตามท่ีนายจา้ งมอบหมาย
5.หน้าทแ่ี ละความรับผิดชอบของ จป. ทกุ ระดบั
5.1 เจา้ หน้าทค่ี วามปลอดภัยในการทางานระดบั หวั หน้างาน
1. กากับ ดูแลใหล้ กู จา้ งในหน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบปฏิบตั ิตามขอ้ บงั คับและค่มู ือความปลอดภยั ในการ
ทางาน
2. วิเคราะหง์ านในหน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบเพ่ือคน้ หาความเสี่ยงหรืออันตรายเบือ้ งตน้ โดยอาจร่วม
ดาเนนิ การกบั เจา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภยั ในการทางานระดบั วิชาชพี
3. สอนวิธีการปฏิบตั งิ านท่ีถกู ตอ้ งแก่ลกู จา้ งในหนว่ ยงานท่ีรบั ผิดชอบเพ่ือใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในการ
ปฏบิ ตั งิ าน
4. ตรวจสอบสภาพการทางาน เครื่องจกั ร เครื่องมือและอุปกรณใ์ หอ้ ยู่ในสภาพท่ีปลอดภัยก่อนลงมือ
ปฏบิ ตั งิ าน ประจาวนั
5. กากบั ดแู ลการใชอ้ ปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบคุ คลของลกู จา้ งในหนว่ ยงานท่ีรบั ผิดชอบ
6. รายงานการประสบอนั ตรายการเจ็บป่ วย หรือการเกดิ เหตุเดือดรอ้ นราคาญอนั เน่ืองจากการทางาน
ของลกู จา้ งตอ่ นายจา้ งและแจง้ ตอ่ เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางานระดบั วชิ าชพี
7. ตรวจสอบหาสาเหตกุ ารประสบอนั ตรายการเจบ็ ป่วย หรือการเกดิ เหตเุ ดือดรอ้ นราคาญ อนั เน่อื งจาก
การทางาน ของลกู จา้ งรว่ มกบั เจา้ หนา้ ท่คี วามลอดภยั ในการทางานระดบั วชิ าชีพ
8. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ กิจกรรมความปลอดภยั ในการทางาน
9. ปฏิบตั ิงานดา้ นความปลอดภยั ในการทางานอื่นตามท่ีเจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางานระดบั
บรหิ ารมอบหมาย
5.2 เจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภยั ในการทางาน ระดับ เทคนิค
1. ตรวจสอบและเสนอแนะใหน้ ายจา้ งปฏิบตั ิตามกฎหมายเก่ียวกบั ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ
สภาพแวดลอ้ มในการทางาน
2. วิเคราะหง์ านเพ่ือชีบ้ ่งอันตราย รวมทั้งกาหนดมาตรการป้องกันและขั้นตอนการทางาน อย่าง
ปลอดภยั เสนอตอ่ นายจา้ ง
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนคิ สเ์ พ่อื ใชง้ านรว่ มกนั ภายในบริษัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ท่ีควบคมุ เอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทันทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แต่เพยี งบางส่วน หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษัทฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เรื่อง : คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 10/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
3. แนะนาให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือตามข้อ 3 (ข้อ 3 นี้ คือ ข้อท่ีระบุว่า สถาน
ประกอบการจะตอ้ งจดั ใหม้ ขี อ้ บงั คบั และค่มู อื วา่ ดว้ ยความปลอดภยั ไวใ้ นสถานประกอบการ)
4. ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอนั ตราย การเจ็บป่ วย การเกิดเหตุเดือดรอ้ นราคาญ อนั เน่ืองจาก
การทางาน และรายงานผล รวมทงั้ เสนอแนะตอ่ นายจา้ งเพ่อื ป้องกนั การเกิดเหตโุ ดยไมช่ กั ชา้
5.รวบรวมสถิติ จดั ทารายงาน และขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั การประสบอนั ตราย การเจ็บป่วยหรอื การเกิด
เหตเุ ดือดรอ้ นราคาญอนั เน่อื งจากการทางานของลกู จา้ ง
6.ปฏิบตั งิ านดา้ นความปลอดภยั ในการทางานอืน่ ตามท่ีนายจา้ งมอบหมา
5.3 เจา้ หน้าทค่ี วามปลอดภยั ในการทางานระดบั วิชาชพี
1. ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจา้ งให้นายจา้ งปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเกี่ยวกับความปลอดภัย
อนามยั และ สภาพแวดลอ้ ม ในการทางาน
2. วิเคราะห์งานเพ่ือชี้บ่งอันตราย รวมทั้งกาหนดมาตรการป้องกันหรือข้ันตอนการทางานอย่าง
ปลอดภยั เสนอต่อนายจา้ ง
3. ประเมนิ ความเสีย่ งดา้ นความปลอดภยั ในการทางาน
4. วิเคราะหแ์ ผนงานโครงการ รวมทง้ั ขอ้ เสนอแนะของหน่วยงานต่างๆ และเสนอแนะมาตรการความ
ปลอดภยั ในการทางานตอ่ นายจา้ ง
5. ตรวจประเมนิ การปฏบิ ตั งิ านของสถานประกอบกจิ การใหเ้ ป็นไปตามแผนงานโครงการหรอื มาตรการ
ความ ปลอดภยั ในการทางาน
6. แนะนาใหล้ กู จา้ งปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บงั คบั และคมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน
7. แนะนาฝึกสอน อบรมลกู จา้ งเพ่ือใหก้ ารปฏิบตั ิงานปลอดจากเหตอุ นั จะทาใหเ้ กิดความไม่ปลอดภยั
ในการทางาน
8. ตรวจวดั และประเมินสภาพแวดลอ้ มในการทางาน หรอื ดาเนินการรว่ มกบั บคุ คลหรือหน่วยงานท่ีขึน้
ทะเบียนกบั กรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงานเป็นผรู้ บั รองหรอื ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานรายงานใน
การตรวจสอบ สภาพแวดลอ้ มในการทางานภายในสถานประกอบกจิ การ
9. เสนอแนะต่อนายจา้ งเพ่ือให้มีการจดั การดา้ นความปลอดภยั ในการทางานท่ีเหมาะสมกับสถาน
ประกอบกจิ การ และพฒั นาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพอยา่ งต่อเน่อื ง
10. ตรวจสอบหาสาเหตุและวิเคราะหก์ ารประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุเดือดรอ้ น
ราคาญอนั เน่ืองจากการทางาน และรายงานผลรวมท้ังเสนอแนะต่อนายจา้ งเพ่ือป้องกนั การเกิดเหตุ
โดยไม่ชกั ชา้
11. รวบรวมสถิติวิเคราะห์ขอ้ มูลจัดทารายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตรายการ
เจบ็ ป่วยหรอื การเกิดเหตเุ ดือดรอ้ นราคาญอนั เน่อื งจากการทางานของลกู จา้ ง
12. ปฏิบตั ิงานดา้ นความปลอดภยั ในการทางานอ่นื ตามท่ีนายจา้ งมอบหมาย
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนิคสเ์ พ่อื ใชง้ านรว่ มกนั ภายในบริษัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ทีค่ วบคุมเอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แต่เพยี งบางส่วน หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษัทฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ไทยวนิ เิ ทค (2002) จากดั
เรือ่ ง : ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 11/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
1. กากบั ดแู ลเจา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภยั ในการทางานทกุ ระดบั ซง่ึ อย่ใู นบงั คบั บญั ชาของเจา้ หนา้ ท่ีความ
ปลอดภยั ในการทางานระดบั บรหิ าร
2. เสนอแผนงานโครงการดา้ นความปลอดภยั ในการทางานในหน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบตอ่ นายจา้ ง
3. ส่งเสรมิ สนบั สนุน และติดตามการดาเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภยั ในการทางานใหเ้ ป็นไปตาม
แผนงานโครงการเพ่ือใหม้ ีการจดั การดา้ นความปลอดภยั ในการทางานท่ีเหมาะสมกับสถานประกอบ
กจิ การ
4. กากบั ดแู ลและติดตามใหม้ ีการแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งเพ่ือความปลอดภยั ของลกู จา้ งตามท่ีไดร้ บั รายงาน
หรือตาม ขอ้ เสนอแนะของเจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางาน คณะกรรมการ หรือ หนว่ ยงานความ
ปลอดภยั
6.กฎระเบียบข้อบังคบั ท่ัวไปเกี่ยวกบั ความปลอดภัย
1. เช่ือฟังสญั ญาณและ/หรอื เครื่องหมายเตอื นดา้ นความปลอดภยั
2. เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ฯ และหวั หนา้ งานตอ้ งสอบสวน และรายงานอุบตั ิเหตุท่ีเกิดการบาดเจ็บ ตาย หรือ
เครื่องจกั รอุปกรณไ์ ดร้ บั ความเสียหายตลอดจนอาคารสถานท่ี ทุกครงั้ เป็นลายลกั ษณอ์ ักษรต่อผบู้ งั คับบญั ชา
ตามลาดบั ชน้ั อยา่ งละเอียด พรอ้ มทงั้ เสนอแนะวิธีการปอ้ งกนั และแกไ้ ข
3. กอ่ นท่จี ะเรม่ิ ทางานจะตอ้ งแน่ใจวา่ รูว้ ธิ ีท่จี ะใชเ้ ครอื่ งจกั รนน้ั ถา้ ยงั สงสยั ใหป้ รกึ ษาผบู้ งั คบั บญั ชา
4. ตอ้ งแจง้ ผบู้ งั คบั บญั ชาและ / หรือฝ่ายซ่อมบารุงทนั ทที ่ที ราบว่ามกี ารชารุดของเคร่ืองจกั รและอปุ กรณ์
5. บรเิ วณท่ตี ิดตงั้ เครือ่ งดบั เพลงิ และทางหนีไฟ ตอ้ งไมม่ สี ิ่งกีดขวาง
6. สวมใส่อุปกรณป์ ้องกนั อนั ตรายท่ีเหมาะสมทุกครงั้ ท่ีทางานในสถานท่ีท่ีเส่ียงอนั ตราย หรือในสถานท่ี มีป้าย
เตือน ใหส้ วมใส่อปุ กรณป์ ้องกนั นนั้ ๆ
7. เครื่องป้องกนั อนั ตรายท่ตี ิดมากบั เครือ่ งองมอื และเครอ่ื งจกั รตอ้ งไมถ่ อดออกขณะใชง้ านอยู่
8. หา้ มใชเ้ คร่อื งมือท่ไี ม่ถกู ตอ้ งกบั ชนดิ ของงาน
9. หา้ มซ่อมหรือดดั แปลงเครื่องจกั รโดยท่ีไม่มคี วามรูเ้ ก่ียวกบั เครื่องจกั ร
10. พนักงานทุกคนตอ้ งรูว้ ิธีดบั เพลิงการใชเ้ คร่ืององดบั เพลิงและตอ้ งรายงานผบู้ งั คับบัญชาทนั ทีท่ีพบว่ามีการ
ชารุด หรอื ถกู ใชไ้ ปแลว้
11. หา้ มสบู บหุ รใ่ี นบรเิ วณหา้ มสบู บหุ รี่เดด็ ขาด
12. หา้ มด่ืม เสพของมนึ เมา เขา้ มาปฏบิ ตั งิ านเดด็ ขาด
13. พนกั งานตอ้ งไมท่ างานโดยลาพงั ในสถานท่ที ่ีมีอนั ตราย
14. พนกั งานทกุ คนตอ้ งสวมใส่เครอ่ื งแบบพนกั งานท่ถี กู ตอ้ งรดั กมุ และสวมใสร่ องเทา้ ท่ีหมุ้ ห่อเทา้ มดิ ชดิ
15. เม่ือมอี บุ ตั ิเหตหุ รอื การประสบอนั ตรายจะตอ้ งแจง้ ตอ่ เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ฯ และหรือหวั หนา้ งาน ทนั ที
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนคิ สเ์ พ่อื ใชง้ านรว่ มกันภายในบริษัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมเอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กบั เอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แต่เพยี งบางสว่ น หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษัท ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เรอื่ ง : ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 12/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
7.ขอ้ ปฏบิ ัตเิ พื่อสุขภาพและความปลอดภัยในการทางาน
1. ตดิ บตั รแสดงตนตลอดเวลาการปฏบิ ตั งิ าน
2. ดแู ลสถานท่ที างานและสภาพแวดลอ้ มโดยรอบใหส้ ะอาดและเป็นระเบยี บดว้ ย หลกั การ 5 ส. อย่เู สมอ
3. ดูแลป้องกันตนเองโดยการตรวจสขุ ภาพเป็นประจาทกุ ปี และปฏิบตั ิตนตาม ประกาศดา้ นอาชีวอนามยั และ
ความปลอดภยั
4. สบู บหุ ร่ีเฉพาะในบรเิ วณท่ี บรษิ ทั จดั ไวใ้ หเ้ ท่านนั้
5. รบั ประทานอาหารในบรเิ วณท่บี รษิ ทั . จดั ใหเ้ ทา่ นนั้
6. ปิดสวติ ซห์ รือถอดปลก๊ั ไฟฟ้าหลงั การใชง้ านทกุ ครงั้
7. อยา่ ปฏิบตั ิงานท่มี คี วามเสี่ยงอนั ตรายในขณะท่รี า่ งกายไมพ่ รอ้ ม
8. หากพบเห็นสภาพแวดล้อมในการทางานท่ีไม่ปลอดภัย หรือสิ่งท่ีอาจทาให้เกิด อันตราย ให้รีบแจ้ง
ผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื หน่วยงานท่รี บั ผดิ ชอบทราบทนั ที
9. ใชอ้ ุปกรณ์ เคร่ืองมือใหถ้ ูกวิธีและเหมาะสมกับประเภทของงาน และสวมใส่ อุปกรณป์ ้องกันภัยส่วนบุคคล
ใหเ้ หมาะสมกบั ประเภทของงานท่กี าลงั ปฏิบตั ิ
10. หา้ มดดั แปลงแกไ้ ขอปุ กรณ์ เครือ่ งมือ เครื่องใชต้ า่ ง ๆ ท่อี าจทาใหเ้ กดิ อนั ตรายแก่ ตนเองหรอื ผอู้ นื่ ควรแจง้ ให้
หน่วยงานท่รี บั ผิดชอบมาดาเนินการให้
8.กฎระเบยี บความปลอดภัยในการทางานสาหรับผู้รับเหมา
1. ตอ้ งตดิ บตั รทกุ ครงั้ ท่เี ขา้ บรเิ วณบรษิ ัทฯ
2. ผรู้ บั เหมาจะตอ้ งเขยี น ใบขออนญุ าตในการทางาน ( Work Permit ) กอ่ นเร่มิ ปฏิบตั งิ าน
3. พนกั งานผรู้ บั เหมาเขา้ ทางานในเขตโรงงาน ตอ้ งแต่งกายใหร้ ดั กมุ เหมาะสม
4. หา้ มสวมใสร่ องเทา้ แตะและสวมกางเกงขาสนั้ เขา้ มาทางานในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ
5. ตอ้ งสวมใส่รองเทา้ นิรภยั อย่างถกู ตอ้ งกอ่ นเขา้ เขตปฏิบตั ิงาน
6."หา้ มสูบบหุ รี"่ ในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ ยกเวน้ พนื้ ท่ที ่จี ดั ใหเ้ ทา่ นนั้
7."หา้ มสมุ ไฟหรือกอ่ กองไฟ" ในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ ยกเวน้ ไดร้ บั อนญุ าตเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร
8."หา้ มพกพาอาวธุ " ทกุ ชนิด เขา้ มาในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ
9."หา้ มดมื่ ของมนึ เมา/ เสพยาเสพตดิ " เขา้ มาในบรเิ วณบรษิ ัทฯโดยเด็ดขาด
10.หา้ มก่อเหตทุ ะเลาะววิ าท" ภายในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ
11. ยานพาหนะทกุ ชนดิ ตอ้ งใชค้ วามเรว็ ไมเ่ กนิ 15 กม/ชม.
12. หา้ มจอดรถทงึ้ ไวใ้ นบรเิ วณพนื้ ท่หี า้ มจอด
13. ตอ้ งปฏบิ ตั ิตามป้ายเตือนตา่ งๆ อย่างเครง่ ครดั
14. ตอ้ งสวมใส่อปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายส่วนบคุ คลตามลกั ษณะงาน
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนิคสเ์ พือ่ ใชง้ านรว่ มกนั ภายในบริษัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทค่ี วบคมุ เอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แต่เพยี งบางสว่ น หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจ่ายไปยงั ภายนอกบรษิ ทั ฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษัท ไทยวนิ เิ ทค (2002) จากดั
เรื่อง : คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 13/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
15. หา้ มตดั หรือถอดหัวฉีดดับเพลิงหรือใชน้ า้ จากระบบดบั เพลิงโดยเด็ดขาดยกเว้นในกรณีฉุกเฉินหรือไดร้ บั
อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภยั ระดบั วิชาชีพ
16. หา้ มกระทาการท่ไี มป่ ลอดภยั ดงั ต่อไปนี้
16.1 ปฏบิ ตั ิงานโดยไมม่ หี นา้ ท่เี กี่ยวขอ้ ง
16.2 หยอกลอ้ เล่นกนั ขณะปฏบิ ตั งิ านกบั เครื่องจกั ร หรือบรเิ วณท่มี ีเคร่อื งจกั รทางานอยู่
16.3 ดดั แปลงแกไ้ ขอปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายของเคร่ืองจกั ร
16.4 ปฏิบตั ิงานโดยไมม่ ีการตระเตรยี มเพ่อื ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั
17. เม่ือเกดิ อบุ ตั เิ หตตุ อ้ งรายงานเบอื้ งตน้ ดว้ ยวาจาต่อผคู้ วบคมุ งาน รบั ทราบภายใน 24 ช่วั โมง
18. การปฏิบตั งิ านใดๆ ก็ตาม ท่พี จิ ารณาแลว้ เห็นวา่ เป็นการกระทาท่ไี ม่ปลอดภยั จป.วิชาชพี สามารถส่งั ใหห้ ยุด
ปฏิบตั ิงานและแกไ้ ขสภาพนน้ั ไดท้ นั ที
19. หากพบเห็นสภาพท่ีไม่ปลอดภยั ท่เี สี่ยงต่อการเกดิ อบุ ตั ิเหตแุ ละทรพั ยส์ นิ เสียหายใหแ้ จง้ ต่อผคู้ วบคุมงานใน
พนื้ ท่ี หรือ จป. วิชาชพี ทนั ที
20. กรณีท่ีเกิดเหตุการณร์ า้ ยแรง (สูญเสียอวยั วะ พิการ หรือเสียชีวิต) ขึน้ ถา้ ตรวจสอบแลว้ พบว่า ผรู้ บั เหมา
ไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบดา้ นความปลอดภัย ผูร้ บั เหมาจะตอ้ งรบั ผิดชอบต่อเหตุการณท์ ่ีเกิดขึน้ เองทั้งหมด
โดยท่บี รษิ ัทฯ ไมร่ บั ผดิ ชอบและไมเ่ กี่ยวขอ้ งใดๆ ทง้ั สนิ้
21. หา้ มถ่ายรูป ภาพยนตร์ หรือวดี ที ศั น์ ยกเวน้ จะไดร้ บั อนญุ าตจากผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ ง
22. หา้ มนอนหรือรบั ประทานอาหารหรอื ตงั้ ขวดเคร่อื งด่ืมไวใ้ นท่ที างาน
23. หลงั จากงานเสรจ็ แลว้ ตอ้ งจดั เกบ็ อปุ กรณเ์ ครื่องมือใหเ้ ป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย
24. ผรู้ บั เหมาจะตอ้ งปฏิบตั ิตามระเบียบขอ้ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั ตามท่ีแจง้ ประกาศใหท้ ราบ
9.นิยามศัพทอ์ าชวี อนามยั และความปลอดภัย
อบุ ตั ิเหตจุ ากการทางาน หมายถงึ เหตกุ ารณท์ ่เี กดิ ขนึ้ โดยไมค่ าดคดิ ไมไ่ ดต้ งั้ ใจ มีผลทาใหเ้ กิดการบาดเจบ็ พิการ
เสียชีวติ หรอื ทาให้ ทรพั ยส์ ินเสียหาย
โรคจากการทางาน หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่ วยท่ีเกิดขึน้ กบั ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน (Occupational Disease) โดยมสี าเหตุ
มาจากสภาพแวดลอ้ มในการทางานท่ี ไม่เหมาะสม สมั ผสั ส่ิงคุกคาม ลกั ษณะท่าทางการ ทางานท่ีไม่ถกู ตอ้ ง โดยอาการ
ของโรคหรือความ เจ็บป่วยเกิดขนึ้ ขณะปฏิบตั ิงานหรือหลงั จาก ทางานมาเป็นเวลานานหรอื ภายหลงั หยดุ การ ทางาน หรือ
ลาออก จากงานนนั้ ๆ แลว้ เชน่ โรค พิษตะก่วั โรคประสาทหเู ส่อื ม โรคปอดฝ่นุ ฝา้ ย ฯลฯ
โรคท่ีเก่ียวเน่ืองจากการทางาน หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่ วยท่ีเกิดขึน้ กับผู้ปฏิบัติงาน (Working Related
Disease) โดยมีสาเหตุจากปัจจยั หลายอย่างประกอบกัน และสาเหตทุ ่ีเก่ียวขอ้ งกบั งาน ปัจจยั หน่ึงของการ เกิดโรค เป็นผล
โดยออ้ มจากการทางาน เชน่ โรค ความดนั โลหิตสงู จากสาเหตคุ วามเครียด โรค กระเพาะอาหาร (พนกั งานท่ตี อ้ งทางานกะ
/ ลว่ งเวลาบอ่ ย ๆ) ฯลฯ
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พ่ือใชง้ านรว่ มกันภายในบรษิ ัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ท่คี วบคุมเอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางส่วน หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบริษทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษัท ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เร่ือง : คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 14/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
ความปลอดภยั ในการทางาน หมายถึง การกระทาหรอื สภาพการทางานซง่ึ ปลอดจาก สาเหตทุ ่ที าใหเ้ กิดอนั ตราย
การเจบ็ ป่วย การสญู เสยี หรือความเดือดรอ้ นราคาญ อนั เน่อื งมาจากการทางาน
อาชีวอนามยั และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน หมายถึง การดแู ลสขุ ภาพอนามยั ทง้ั ทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ และ
สงั คมตลอดจนสภาพแวดลอ้ มท่เี ก่ียวเน่อื งกบั การทางานของผปู้ ฏิบตั งิ าน
10. 5 ส. เพอื่ ความปลอดภัยในการทางาน
5 ส คือ เทคนิคหรือวิธีการจัดหรือปรบั ปรุงสถานท่ีทางาน หรือสภาพทางานใหเ้ กิดความสะดวก ความเป็น
ระเบียบเรียบรอ้ ย สะอาด หรือเออื้ อานวยใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการทางาน ความปลอดภยั และคณุ ภาพของงาน อนั เป็น
พนื้ ฐานในการเพมิ่ ผลผลติ
1. สะสาง = SEIRI (เซรี) = ORGANIZAION การจดั แยกระหว่างส่ิงท่ีจาเป็นตอ้ งใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน
กบั ส่งิ ของท่ไี มจ่ าเป็นตอ้ งใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานใหอ้ อกจากกนั อย่างชดั เจน
2. สะดวก = SEITON (เซตง) = NEATNESS การจดั สิ่งของท่ีจาเป็นตอ้ งใชใ้ นการปฏิบตั ิงานใหถ้ กู ท่ี
ถกู ทางเพ่อื ใหเ้ กดิ ความสะดวกในการหยิบใชง้ านมากท่สี ดุ
3. สะอาด = SIESO (เซโซ) = CLEANING การกาจดั สงิ่ สกปรก ฝ่นุ ละออง สงิ่ ไม่พงึ ประสงคใ์ หห้ มดไป
4. สุขลักษณะ = SEIKISO (เซเคทซี)=STANDARDIZATION การรกั ษาและปรบั ปรุงการปฏิบัติ 3 ส
แรก โดยกาหนดเป็นมาตรฐานและปฏบิ ตั ใิ หด้ ีขึน้ และรกั ษาใหด้ ตี ลอดไป
5. สร้างนิสัย = SHITSKE (ซทิ ซีเคะ) = DICIPLINE การมีความสามารถท่จี ะปฏิบตั ิในวธิ ีการตา่ ง ๆ ท่ี
สนบั สนนุ เพ่อื สรา้ งใหส้ ภาพภายในสถานท่ที างานเกิดอปุ นสิ ยั ท่ีดี และมีระเบยี บวินยั
11. ความสะอาดและความเป็ นระเบยี บเรียบร้อยของสถานทท่ี างาน
การปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมในการทางานอย่างต่อเน่ือง ทาใหส้ ถานท่ีทางานน่าอยู่ น่าทางาน เพ่ือเป็นการ
สง่ เสรมิ ใหพ้ นกั งานทกุ คนมีสขุ ภาพท่ดี ี มคี วามสขุ และความปลอดภยั ในการทางาน ควรปฏิบตั ดิ งั นี้
1. สถานท่ที างานและบรเิ วณโดยรอบ
- สะอาด ไม่ทงิ้ หรือปลอ่ ยปละละเลย และให้ มีขยะหรือเศษวสั ดเุ กลอื่ นกลาด
2. สภาพการทางานท่ปี ลอดภยั
- จดั เกบ็ ส่งิ ของเครอ่ื งใช้ เอกสารต่าง ๆ ใหเ้ ป็นระเบียบตามหลกั 5 ส.
-โตะ๊ เกา้ อี้ ตเู้ ก็บเอกสารจดั เก็บเขา้ ท่ใี หเ้ รยี บรอ้ ยหลงั เลกิ ใชง้ านแลว้ ทกุ วนั
-การเดินสายไฟ สายโทรศพั ทเ์ ป็นระเบยี บ เรียบรอ้ ย ไม่พาดหรือวางเกะกะและมีการ ปฏบิ ตั ิตาม
3. หลกั เกณฑก์ ารใชไ้ ฟฟ้าอย่าง ปลอดภยั
- มคี วามพรอ้ มในเรื่องของการป้องกนั อคั คภี ยั
4. สภาพแวดลอ้ มในสถานท่ที างานและ บรเิ วณโดยรอบ
-ไมม่ เี สียงดงั รบกวน การทางาน มีแสงสวา่ งพอเหมาะ
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พ่ือใชง้ านรว่ มกนั ภายในบรษิ ัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ทค่ี วบคมุ เอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กบั เอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พียงบางสว่ น หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบรษิ ทั ฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบรษิ ัท ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เรือ่ ง : คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 15/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
-มีการจดั ทศั นยี ภาพรอบ ๆ สถานท่ที างาน ใหร้ ม่ รนื่ (ปลกู ตน้ ไม้ จดั สวนหยอ่ ม ตกแต่ง บรเิ วณรอบ ๆ
ใหด้ สู ดช่นื )
-ไม่มมี ลพิษจากอากาศ ฝ่นุ ละออง สารเคมี ตา่ ง ๆ (ควนั บหุ ร่ี สเปรยน์ า้ หอม นา้ ยาทาความสะอาด)
12. ความปลอดภัยในสานกั งาน
12.1 พนื้ ทส่ี านักงาน
1. พนื้ สานกั งานควรมกี ารทาความสะอาดอยเู่ สมอ โดยเฉพาะบรเิ วณทางเดนิ และ มมุ อบั ตา่ ง ๆ
2. กรณีมีนา้ หรอื ส่งิ ท่อี าจทาใหเ้ กดิ การลน่ื หกลม้ ใหร้ ีบแจง้ พนกั งานมาทาความสะอาดพนื้ ทนั ทีระหว่าง
รอทาความสะอาดควรแสดงเครอ่ื งหมายเตอื นไวด้ ว้ ย
3. อย่าวางสง่ิ ของเกะกะบรเิ วณทางออก ช่องทางเดิน ประตู ทางออกฉกุ เฉิน
4. สายโทรศพั ท์ เครอ่ื งคดิ เลข เครื่องใชไ้ ฟฟ้า ควรติดตงั้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย ไมพ่ าดผา่ น ทางเดินหรือวางเกะกะ
5. บานประตูท่ีเปิด- ปิดสองบานควรติดเคร่ืองหมาย “ดงึ ” หรือ “ผลกั ” ใหช้ ัดเจน และควรปฏิบัติตาม
โดยเครง่ ครดั
6. ปิดลอ๊ คหนา้ ต่างทกุ ครงั้ หลงั เลิกงานแลว้ ทกุ วนั
7. บรเิ วณทางเขา้ -ออก หรอื มมุ หอ้ ง ควรเพ่ิมความระมดั ระวงั โดยมีป้ายหา้ มหรือ ปา้ ยเตอื นเพ่อื ป้องกนั
การเกดิ เหตชุ นกนั
12.2 บนั ได
1. บนั ไดขึน้ -ลง มีสภาพแขง็ แรง สะอาด ไม่มีสงิ่ ของวางกีดขวาง ติดแถบกนั ล่ืน ใหเ้ รียบรอ้ ย และมรี าว
บนั ไดราวกนั ตก
2. จดั ใหม้ พี รมหรอื ท่เี ช็ดเทา้ บรเิ วณเชงิ บนั ไดท่มี ีสภาพสมบรู ณแ์ ละปลอดภยั
3. ไม่ติดตงั้ ส่ิงท่ดี งึ ดดู ความสนใจ เช่น กระจกเงา ภาพโปสเตอร์ เครื่องตกแตง่ บรเิ วณบนั ได
12.3 โตะ๊ ทางาน – เก้าอี้ – ตูเ้ ก็บ – ชนั้ วางเอกสาร
1. การจดั วางโตะ๊ และตเู้ ก็บเอกสารตอ้ งไม่กีดขวางช่องทางเดินในขณะท่ีเปิดใชง้ าน และมีการตรงึ หรือ
ยดึ ใหม้ ีความม่นั คง แข็งแรง
2. ใหป้ ิดลนิ้ ชกั โต๊ะ ลนิ้ ชกั ตเู้ อกสารหรือประตตู ใู้ หเ้ รียบรอ้ ยทกุ ครงั้ เม่ือไมใ่ ชง้ านแลว้
3. ไมว่ างสิ่งของตา่ ง ๆ บนหลงั ตเู้ อกสารเพ่ือปอู งกนั สง่ิ ของตกหลน่ ลงมาเป็นอนั ตรายได้
4. ไม่จัดเก็บเอกสารในลิน้ ชกั ตู้ ช้นั มากเกินไป เพราะจะทาใหต้ ูห้ รือช้ันเสียการทรงตวั และลม้ ทับได้
ควรใส่ของหนกั ไวล้ นิ้ ชกั ล่างเพ่อื ถ่วงนา้ หนกั
5. ไม่ใชเ้ กา้ อีต้ ิดลอ้ มารองยืนเพ่ือหยิบหรอื วางสิ่งของ หรอื น่งั เอน/พิงพนกั เกา้ อใี้ หร้ บั นา้ หนกั เพียงขา้ ง
ใดขา้ งหนงึ่ เพราะอาจทาใหเ้ สียหลกั หงายหลงั ได้
6. ไม่ควรวางส่ิงของหรอื กล่องใตโ้ ต๊ะทางาน
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนคิ สเ์ พ่อื ใชง้ านรว่ มกันภายในบรษิ ัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมเอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางสว่ น หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษัทฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ไทยวนิ ิเทค (2002) จากดั
เร่ือง : คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 16/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
12.4 เคร่อื งใชส้ านักงาน
1. การเก็บปากกาหรือดินสอ ควรเอาปลายชลี้ งหรือวางราบในลนิ้ ชกั
2. หบุ ขากรรไกร ใบมดี คตั เตอรห์ รือของมีคมอ่ืน ๆ หลงั การใชง้ าน
3. แกะลวดเย็บกระดาษดว้ ยท่ีดงึ ลวด
4. การใชเ้ ครื่องตดั กระดาษ ตอ้ งระวงั นิว้ มือใหอ้ ย่หู ลงั จากใบมีดขณะท่ีตดั กระดาษ และหลีกเล่ียงการ
ตดั กระดาษจานวนมากพรอ้ มกนั ทีเดียว ในส่วนของใบมีดควรมี การด์ ครอบหรือลดใบมีดลงใหต้ ่าสดุ
อย่ายกคา้ งไวเ้ ม่ือไม่ใชง้ าน
5. ขอบกระดาษเป็นของมคี ม เวลาหยิบควรหยบิ ตรงมมุ อยา่ หยบิ ตรงขอบกระดาษ
6. เชด็ ทาความสะอาดโทรศพั ทบ์ นโต๊ะทางานอย่างสม่าเสมอ อย่าใหม้ กี ล่นิ หรอื ฝุ่น ละออง เพ่อื ป้องกัน
การแพรเ่ ชือ้ ทางลมหายใจ
13.การปฏบิ ัตงิ านอยา่ งปลอดภัย
13.1 ความปลอดภัยในการใช้เครือ่ งคอมพวิ เตอร์
1. ทา่ น่งั ปฏบิ ตั ิงานคอมพวิ เตอรท์ ่เี หมาะสม
- น่งั ศีรษะตงั้ ตรงหรือกม้ เล็กนอ้ ย ระดบั สายตาในแนวราบควรอย่รู ะดบั เดียวกบั ขอบบนของ
จอภาพ ไมห่ มนุ คอไปทางซา้ ยหรอื ทางขวา
- ระยะมองจอภาพควรอย่รู ะหวา่ ง 40- 60 ซม. (หรือประมาณ 1 ช่วงแขน)
- น่งั หลงั ตงั้ ตรงหรอื เอนไปดา้ นหลงั เล็กนอ้ ย (ถา้ มพี นกั พงิ หลงั )
- น่งั พงิ พนกั พงิ หลงั (โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ บรเิ วณหลงั สว่ นลา่ ง)
- น่งั ปฏบิ ตั ิงานโดยไม่บดิ หรอื เอียงตวั ไปทางซา้ ยหรือทางขวา
- แขนทอ่ นบนหอ้ ยแนบขนานกบั ลาตวั ไมน่ ่งั ยกไหล่หรือกางแขนออกทางดา้ นขา้ ง
- ไมว่ างแขนบนท่พี กั แขนขณะปฏบิ ตั งิ านกบั แป้นพิมพห์ รือเมาส์
- แขนท่อนล่างอย่ใู นแนวราบ (ขนานกับพืน้ ) และทามมุ ประมาณ 90 องศากับ แขนท่อนบน
(มมุ ท่ขี อ้ ศอก)
- มอื และแขนทอ่ นลา่ งอย่ใู นแนวเสน้ ตรงเดยี วกนั ไมง่ อขอ้ มอื ทงั้ แนวดงิ่ และ แนวราบ
- ไม่วางฝ่ามอื (หรือขอ้ มือ) บนลิน้ ชกั วางแป้นพิมพ์ แป้นพิมพ์ หรอื ท่ีพกั ฝ่ามือ ถา้ ไม่สามารถ
รกั ษาแนวเสน้ ตรงท่ขี อ้ มือได้
- ขาทอ่ นบนอยใู่ นแนวราบ (ขนานกบั พนื้ ) และทามมุ ประมาณ 90-110 องศากบั ลาตวั
- ขาท่อนล่างอยู่ในแนวด่ิง (ตั้งฉากกับพืน้ ) และทามุมประมาณ 90 องศากับขา ท่อนบน
(มมุ ท่หี วั เขา่ )
- วางเทา้ ทง้ั 2 ขา้ งบนพนื้ หรอื ท่พี กั เทา้ ไมว่ างเทา้ บนขาเกา้ อหี้ รอื เบาะน่งั
- ไม่ควรน่งั พบั ขาไวบ้ นเบาะน่งั หรือน่งั ไขว่หา้ ง ขณะปฏิบตั งิ านกบั เครอื่ ง คอมพวิ เตอร์
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พื่อใชง้ านรว่ มกันภายในบรษิ ัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ทคี่ วบคมุ เอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แต่เพยี งบางส่วน หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษัทฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบรษิ ัท ไทยวนิ ิเทค (2002) จากดั
เรอ่ื ง : ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 17/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
2. การจดั วางเครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ ่เี หมาะสม
- จดั ใหม้ ีพนื้ ท่ปี ฏิบตั ิงานอย่างเพยี งพอ ไม่วางสิง่ ของท่ีไมจ่ าเป็นในบรเิ วณงาน
- จัดวางอุปกรณ์ให้เป็นระเบียบ และวางอุปกรณ์ท่ีสาคัญและตอ้ งใชบ้ ่อยๆ ในตาแหน่งท่ี
เหมาะสมท่ีสดุ (เชน่ มองเหน็ ไดง้ า่ ยท่ีสดุ เออื้ มหยบิ ไดส้ ะดวก ท่สี ดุ เป็นตน้ )
- วางแป้นพิมพ์ (ส่วนแป้นพิมพต์ วั อักษร) อย่ตู รงหนา้ และหา่ งจากลาตวั เป็น ระยะใกลเ้ คียง
กบั ความยาวจากขอ้ ศอกถงึ ปลายนวิ้ มือ
- ระดบั แป้นพิมพค์ วรสงู ใกลเ้ คียงกับระดบั ขอ้ ศอก (เม่ือน่งั หลงั ตรงและหอ้ ย แขนตามสบาย
ขา้ งลาตวั
- ไมค่ วรกางขาแป้นพมิ พ์ เพราะทาใหต้ อ้ งงอขอ้ มือขนึ้ ในขณะปฏบิ ตั ิงานกบั แปน้ พิมพ์
- วางแป้นพิมพใ์ ห้ชิดขอบลิน้ ชักวางแป้นพิมพ์ ไม่วางแขนท่อนล่าง ข้อมือ หรือ ฝ่ ามือบน
ลนิ้ ชกั วางแป้นพมิ พ์
- วางเมาสใ์ หช้ ิดกบั แป้นพมิ พ์
- ใชแ้ ผ่นรองเมาส์ เม่ือปฏบิ ตั งิ านกบั เมาส์
- วางจอภาพตรงหนา้ ไมว่ างเยอื้ งไปทางซา้ ยหรอื ขวา
- ระดบั ขอบบนของจอภาพไม่ควรอยู่สูงกว่าระดบั สายตา (ขณะน่งั โดยท่ีหลงั และศีรษะตงั้
ตรงและมองตรงไปขา้ งหนา้ )
- วางจอภาพใหอ้ ยหู่ า่ งจากตาเป็นระยะประมาณ 2 ไมบ้ รรทดั (หรอื ประมาณ 1 ชว่ งความยาว
แขน)
3. ถา้ จาเป็นใหใ้ ชอ้ ุปกรณเ์ สรมิ เช่น เบาะน่งั เสรมิ ฐานเสรมิ ระดบั แป้นพิมพ์ ฐานเสรมิ ระดบั จอภาพ ท่ี
พกั เทา้ เป็นตน้
4. ถา้ ตอ้ งมองเอกสารขณะปฏิบตั ิงานกบั เครื่องคอมพิวเตอร์ ควรวางเอกสารบนท่ี วางเอกสาร จดั ให้
ตาแหนง่ อย่รู ะหวา่ งแป้นพิมพแ์ ละจอภาพ หรอื วางขา้ งจอภาพ
5. ควรหยุดพักการปฏิบัติงานกับเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ ม่ือทางานอย่างต่อเน่ือง 1 ช่วั โมง โดยระหว่าง
หยดุ พกั ไมค่ วรน่งั ท่โี ต๊ะทางาน ควรลกุ ขึน้ และเดินไป-มา และ บรหิ ารส่วนของรา่ งกายท่ใี ชง้ าน
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พ่ือใชง้ านรว่ มกันภายในบริษัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมเอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางสว่ น หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบรษิ ัทฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เรือ่ ง : คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 18/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
13.2 ความปลอดภยั ในการใช้เคร่อื งถ่ายเอกสารและเครอ่ื งพมิ พ์
1. ปิดฝาเคร่ืองใหส้ นิทก่อนเร่มิ ถ่ายเอกสารทุกครงั้ (เพ่ือป้องกนั แสงอัลตราไวโอเลต เขา้ ตา
หรือสมั ผสั ผิวหนงั มากเกินความจาเป็น ซ่งึ อาจทาใหเ้ กดิ อาการตาแดง ตมุ่ คนั มะเรง็ ผิวหนงั )
2. หลีกเล่ยี งการสดู โอโซนท่ปี ล่อยออกมาจากเครื่องถา่ ยเอกสาร (เพราะอาจทาใหเ้ กดิ อาการ
ออ่ นเพลยี ปวดศรี ษะ ระคายเคอื งจมกู /ปาก/คอ)
3. ควรตงั้ เครื่องถ่ายเอกสารและเคร่ืองพิมพใ์ นท่ีท่ีมีอากาศหมนุ เวียน หรือถ่ายเทได้ สะดวก
หรอื จดั วางใหไ้ กลห่างจากผปู้ ฏิบตั งิ านในพนื้ ท่นี นั้ ๆ เพ่อื ปอู งกนั การ ฟงุ้ กระจายของผงฝ่นุ
4. การเติมหมึกพิมพ์ (ผงคารบ์ อน ) ควรเทชา้ ๆ อย่าใหฟ้ ุ้งกระจาย และลา้ งมือให้ สะอาด
หลงั เตมิ หมึกแลว้ ทกุ ครงั้
5. พนกั งานหญิงท่กี าลงั มคี รรภค์ วรหลีกเล่ยี งการถา่ ยเอกสาร
6. บารุงรกั ษาเครื่องถา่ ยเอกสารและเคร่ืองพมิ พส์ ม่าเสมอ
13.3 ความปลอดภัยในการการยกเคลือ่ นยา้ ยวัสดดุ ้วยมอื
การยกเคล่อื นยา้ ยส่งิ ของตา่ งๆ เป็นสว่ นหนึ่งของงานท่ที กุ คนไดป้ ฏิบตั ิ และอบุ ตั เิ หตทุ ่ี พบ ส่วนใหญ่มกั
มสี าเหตเุ น่อื งมาจากการเคลอ่ื นยา้ ยท่ไี ม่ถกู วิธี ดงั นนั้ เพ่อื ป้องกนั อนั ตรายท่จี ะเกดิ ขนึ้ ควรปฏิบตั ดิ งั นี้
1. พิจารณาขนาด นา้ หนักและรูปรา่ งของวัสดทุ ่ีจะเคล่ือนยา้ ย ถา้ ยกคนเดียวไม่ไหว ใหข้ อ
ความชว่ ยเหลอื จากผรู้ ว่ มงาน
2. เขา้ ใกลว้ สั ดทุ ่จี ะเคล่ือนยา้ ย
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนคิ สเ์ พอื่ ใชง้ านรว่ มกันภายในบรษิ ัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทค่ี วบคมุ เอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พียงบางส่วน หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ไทยวนิ เิ ทค (2002) จากดั
เรอื่ ง : ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 19/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
3. วางเทา้ ใหอ้ ย่ใู นตาแหน่งท่ไี ดส้ มดลุ ยืนเทา้ แยกหา่ งกนั พอเหมาะ หากวสั ดวุ างอยู่ ในระดบั
ต่ากวา่ เอว ควรยืนใหช้ ดิ วสั ดกุ ่อนท่จี ะยกขึน้
4. น่งั ยอง ๆ หรือย่อตวั ลงโดยการงอเขา่ ควรใหห้ ลงั อย่ใู นแนวตรงงอไดเ้ ล็กนอ้ ย เพ่ือป้องกัน
การปวดหลงั
5. กม้ หนา้ เพ่อื มองดวู สั ดทุ ่จี ะยก
6. จบั ยึดวสั ดทุ ่จี ะยกใหม้ ่นั ทง้ั ฝ่ามือ
7. เงยหนา้ ขนึ้ หลงั ตรง ใชก้ ลา้ มเนอื้ แขนและกลา้ มเนอื้ ขายกวสั ดขุ นึ้ ยดื ขาใหต้ รง
8. ยกส่งิ ของขึน้ โดยใหแ้ ขนและศอกอยแู่ นบใกลต้ วั
9. หมนุ เทา้ และลาตวั ไปในทศิ ทางท่ตี อ้ งการ อย่าบดิ เอยี้ วตวั ในขณะยกเคลอ่ื นยา้ ย
13.4 ความปลอดภัยในการใชอ้ ปุ กรณไ์ ฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าแมม้ เี พยี งเล็กนอ้ ยอาจทาใหถ้ งึ แกค่ วามตายได้ จงึ ควรระมดั ระวงั ทกุ ครงั้ ท่ใี ชอ้ ปุ กรณ์
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า โดยปฏิบตั ดิ งั นี้
1. ตรวจอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า ก่อนการใชง้ านทุกครงั้ โดยใหต้ รวจดูว่าสายไฟ
ปล๊กั ขว้ั ต่อ ชารุด เปียกชืน้ หรอื ไม่
2. จดั เก็บสายไฟใหเ้ รยี บรอ้ ยขณะปฏิบตั งิ านและภายหลงั เลิกใชแ้ ลว้
3. อย่าใชเ้ ตา้ เสียบท่ไี มไ่ ดม้ าตรฐานหรือใชร้ ว่ มกนั มากเกนิ ไป
4. หา้ มใชเ้ คร่อื งมืออปุ กรณเ์ ครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า ขณะรา่ งกายเปียกนา้ เด็ดขาด
5. ปิดไฟและถอดปล๊กั อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าทง้ั ของตนเองและส่วนกลางทกุ ครงั้ เม่ือเลิกใช้
งานหรือภายหลงั จากเลกิ งานแลว้ ทกุ วนั
6. ศกึ ษาคมู่ ือการใชง้ านของเครอื่ งมอื เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าแต่ละชนิดใหเ้ ขา้ ใจกอ่ นใชง้ าน
7. เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าประเภทท่ีเกิดความรอ้ นอย่เู ป็นประจา เชน่ กระติกนา้ รอ้ น ควรจดั หาวสั ดทุ ่ี
ไมต่ ดิ ไฟ เชน่ กระเบอื้ ง หินออ่ น ฯลฯ ทาเป็นพนื้ รองเครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า ขณะใชง้ านทกุ ครงั้
8. พบอปุ กรณเ์ คร่ืองมือเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ชารุดเลิกใชท้ นั ที อยา่ พยายามซ่อมแซมเอง ใหร้ บี แจง้
ผรู้ บั ผิดชอบมาดาเนินการซ่อมแซมให้
9. ควรเก็บสายไฟใหเ้ ป็นระเบียบ ใชส้ าย ไฟใหถ้ ูกประเภท และมีการปฏิบตั ิตาม หลกั เกณฑ์
การใชไ้ ฟฟ้าอย่างปลอดภยั
10. สวติ ซส์ ายไฟ เตา้ รบั เตา้ เสยี บ ควรไดร้ บั การบารุงรกั ษาใหอ้ ย่ใู นสภาพดตี ลอดเวลา
11. การปฏิบตั ิงานท่ีเก่ียวกับไฟฟ้าหรือซ่อมแซมติดตงั้ ระบบท่ีเก่ียวกับไฟฟ้าตอ้ งมีผูป้ ฏิบตั ิ
อย่างนอ้ ย 2 คน
12. การชว่ ยเหลือผปู้ ระสบอนั ตราย หรือผถู้ ูกไฟดดู ใหต้ ดั กระแสไฟก่อน อยา่ เอามือ เปล่าจบั
ใหใ้ ชผ้ า้ ไม้ เชอื กท่แี หง้ ดงึ ผูบ้ าดเจ็บใหห้ ลดุ ออกมา ทาการปฐมพยาบาล เบอื้ งตน้
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนิคสเ์ พอ่ื ใชง้ านรว่ มกันภายในบรษิ ัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทีค่ วบคุมเอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กบั เอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทันทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางสว่ น หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบรษิ ทั ฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบรษิ ัท ไทยวนิ เิ ทค (2002) จากดั
เรอ่ื ง : คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 20/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
14. การใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล
อปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล (Personal Protection Equipment) หรือเรยี กสนั้ ๆวา่ พี พี อี (PPE) หมายถึง
อุปกรณท์ ่ีสวมใส่ปกคลมุ ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เพ่ือป้องกนั อนั ตรายท่ีอาจเกิดขึน้ เน่ืองจากสภาพและสิ่งแวดลอ้ ม
ในขณะปฏิบตั ิงาน โดยท่วั ไปในการทางานจะมีการป้องกนั และควบคมุ สภาพแวดลอ้ มของการทางานก่อน โดยการแกไ้ ข
ปรบั ปรุงทางวิศวกรรม เช่น การปรบั เปล่ียนเครื่องจกั ร เปลี่ยนวิธีการทางาน เป็นตน้ แต่ในกรณีท่ีไม่สามารถดาเนินการ
ดงั กลา่ วได้ จะตอ้ งใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกันอนั ตรายส่วนบคุ คลมาใชเ้ พ่อื ช่วยปอ้ งกนั อวยั วะของรา่ งกายไม่ใหเ้ กิดอนั ตรายท่ีอาจ
เกิดขนึ้ ในขณะปฏบิ ตั งิ าน
ประเภทของอุปกรณป์ ้องกนั อนั ตรายสว่ นบุคคล
1. อปุ กรณป์ ้องกนั ศีรษะ (Head Protection)
เป็นอุปกรณ์ท่ีใชส้ าหรบั ป้องกันศีรษะจากการถูกกระแทก หรือวัตถุจากท่ีสูงตกลงมากระแทก และ
ปอ้ งกนั อนั ตรายจากไฟฟ้าและสารเคมเี หลว ซง่ึ อปุ กรณป์ อ้ งกนั ศีรษะท่สี าคญั คอื หมวกนิรภยั (Safety Hat) และ
หมวกกนั ศีรษะชน (Bump Hat)
2. อปุ กรณป์ ้องกนั ดวงตา (Safety Glasses)
ใชส้ าหรบั ป้องกนั ดวงตาจากการกระแทกกับของแข็ง ป้องกนั สารเคมีหรือวตั ถกุ ระเด็นเขา้ ตาจนไดร้ บั
อนั ตรายในขณะปฏิบตั งิ าน
3.อุปกรณป์ ้องกนั หู (Ear Protection)
เป็นอปุ กรณท์ ่ใี ชส้ าหรบั ป้องกนั เสียงท่ดี งั เกนิ กวา่ ท่หี ูคนเราจะสามารถรบั ได้ คอื มรี ะดบั เสียงสงู เกนิ กว่า
85 เดซเิ บล (เอ) โดยหากระดบั เสยี งในขณะทางานสงู เกนิ กวา่ 130 เดซเิ บล (เอ) ถือวา่ เป็นอนั ตรายต่อการไดย้ ิน
ของหู ซง่ึ อปุ กรณป์ ้องกนั หทู ่สี าคญั และเหมาะสมกบั การใชง้ าน ไดแ้ ก่
4.ปล๊กั ลดเสยี ง (Ear Plug)
เป็นอุปกรณป์ ้องกันอนั ตรายจากเสียงท่ีดงั เกินไป โดยวสั ดทุ ่ีทาจากยาง พลาสติกอ่อน ทีมีขนาดพอดี
กบั รูหู สามารถลดเสยี งไดไ้ ม่นอ้ ยกวา่ 15 เดซิเบล (เอ)
5.ครอบหลู ดเสียง (Ear Muffs)
เป็นอุปกรณป์ ้องกันอนั ตรายจากเสียงแบบครอบหู โดยมีกา้ นโคง้ ครอบศีรษะและใชว้ สั ดุท่ีมีความนุ่ม
หมุ้ ทบั ในส่วนของตวั ครอบหนู น้ั ถกู ออกแบบใหม้ ลี กั ษณะแตกต่างกันตามการใชง้ าน และสามารถลดเสยี งไดไ้ ม่
นอ้ ยกว่า 25 เดซเิ บล (เอ)
6.อปุ กรณป์ ้องกันมือ (Hand Protection)
ในขณะปฏิบัติงานท่ีตอ้ งใชส้ ่วนของมือ นิว้ มือ และแขน น้ันมีความเสี่ยงอันตรายจากการสัมผัสกับ
ส่งิ ของ วสั ดอุ ปุ กรณ์ หรอื สารเคมีท่อี าจทาใหเ้ กดิ อนั ตายรา้ ยแรงได้ ดงั นนั้ จงึ จาเป็นตอ้ งมอี ปุ กรณป์ ้องกนั มอื ชนิด
ต่างๆ ซ่งึ ตอ้ งเลอื กใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะของงานดงั นี้
1.ถงุ มอื ยางกนั ไฟฟ้า: ใชส้ าหรบั งานท่ตี อ้ งสมั ผสั กบั กระแสไฟฟา้ เพ่อื ปอ้ งกนั ไฟฟ้าดดู ในขณะ
ปฏิบตั งิ าน
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พ่อื ใชง้ านรว่ มกันภายในบริษัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ท่ีควบคุมเอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางส่วน หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษัทฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เรือ่ ง : ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 21/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
2.ถุงมือกันความรอ้ น: อาจเป็นถุงมือหนงั หรือถุงมือผ้าขึน้ อยู่กับลักษณะของการทางาน โดยถุงมือ
จะตอ้ งมคี วามหนาและทนทานเม่ือใชส้ มั ผสั กบั วตั ถหุ รอื อปุ กรณท์ ่มี ีความรอ้ นจะตอ้ งไมฉ่ ีกขาด
3.ถุงมือยางชนิดไวนีลหรือนีโอพรีน ใชส้ าหรบั งานท่ีตอ้ งสมั ผัสสารเคมีท่ีมีฤทธิ์กัดกร่อนหรือซึมผ่าน
ผิวหนงั ได้
7. อุปกรณป์ ้องกนั เท้า (Safety Footwear)
ใชส้ าหรบั ป้องกนั อนั ตรายท่อี าจเกิดจากการกระแทก หรือวตั ถหุ รอื สารเคมีหกใสเ่ ทา้ รวมถึงปอ้ งกนั การ
สมั ผสั กบั กระแสไฟฟ้าจากการปฎิบตั ิงาน โดยรองเทา้ แบง่ ออกตามลกั ษณะของงาน ดงั นี้
1.รองเทา้ ปอ้ งกนั อนั ตรายจากไฟฟ้า: ใชส้ าหรบั งานท่ีตอ้ งสมั ผสั กบั กระแสไฟฟ้า สวมใสเ่ พ่อื ป้องกนั
ไฟฟ้าดดู ทาจากยางธรรมชาติ หรอื ยางสงั เคราะห์
2. รองเทา้ นิรภยั ชนดิ หวั รองเทา้ เป็นโลหะซง่ึ สามารถรองรบั นา้ หนกั ได้ 2500 ปอนด์ และทนแรง
กระแทกของวตั ถหุ นกั ท่ตี กจากท่สี งู 1 ฟตุ ได้ 50 ปอนด์
3. รองเทา้ ป้องกนั สารเคมี ทาจากวสั ดทุ ่ที นต่อการกดั กรอ่ นของสารเคมี เช่น ยางธรรมชาติ ไวนิล
นโี อพรนี หรอื ยางสงั เคราะห์
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนคิ สเ์ พ่อื ใชง้ านรว่ มกนั ภายในบริษัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมเอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทันทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางส่วน หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบรษิ ทั ฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบรษิ ทั ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เร่อื ง : ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 22/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
15. การป้องกนั และระงบั อัคคภี ยั
การป้องกนั และระงบั อคั คีภยั การปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั เป็นหนา้ ท่ขี องพนกั งานทกุ คนตอ้ งชว่ ยกนั ดแู ลและ
ปฏิบตั ิ ดงั นี้
1. หา้ มสบู บหุ รห่ี รอื ทาใหเ้ กิดประกายไฟบรเิ วณท่อี าจกอ่ ใหเ้ กิดอคั คีภยั ได้
2. หา้ มทงิ้ กน้ บุหร่ีหรือวตั ถทุ ่มี คี วามรอ้ นลงในตะกรา้ ถงั ขยะ หรอื สงิ่ รองรบั อน่ื ๆท่อี าจก่อใหเ้ กิดอคั คภี ยั
ได้
3. ตอ้ งทราบวิธีการปฏิบตั ติ นเม่อื มเี หตกุ ารณไ์ ฟไหมเ้ กดิ ขนึ้ ในบรเิ วณสานกั งาน อย่าต่ืนตกใจ ใหป้ ฏิบตั ิ
ตามแผนปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินท่ไี ดฝ้ ึกซอ้ มไว้
4. ตอ้ งทราบตาแหน่งและท่ตี งั้ ของอปุ กรณเ์ คร่ืองดบั เพลงิ ท่มี ใี ชอ้ ยใู่ นสานกั งาน ไดแ้ ก่สญั ญาณแจง้ เหตุ
เพลงิ ไหม้ เคร่ืองดบั เพลิงแบบมอื ถือ
5. เรียนรูว้ ิธีการใช้งานของอุปกรณ์ดับเพลิงแต่ละประเภทและสามารถนามาใช้งานได้ทันที เม่ือมี
เหตกุ ารณฉ์ กุ เฉินเกดิ ขึน้
6. หา้ มวางสิ่งของ วสั ดุ เอกสารในตาแหน่งท่ีจะเป็นอุปสรรคหรือกีดขวางการนาเครื่องดบั เพลิงมาใช้
งานอย่างสะดวกและรวดเรว็
7. ใหค้ วามรว่ มมือ เขา้ รว่ มในการฝึกซอ้ มดบั เพลิงและฝึกซอ้ มอพยพหนไี ฟ โดยพรอ้ มเพรียงกนั
8. พนักงานท่ีไม่มีหน้าท่ีรบั ผิดชอบในแผนปฏิบัติการฉุกเฉินตอ้ งรีบออกจาก ตัวอาคารโดยเร็วตาม
ขน้ั ตอนในแผนอพยพหนีไฟ และใหไ้ ปรวมกนั ท่ีจดุ รวมพล หา้ มหนีไปท่อี ื่น ทงั้ นีเ้ พ่ือจะไดต้ รวจและเช็ค
จานวนและทราบวา่ มผี ใู้ ดตดิ คา้ งอยู่ ในอาคารอีกหรอื ไม่
9. หา้ มนาเครอื่ งดบั เพลงิ มาฉีดเล่นหรือเลน่ หยอกลอ้ กนั
15.1 ขอ้ ควรปฏิบตั เิ มอ่ื มเี หตกุ ารณไ์ ฟไหม้เกดิ ขนึ้
1. เลือกใชถ้ งั ดบั เพลิงแบบมอื ถือท่เี หมาะสมกบั ประเภทของเพลิงท่เี กิดขนึ้ ดงั นี้
• ถงั ดบั เพลงิ ชนิดผงเคมีแหง้ (ถงั สแี ดง ) และชนิด สารสะอาด (ถงั สีเขียว) ใชด้ บั เพลิงไดท้ กุ
ประเภท
• ถงั ดบั เพลงิ ชนดิ CO2 (ถงั สีแดง) ใชด้ บั เพลิงไดท้ กุ ประเภท ยกเวน้ เพลิงท่เี กดิ จากวสั ดตุ ิดไฟ
ท่วั ไป เชน่ ไม้ ผา้ กระดาษ พลาสตกิ ฯลฯ
2. วิธีดบั เพลงิ ดว้ ยถงั ดบั เพลงิ แบบมอื ถือมี 4 ขน้ั ตอน คอื ดงึ ปลด กด สา่ ย
(1) ดงึ ทาการดงึ สายฉีดจากท่เี ก็บ
(2) ปลด มือหนง่ึ จบั ท่ถี งั อกี มอื หนง่ึ ทาการดงึ สลกั เพ่อื ปลดลอ็ ควาลว์ ท่หี วั ถงั
(3) กด ทาการกดกา้ นชิน้ บนหรือบีบกา้ นทง้ั สองชิน้ เขา้ หากนั เพอ่ื ทาการฉีดสารออกมา
(4) สา่ ย ในขณะท่ฉี ีดสารใส่ฐานของไฟจะตอ้ งทาการส่ายสายฉีดไปมาทง้ั ซา้ ยและขวาเพ่อื
กวาดตอ้ นและดกั ทิศทางการหนขี องไฟ จนเปลวไฟดบั สนิท
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พ่อื ใชง้ านรว่ มกันภายในบริษัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทีค่ วบคมุ เอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กบั เอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทันทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แต่เพียงบางสว่ น หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษทั ฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบรษิ ทั ไทยวนิ เิ ทค (2002) จากดั
เรอื่ ง : คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 23/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
3. เม่ือพบเหตเุ พลิงไหม้
(1) ตงั้ สติ แจง้ ผรู้ บั ผดิ ชอบดบั เพลิงขน้ั ตน้
(2) ดบั ไฟดว้ ยถงั ดบั เพลงิ (ถา้ ทาได)้
(3) แจง้ ศนู ยส์ ่ือสารและประชาสมั พนั ธ์ (กองประชาสมั พนั ธ์ กปส .) และดงึ สญั ญาณแจง้ เหตุ
เพลงิ ไหม้
(4) พนื้ ท่เี กดิ เหตดุ าเนินการอพยพทนั ที ส่วนพนื้ ท่อี น่ื ใหอ้ พยพ เมอ่ื ไดย้ ินเสยี ง ประกาศส่งั ให้
อพยพ
(5) รวมกลมุ่ ท่จี ดุ รวมพลรอการตรวจนบั
4. เม่ือไดย้ นิ เสยี งสญั ญาณแจง้ เหตเุ ตือนภยั
(1) อย่าตน่ื เตน้ ตกใจ! และอย่าหว่ งทรพั ยส์ ิน
(2) อพยพออกจากพนื้ ท่เี พ่อื ออกไปยงั เสน้ ทางหนไี ฟท่อี ยใู่ กลท้ ่สี ดุ โดยพยายาม สงั เกต
หลกี เล่ียงเสน้ ทางท่มี คี วนั หรือมคี วามรอ้ น
(3) ภายในบนั ไดหนไี ฟหา้ มวิง่ ควรใชว้ ิธีเดินเรว็ ซง่ึ จะเกิดความปลอดภยั ท่สี ดุ
(4) ในกรณีท่บี รเิ วณเสน้ ทางมีควนั ใหใ้ ชว้ ธิ ีหมอบราบและคลานบนพนื้
(5) การหนีไฟใหใ้ ชบ้ นั ไดเท่านน้ั หา้ มใชล้ ฟิ ตโ์ ดยเด็ดขาด
15.2 มาตรการป้องกันและระงับอัคคีภัย
เพ่ือใหช้ ีวิตและทรัพยส์ ินทงั้ หมดในสถานประกอบการมีความปลอดภัยจากอัคคีภยั ควรไดม้ ีการ
กาหนดมาตรการการป้องกันและระงับอัคคีภัย ดงั นี้
1.จัดใหม้ ีระเบียบป้องกันและระงบั อัคคีภัยทั้งดา้ นการจัดอุปกรณด์ ับเพลิงการเก็บรกั ษา
วัตถุไวไฟและวัตถุระเบิด การกาจัดของเสียที่ติดไฟง่าย การป้องกันฟ้าผ่า การติดตัง้
ระบบสัญญาณแจ้งแหตุเพลิงไหม้ การจัดทาทางหนีไฟ รวมถึงการก่อสรา้ งอาคารที่มี
ระบบป้องกันอัคคีภัย
2.จัดใหม้ ีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ทั้งในดา้ นการตรวจตรา การอบรม การรณรงค์
ป้องกันอัคคีภัยการดับเพลิง การอพยพหนีไฟ การบรรเทาทุกข์ และการปฏิรูปฟื้นฟูเม่ือ
เกิดอัคคีภัยขึน้ แลว้
3.จัดให้มีช่องทางผ่านสู่ทางออกตามมาตรฐานท่ีกฎหมายกาหนด
4.สาหรับบริเวณท่ีมีเครื่องจักรติดตัง้ อยู่ หรือมีกองวัตถุสิ่งของ หรือผนัง หรือส่ิงอื่นนั้นตอ้ ง
จัดใหม้ ีช่องทางผ่านสู่ทางออก ซ่ึงมีความกวา้ งตามมาตรฐานกฎหมายกาหนด
5.จัดให้มีทางออกทุกส่วนงาน อย่างนอ้ ยสองทางท่ีสามารถอพยพพนักงานทั้งหมดออก
จากบริเวณที่ทางาน โดยออกสู่ทางออกสุดท้ายไดภ้ ายในเวลาไม่เกินหา้ นาทีอย่าง
ปลอดภัย
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนิคสเ์ พอื่ ใชง้ านรว่ มกนั ภายในบริษัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ที่ควบคุมเอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางสว่ น หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจ่ายไปยงั ภายนอกบรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ไทยวนิ ิเทค (2002) จากดั
เร่อื ง : ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 24/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
6.ทางออกสุดท้าย ซ่ึงเป็นทางท่ีไปสู่บริเวณท่ีปลอดภัย เช่น ถนน สนาม ฯลฯ
7.ประตูท่ีใชใ้ นเสน้ ทางหนีไฟไดต้ ิดตัง้ ในจุดท่ีเห็นชัดเจนโดยไม่มีส่ิงกีดขวาง
8.ประตูท่ีใช้ในเสน้ ทางหนีไฟเป็นชนิดท่ีเปิดเขา้ ออกไดท้ ้ังนี้ชนิดหน่ึงดา้ นและสองดา้ น
9.ประตูท่ีใช้ในเสน้ ทางหนีไฟเป็นประตูท่ีเปิดออกภายนอก โดยไม่มีการผูกปิดหรือล่ามโซ่
ในขณะปฏิบัติงาน
10.จัดวัตถุท่ีเม่ือรวมกันแลว้ จะเกิดการลุกไหม้ โดยแยกเก็บมิใหม้ ีการปะปนกัน
11.จัดให้มีเสน้ ทางหนีไฟท่ีปราศจากจุดท่ีพนักงานทางาน ในแต่ละหน่วยงานไปสู่สถานท่ี
ปลอดภัย
12.จัดใหม้ ีอุปกรณด์ ับเพลิงแบบมือถือ และระบบนา้ ดับเพลิงพรอ้ มอุปกรณ์ประกอบ
13.จัดให้มีเครื่องดับเพลิงแบบมือถือท่ีใชส้ ารเคมีเพลิงชนิดคารบ์ อนไดออกไซด์ หรือฮา
รอน หรือผงเคมีแห้ง หรือสารเคมีดับเพลิงท่ีสามารถดับเพลิงประเภท เอ บี ซี และ ดี
14.มีการซ่องบารุง และตรวจตราใหม้ ีสารเคมีท่ีใช้ในการดับเพลิงตามปริมาตรท่ีกาหนด
ตามชนิดของเคร่ืองดับเพลิงแบบมือถือ
15.จัดให้มีการตรวจสอบสภาพของเครื่องดับเพลิงไม่น้อยกว่าหกเดือนต่อหน่ึงครงั้
16.จัดให้มีการตรวจสอบการติดตั้งให้อยู่ในสภาพท่ีดีอยู่เสมอ
17.จัดติดตัง้ อุปกรณด์ ับเพลิงในท่ีเห็นไดช้ ัดเจน และสามารถหยิบใช้งานไดส้ ะดวกโดยไม่
มีสิ่งกีดขวาง
18.ใหม้ ีการดูแลรักษาอุปกรณด์ ับเพลิง และการตรวจสอบให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานไดด้ ี
อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครงั้ หรือตามระยะเวลาท่ีผู้ผลิตอุปกรณน์ ั้นกาหนด
19.จัดให้พนักงานเขา้ รับการฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นตน้ จากหน่วยงานที่ทางราชการ
กาหนดหรือยอมรบั
20.จัดให้พนักงานท่ีทาหนา้ ท่ีดับเพลิงโดยเฉพาะอยู่ตลอดเวลาท่ีมีการทางาน
21.จัดใหม้ ีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่ใชใ้ นการดับเพลิง และการฝึกซอ้ ม
ดับเพลิงโดยเฉพาะ เช่น เสือ้ ผ้า รองเท้า ถุงมือ หมวก หนา้ กากป้องกันความรอ้ นหรือ
ควันพิษ เป็นตน้ ไว้เพ่ือให้พนักงานใช้งานการดับเพลิง
22.การป้องกันอัคคีภัยจากการทางานท่ีเกิดการเสียดสีเสียดทานของเคร่ืองจักรเครื่องมือ
ท่ีเกิดประกายไฟหรือความรอ้ นสูงท่ีอาจทาใหเ้ กิดการลุกไหม้ เช่น การซ่อมบารุง หรือหยุด
พักการใช้งาน
23.มีการจัดแยกเก็บวัตถุไวไฟ หรือวัตถุระเบิดรวมตลอดถึงวัตถุท่ีเมื่ออยู่รวมกันแลว้ จะ
เกิดปฏิกิริยา หรือ การหมักหมมทาให้กลายเป็นวัตถุไฟ หรือ วัตถุระเบิดมิให้ปะปนกัน
และเก็บในห้องที่มีผนังทนไฟ และประตูทนไฟที่ปิดไดเ้ อง และปิดกุญแจทุกครงั้ เมื่อไม่มี
การปฏิบัติงานในหอ้ งนีแ้ ลว้
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พอ่ื ใชง้ านรว่ มกันภายในบรษิ ัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ที่ควบคมุ เอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางส่วน หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษัทฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบรษิ ัท ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เรอ่ื ง : คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 25/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
24.วัตถุท่ีไวต่อการทาปฏิกิริยาแลว้ เกิดการลุกไดน้ ั้น ไดม้ ีการจัดแยกเก็บไว้ต่างหาก โดย
อยู่ห่างจากอาคารและวัตถุติดไฟในระยะท่ีปลอดภัย
25.ควบคุมมิใหเ้ กิดการร่ัวไหลหรือการระเหยของวัตถุไวไฟ หรือวัตถุระเบิดที่จะเป็น
สาเหตุให้เกิดการติดไฟ
26.มีการจัดทาป้าย “ห้ามสูบบุหร่ี” บริเวณหอ้ งเก็บวัตถุไวไฟ
27.จัดใหม้ ีการกาจัดของเสียโดยการเผาในเตาท่ีออกแบบสาหรบั การเผาโดยเฉพาะ ในท่ี
โล่งแจง้ โดยห่างจากท่ีพนักงานทางานในระยะท่ีปลอดภัย
28.จัดใหม้ ีสายล่อฟ้า เพ่ือป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า
29.จัดให้มีระบบสัญญาณแจง้ เหตุเพลิงไหมช้ นิดเปล่งเสียง ให้พนักงานที่ทางานอยู่
ภายในอาคารไดย้ ินท่ัวถึง
30.มีการทดสอบประสิทธิภาพในการทางานของระบบสัญญาณแจง้ เหตุเพลิงไหม้อย่าง
นอ้ ยเดือนละหน่ึงครงั้
31.จัดให้มีกลุ่มพนักงานเพื่อทาหนา้ ที่เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย และมี
ผูอ้ านวยการป้องกันและระงับอัคคีภัยเป็นผู้อานวยการในการดาเนินงานท้ังระบบประจา
อยู่ตลอดเวลา
32.จัดใหผ้ ู้มีหนา้ ที่เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยเขา้ รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการ
ป้องกันและระงับอัคคีภัย การใชอ้ ุปกรณ์ต่าง ๆ ในการดับเพลิง การปฐมพยาบาล และ
การช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน
33.จัดให้มีการฝึกซอ้ มอพยพพนักงานออกจากอาคารไปตามเสน้ ทางหนีไฟ
34.จัดให้มีการฝึกซอ้ มดับเพลิง และฝึกซอ้ มหนีไฟอย่างนอ้ ยปีละหนึ่งครงั้
16. การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล คอื การใหก้ ารพยาบาลชว่ ยเหลอื ขนั้ ตน้ โดยรบี ดว่ น แกผ่ ทู้ ่ไี ดร้ บั บาดเจ็บจากอบุ ตั ิเหตหุ รอื
เจบ็ ป่วย กะทนั หนั เพ่อื ใหผ้ บู้ าดเจ็บ/ผปู้ ่วยไดร้ บั อนั ตรายนอ้ ยท่สี ดุ ก่อนท่จี ะสง่ ถงึ มอื แพทย์
16.1 ขน้ั ตอนในการช่วยเหลอื ผู้ป่ วย
1.สติ
2. ประเมนิ สถานการณ์
3. ประเมินผบู้ าดเจ็บ
4. ทาการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้
5. การเคลอ่ื นยา้ ยผบู้ าดเจ็บ
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนิคสเ์ พ่ือใชง้ านรว่ มกนั ภายในบรษิ ัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ท่ีควบคุมเอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางส่วน หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจ่ายไปยงั ภายนอกบรษิ ัทฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ไทยวินเิ ทค (2002) จากดั
เรอื่ ง : ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 26/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
16.2 การตรวจสอบสภาพของผู้ป่ วย ทาไดโ้ ดย
ตรวจสอบ ผปู้ ่วยรูส้ กึ ตวั หรือไม่ ใชว้ ธิ ี
1. เรยี กช่อื ผปู้ ่วยใกลๆ้ หู
2. เขย่ามอื ผปู้ ่วยเบาๆ
ตรวจสอบ การหายใจ ใชว้ ธิ ี
1. ใชม้ อื องั ท่จี มกู ผปู้ ่วย เพ่อื สมั ผสั ลมหายใจ
2. จบั ชพี จรผปู้ ่วย ชีพจรของคนปกตอิ ย่ทู ่ี 60 -90 ครงั้ ตอ่ นาที หากชีพจรเตน้ เรว็ หรือชา้ กวา่
นี้ ถือว่าผดิ ปกติ (อาจจะอยใู่ นภาวะชอ็ ก)
- กรณีผปู้ ่วยรูส้ กึ ตวั ใหจ้ บั ชพี จรท่ขี อ้ มอื ขอ้ พบั แขน
- กรณีผปู้ ่วยไมร่ ูส้ กึ ตวั ใหจ้ บั ชพี จรท่ตี น้ คอสงั เกตการณก์ ระเพ่อื มของหนา้ อก เพ่อื
ดวู ่าหวั ใจยงั เตน้ อยหู่ รอื ไม่ และตอ้ งไมล่ ืมวา่ สิ่งสาคญั ท่สี ดุ คอื สญั ญาณชพี จร ผปู้ ่วยตอ้ งมี
ลมหายใจ ดงั นนั้ ตอ้ งชว่ ยใหผ้ ปู้ ่วยหายใจไดส้ ะดวกมากท่ีสดุ
สญั ญาณชีพ (VITAL SIGN)
การหายใจ : 12 – 20 ครงั้ / นาที
ชพี จร : 60 – 90 ครงั้ / นาที
อณุ หภมู ิ : 37 องศาเซลเซียส
ความดนั โลหติ : 120/80 ม.ม.ปรอท
90/60 – 140/90 ม.ม.ปรอท
ตรวจสอบ กรณีผปู้ ่วยมีบาดแผลเปิด หรือกระดกู หกั
สงั เกตดว้ ยสายตา วา่
- มีเลอื ดออก หรอื ไม่
- อวยั วะผดิ รูป หรอื ผิดปกติไปจากเดมิ หรอื ไม่
16.3 วธิ ีปฐมพยาบาล
การหา้ มเลอื ด
- เปิดสิง่ ปกปิดใหเ้ ห็นบรเิ วณแผลท่เี ลอื ดออก
- ใชผ้ า้ สะอาดกดลงบนบาดแผล
- ยกบรเิ วณท่เี ลือดออกใหส้ งู กวา่ ระดบั หวั ใจ
-ถา้ เลอื ดไมห่ ยดุ ใหก้ ดบรเิ วณเสน้ เลือดแดงใหญ่ท่ไี ปส่บู าดแผล
- กรณีเลือกออกซา้ ใหเ้ พมิ่ ความหนาของผา้ ท่กี ดแลว้ ใชผ้ า้ หรือผา้ ยืดพนั ทบั อกี ครงั้
-สง่ ต่อสถานพยาบาล
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเลก็ ทรอนิคสเ์ พอื่ ใชง้ านรว่ มกนั ภายในบริษัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ทีค่ วบคุมเอกสารก่อนนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แต่เพยี งบางสว่ น หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบริษัทฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษัท ไทยวินเิ ทค (2002) จากดั
เร่อื ง : คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 27/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
18. สัญลกั ษณท์ ต่ี ิดบนภาชนะบรรจสุ ารเคมีและวัตถุอันตราย(Hazardous Material)
United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods จาแนกสารท่เี ป็นอนั ตรายและเป็น
เหตใุ หถ้ ึงแกค่ วามตายไดห้ รอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความพนิ าศเสยี หาย ออกเป็น 9 ประเภท (UN-Class) ตามลกั ษณะท่กี ่อใหเ้ กดิ
อนั ตรายหรือความเส่ียงในการเกดิ อนั ตราย ดงั นี1้
ประเภท 1 - ระเบดิ ได้ (Explosives)
สารระเบดิ ได้ หมายถงึ ของแข็งหรือของเหลว หรือสารผสมท่ีสามารถ
เกดิ ปฏกิ ิรยิ าทางเคมีดว้ ยตวั มนั เองทาใหเ้ กดิ ก๊าซท่มี คี วามดนั และความรอ้ น
อย่างรวดเรว็ กอ่ ใหเ้ กดิ การระเบดิ สรา้ งความเสียหายแกบ่ รเิ วณโดยรอบได้ ซ่งึ
รวมถงึ สารท่ใี ชท้ าดอกไมเ้ พลงิ และสงิ่ ของท่รี ะเบดิ ไดด้ ว้ ย แบ่งเป็น 6 กลมุ่ ย่อย
คอื
1.1 สารหรือส่งิ ของท่กี ่อใหเ้ กดิ อนั ตรายจากการระเบดิ อยา่ งรุนแรงทนั ทีทนั ใดทง้ั หมด (Mass Explosive)ตวั อยา่ งเชน่
เชือ้ ปะทุ ลกู ระเบดิ เป็นตน้
1.2 สารหรือสิง่ ของท่มี อี นั ตรายจากการระเบดิ แตกกระจาย แตไ่ ม่ระเบดิ ทนั ทีทนั ใดทงั้ หมด ตวั อยา่ งเช่น กระสนุ ปืน
ท่นุ ระเบดิ ชนวนปะทุ เป็นตน้
1.3 สารหรือสงิ่ ของท่เี ส่ยี งตอ่ การเกดิ เพลงิ ไหม้ และอาจมีอนั ตรายบา้ งจากการระเบิดหรือการระเบดิ แตกกระจาย
แต่ไมร่ ะเบดิ ทนั ทีทนั ใดทงั้ หมด ตวั อยา่ งเชน่ กระสนุ เพลิง เป็นตน้
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนิคสเ์ พอ่ื ใชง้ านรว่ มกันภายในบริษัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ที่ควบคมุ เอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กบั เอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทันทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางส่วน หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษัทฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษัท ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เรือ่ ง : ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 28/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
1.4 สารหรอื สง่ิ ของท่ไี ม่แสดงความเป็นอนั ตรายอยา่ งเด่นชดั หากเกดิ การปะทหุ รอื ปะทใุ นระหวา่ งการขนสง่ จะเกดิ
ความเสียหายเฉพาะภาชนะบรรจุ ตวั อยา่ งเช่น พลอุ ากาศ เป็นตน้
1.5 สารท่ไี มไ่ วตอ่ การระเบิด แต่หากมีการระเบิดจะมอี นั ตรายจากการระเบิดทง้ั หมด
1.6 สิ่งของท่ไี วตอ่ การระเบดิ นอ้ ยมากและไม่ระเบิดทนั ทีทง้ั หมด มคี วามเส่ียงตอ่ การระเบดิ อยใู่ นวงจากดั เฉพาะใน
ตวั สง่ิ ของนน้ั ๆ ไม่มีโอกาสท่จี ะเกดิ การปะทหุ รือแผก่ ระจาย
ประเภทท่ี 2 ก๊าซ (Gases)
ก๊าซ หมายถงึ สารท่อี ณุ หภมู ิ 50 องศาเซลเซยี ส มีความดนั ไอมากกว่า 300
กโิ ลปาสกาล หรอื มีสภาพเป็นกา๊ ซอย่างสมบรู ณท์ ่อี ณุ หภมู ิ 20 องศาเซลเซยี ส และ
มีความดนั 101.3 กโิ ลปาสกาล ไดแ้ ก่ ก๊าซอดั กา๊ ซพษิ ก๊าซในสภาพของเหลว ก๊าซ
ในสภาพของเหลวอณุ หภมู ติ า่ และรวมถงึ ก๊าซท่ลี ะลายในสารละลายภายใตค้ วาม
ดนั เม่ือเกิดการร่วั ไหลสามารถกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายจากการลกุ ตดิ ไฟ และ/หรือเป็นพษิ
และแทนท่อี อกซิเจนในอากาศ แบ่งเป็น 3 กลมุ่ ยอ่ ย ดงั นี้
2.1 ก๊าซไวไฟ (Flammable Gases) หมายถึง ก๊าซท่ีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสและมีความดนั 101.3 กิโลปาสกาล
สามารถตดิ ไฟไดเม่ือผสมกบั อากาศ 13 เปอรเ์ ซน็ ต์ หรือต่ากว่าโดยปรมิ าตร หรือมชี ่วงกวา้ งท่สี ามารถติดไฟได้ 12
เปอรเ์ ซ็นตข์ ึน้ ไปเม่ือผสมกับอากาศโดยไม่คานึงถึงความเขม้ ขน้ ต่าสดุ ของการผสม โดยปกติก๊าซไวไฟหนักกว่า
อากาศ ตวั อยา่ งของก๊าซกล่มุ นี้ เชน่ อะเซทิลนี ก๊าซหงุ ตม้ หรือก๊าซแอลพจี ี เป็นตน้
2.2 ก๊าซไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ (Non-flammable Non-toxic Gases) หมายถงึ ก๊าซท่มี ีความดนั ไม่นอ้ ยกว่า 280 กิโล
ปาสกาล ท่ีอณุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส หรืออย่ใู นสภาพของเหลวอณุ หภูมิต่า ส่วนใหญ่เป็นก๊าซหนกั กว่าอากาศ
ไม่ติดไฟและไม่เป็นพิษ หรือแทนท่ีออกซิเจนในอากาศและทาใหเ้ กิดสภาวะขาดแคลนออกซิเจนได้ ตวั อย่างของ
ก๊าซกลมุ่ นี้ เช่น ไนโตรเจน คารบ์ อนไดออกไซด์ อารก์ อน เป็นตน้
2.3 ก๊าซพษิ (Poison Gases) หมายถงึ ก๊าซท่ีมีคณุ สมบตั เิ ป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพหรือถึงแก่ชวี ิตไดจ้ ากการหายใจ โดย
สว่ นใหญ่หนกั กว่าอากาศ มกี ล่นิ ระคายเคือง ตวั อย่างของก๊าซในกล่มุ นี้ เช่น คลอรนี เมทลิ โบรไมด์ เป็นตน้
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนิคสเ์ พอื่ ใชง้ านรว่ มกันภายในบริษัทฯ จะอยใู่ นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ท่ีควบคมุ เอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กบั เอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทันทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางส่วน หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรอื แจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษัท ไทยวินเิ ทค (2002) จากดั
เรื่อง : คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 29/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
ประเภทท่ี 3 ของเหลวไวไฟ (Flammable Liquids)
ของเหลวไวไฟ หมายถงึ ของเหลว หรือของเหลวผสมท่มี จี ดุ วาบไฟ
(Flash Point) ไม่เกิน 60.5 องศาเซลเซยี สจากการทดสอบดว้ ยวิธถี ว้ ยปิด
(Closed-cup Test) หรือไม่เกนิ 65.6 องศาเซลเซียสจากการทดสอบดว้ ย
วธิ ีถว้ ยเปิด (Opened-cup Test) ไอของเหลวไวไฟพรอ้ มลกุ ตดิ ไฟเม่ือมแี หลง่
ประกายไฟ ตวั อยา่ งเช่น อะซีโตน นา้ มนั เชอื้ เพลงิ ทนิ เนอร์ เป็นตน้
ประเภทที่ 4 ของแขง็ ไวไฟ สารทลี่ ุกไหม้ไดเ้ อง และสารทส่ี มั ผสั กบั นา้ แลว้ ใหก้ ๊าซไวไฟ
แบง่ เป็น 3 กล่มุ ย่อย ดงั นี้
4.1 ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids) หมายถึง ของแขง็ ท่ีสามารถติดไฟไดง้ ่ายจากการไดร้ บั ความรอ้ นจากประกาย
ไฟ/เปลวไฟ หรือเกดิ การลกุ ไหมไ้ ดจ้ ากการเสียดสี ตวั อย่างเช่น กามะถัน ฟอสฟอรสั แดง ไนโตรเซลลโู ลส เป็นตน้
หรือเป็นสารท่มี ีแนวโนม้ ท่จี ะเกดิ ปฏิกิรยิ าคายความรอ้ นท่รี ุนแรง ตวั อย่างเช่น เกลือไดอะโซเนียม เป็นตน้ หรือเป็น
สารระเบิดท่ถี กู ลดความไวต่อการเกดิ ระเบดิ ตวั อย่างเช่น แอมโมเนียมพิเครต (เปียก) ไดไนโตรฟีนอล (เปียก) เป็น
ตน้
4.2 สารท่ีมีความเส่ียงต่อการลกุ ไหมไ้ ดเ้ อง (Substances Liable to Spontaneous Combustion) หมายถึง สารท่ีมี
แนวโนม้ จะเกิดความรอ้ นขึน้ ไดเ้ องในสภาวะการขนส่งตามปกติหรือเกิดความรอ้ นสูงขึน้ ไดเ้ ม่ือสัมผสั กับอากาศ
และมีแนวโนม้ จะลกุ ไหมไ้ ด้
4.3 สารท่ีสัมผัสกับน้าแล้วทาให้เกิดก๊าซไวไฟ (Substances which in Contact with Water Emit Flammable
Gases) หมายถึง สารท่ีทาปฏิกิริยากับนา้ แลว้ มีแนวโนม้ ท่ีจะเกิดการติดไฟไดเ้ อง หรือทาให้เกิดก๊าซไวไฟใน
ปรมิ าณท่เี ป็นอนั ตราย
ประเภทที่ 5 สารออกซิไดซแ์ ละสารอนิ ทรยี เ์ ปอรอ์ อกไซด์
แบง่ เป็น 2 กลมุ่ ย่อย ดงั นี้
5.1 สารออกซิไดส์ (Oxidizing Substances) หมายถึง ของแขง็ ของเหลวท่ตี วั ของสารเองไม่ติดไฟ แต่ใหอ้ อกซิเจนซ่งึ
ชว่ ยใหว้ ตั ถุอ่ืนเกิดการลกุ ไหม้ และอาจจะก่อใหเ้ กิดไฟเม่ือสมั ผสั กับสารท่ีลกุ ไหมแ้ ละเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง
ตวั อย่างเชน่ แคลเซยี มไฮโปคลอไรท์ โซเดยี มเปอรอ์ อกไซด์ โซเดียมคลอเรต เป็นตน้
5.2 สารอินทรียเ์ ปอรอ์ อกไซด์ (Organic Peroxides) หมายถึง ของแข็ง หรือของเหลวท่ีมีโครงสรา้ งออกซิเจนสอง
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พือ่ ใชง้ านรว่ มกันภายในบริษัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางสว่ นหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมเอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กับเอกสารตน้ ฉบบั ทุกครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบบั นีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พียงบางส่วน หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจา่ ยไปยงั ภายนอกบริษทั ฯ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ไทยวินิเทค (2002) จากดั
เร่ือง : ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 30/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
อะตอม -O-O- และชว่ ยในการเผาสารท่ลี กุ ไหม้ หรือทาปฏกิ ริ ยิ ากบั สารอน่ื แลว้ ก่อใหเ้ กิดอนั ตรายได้ หรอื เม่ือไดร้ บั
ความรอ้ นหรอื ลกุ ไหมแ้ ลว้ ภาชนะบรรจสุ ารนอี้ าจระเบิดได้ ตวั อยา่ งเช่น อะซโี ตนเปอรอ์ อกไซด์ เป็นตน้
ประเภทที่ 6 สารพษิ และสารตดิ เชือ้
แบง่ เป็น 2 กลมุ่ ยอ่ ย ดงั นี้
6.1 สารพิษ (Toxic Substances) หมายถึง ของแข็. หรือของเหลวท่ีสามารถทาให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บรุนแรงต่อ
สขุ ภาพของคน หากกลืน สดู ดมหรือหายใจรบั สารนเี้ ขา้ ไป หรือเม่ือสารนไี้ ดร้ บั ความรอ้ นหรือลกุ ไหมจ้ ะปล่อยก๊าซ
พษิ ตวั อยา่ งเชน่ โซเดยี มไซยาไนด์ กลมุ่ สารกาจดั แมลงศตั รูพชื และสตั ว์ เป็นตน้
6.2 สารติดเชือ้ (Infectious Substances) หมายถึง สารท่ีมีเชือ้ โรคปนเปื้อน หรือสารท่ีมีตวั อย่างการตรวจสอบของ
พยาธิสภาพปนเปื้อนท่เี ป็นสาเหตขุ องการเกิดโรคในสตั วแ์ ละคน ตวั อยา่ งเชน่ แบคทเี รยี เพาะเชือ้ เป็นตน้
ประเภทท่ี 7 วัสดุกมั มนั ตรังสี
วสั ดกุ มั มนั ตรงั สี (Radioactive Materials) หมายถงึ วสั ดทุ ่สี ามารถ
แผ่รงั สที ่มี องไม่เห็นอยา่ งต่อเน่อื งมากกวา่ 0.002 ไมโครครู ีตอ่ กรมั ตวั อยา่ งเช่น
โมนาไซด์ ยเู รเนียม โคบอลต-์ 60 เป็นตน้
ประเภทท่ี 8 สารกัดกร่อน
สารกดั กรอ่ น (Corrosive Substances) หมายถงึ ของแขง็ หรอื ของเหลว
ซ่งึ โดยปฏิกิรยิ าเคมีมฤี ทธิ์กดั กรอ่ นทาความเสยี หายต่อเนอื้ เย่อื ของสิ่งมชี วี ิต
อยา่ งรุนแรง หรือทาลายสินคา้ /ยานพาหนะท่ที าการขนส่งเม่ือเกิดการร่วั ไหล
ของสาร ไอระเหยของสารประเภทนบี้ างชนดิ ก่อใหเ้ กดิ การระคายเคอื งต่อจมกู
และตา ตวั อย่างเชน่ กรดเกลอื กรดกามะถนั โซเดยี มไฮดรอกไซด์ เป็นตน้
ประเภทท่ี 9 วัสดอุ นั ตรายเบด็ เตลด็
วสั ดอุ นั ตรายเบ็ดเตลด็ (Miscellaneous Dangerous Substances and Articles)
หมายถงึ สารหรือสง่ิ ของท่ใี นขณะขนสง่ เป็นสารอนั ตรายซ่งึ ไมจ่ ดั อย่ใู นประเภทท่ี 1
ถงึ ประเภทท่ี 8 ตวั อยา่ งเช่น ป๋ ยุ แอมโมเนียมไนเตรต เป็นตน้ และใหร้ วมถงึ สารท่ตี อ้ ง
ควบคมุ ใหม้ อี ณุ หภมู ิไม่ต่ากว่า 100 องศาเซลเซยี สในสภาพของเหลว หรอื มอี ณุ หภมู ิ
ไมต่ ่ากวา่ 240 องศาเซลเซียสในสภาพของแขง็ ในระหวา่ งการขนส่ง
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จัดพิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนิคสเ์ พื่อใชง้ านรว่ มกนั ภายในบริษัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมเอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจบุ นั กบั เอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พียงบางสว่ น หรอื ทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจ่ายไปยงั ภายนอกบรษิ ัทฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบรษิ ัท ไทยวินเิ ทค (2002) จากดั
เร่ือง : คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน หนา้ ท่ี : 31/31
แกไ้ ขครงั้ ท่ี : 00
รหสั เอกสาร : วนั ท่ปี ระกาศใช้
20. ข้ันตอนการรายงานอุบตั เิ หตุ
พนักงาน
-หวั หนา้ กะ
-หวั หนา้ แผนก
-สอบถามและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ของการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ
-แจ้งให้ผ้บู ังคบั บัญชาทราบขอ้ มูลเบือ้ งตน้ เก่ียวกับอุบตั เิ หตุทเี่ กดิ ขนึ้ ภายใน 1 ชม.
และชีแ้ จงเป็ นลายลกั ษณอ์ ักษรภายใน 24 ช.ม
-แจ้งทมี ฉกุ เฉนิ ของบริษทั ฯเขา้ ระงับเหตุ
เหตุรุนแรง เหตุการณ์ เหตุไม่รุนแรง
-แจง้ หน่วยงานดับเพลงิ คณะกรรมการสอบสวนอุบตั ิเหตุ -จัดทมี ฉุกเฉิน
-แจง้ เจา้ หน้าทตี่ ารวจ ดาเนินการสอบสวนตามขั้นตอน -กภู้ ัยดาเนินการก้ภู ยั
-แจง้ โรงพยาบาล
ประเมินความเส่ียง
ส่งรายงานฉบบั สมบรู ณใ์ หก้ บั ผบู้ รหิ าร
และผวู้ ่าจา้ งภายใน 15 วนั และ
หน่วยงานราชการภายใน 30 วนั
เอกสารฉบบั นี้ “ตน้ ฉบบั ” จะถกู จดั พิมพใ์ นรูปแบบเอกสารกระดาษเท่านนั้ การเผยแพรเ่ อกสารอิเล็กทรอนคิ สเ์ พอ่ื ใชง้ านรว่ มกนั ภายในบริษัทฯ จะอย่ใู นรูปแบบ PDF File หากผใู้ ชง้ าน
เอกสารตอ้ งการพิมพเ์ อกสารฉบบั นี้ บางส่วนหรือทงั้ ฉบบั ออกจากระบบ Intranet ของบริษัท ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ท่ีควบคมุ เอกสารกอ่ นนาไปใชง้ าน และใหต้ รวจสอบความ
เป็นปัจจุบนั กบั เอกสารตน้ ฉบบั ทกุ ครงั้ ก่อนนาไปใชอ้ า้ งอิง และตอ้ งทาลายทิง้ ทนั ทีหากพบว่าเป็นเอกสารไม่เป็นปัจจุบนั เอกสารฉบับนีเ้ ป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไทยวินิเทค (2002)
จากดั หา้ มนาขอ้ มลู แตเ่ พยี งบางส่วน หรือทงั้ ฉบบั ไปเผยแพร่ หรือแจกจ่ายไปยงั ภายนอกบริษทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การบรษิ ัท ไทยวินิเทค (2002) จากดั