สรปุ ผลการดำเนนิ งาน
โครงการจดั กระบวนการเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
“เกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ส้วู ิกฤติ COVID-19”
วนั ท่ี 27 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564
ณ อาคารอเนกประสงค์ หมทู่ ่ี 6 ตำบลบา้ นตอ๋ ม
อำเภอเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา
จดั ทำโดย
นางวิลาวลั ย์ เมืองสวุ รรณ
ครู กศน.ตำบลบา้ นต๋อม
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองพะเยา
สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั พะเยา
สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ
ก
คำนำ
เอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ได้จัดทำขึ้นเพ่ือเป็นการสรุปกิจกรรมการดำเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน.ตำบล เพ่ือสนอง
นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นปรชั ญาที่พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำรัสช้ีแนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนาน
กว่า 30 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางแก้ไขให้รอดพ้น และ
สามารถดำรงชีวิตอย่ไู ด้อย่างม่ันคงและย่ังยืนภายใต้ความเปล่ียนแปลงต่างๆ ซง่ึ เป็นการสรา้ งงานสร้างรายได้แก่
ตนเองและชุมชน
บัดน้ี กศน. ตำบลบ้านต๋อม ได้จัดทำกิจกรรมตามโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง “เกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง สู้วิกฤติ COVID-19” เสร็จส้ินแล้ว จึงได้จัดทำสรุปโครงการ
เลม่ นี้ขนึ้ มาเพื่อรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน
กศน.ตำบลบ้านต๋อม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มน้ีจะได้สรุปการจัดกิจกรรมตรงตามวัตถุประสงค์
และเป้าหมายทีไ่ ด้วางไวแ้ ละจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผทู้ เ่ี ก่ยี วข้องและผ้ทู ี่สนใจตอ่ ไป
นางวลิ าวลั ย์ เมอื งสุวรรณ
ครู กศน.ตำบลบา้ นต๋อม
กรกฎาคม 2564
สารบัญ ข
คำนำ หนา้
สารบญั
บทท่ี 1 บทนำ ก
บทที่ 2 เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง ข
บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ การ 1
บทที่ 4 ผลการปฏิบตั งิ าน 3
บทท่ี 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ 7
ภาคผนวก 12
คณะผจู้ ดั ทำ 16
บทที่ 1
บทนำ
ความเปน็ มา
ตามภารกิจเร่งด่วน จุดเน้นการขับเคลื่อนงาน กศน. ของเลขาธิการ กศน. ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 ข้อ 1 น้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ “หนึ่งชุมชน หน่ึง
นวตั กรรมการพัฒนาชมุ ชนถน่ิ ไทยงามเพื่อความกินดี อยดู่ ี มงี านทำ โดยบูรณาการทำงานกจิ กรรมในพื้นท่ีใหต้ รง
ตามความต้องการและศักยภาพของบริบทชุมชน การส่งเสริมการทำเกษตรท่ีย่ังยืน การใช้ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงในการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกรในการปรับเปล่ียน
ระบบการผลิต ตลอดจนขยายพื้นที่ทำการเกษตรแบบผสมผสานมากขึน้ โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ จึง
เป็นโครงการที่มุ่งพัฒนาราษฎรผู้ยากไร้ให้มีฐานะความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น สามารถพึงพาตนเองได้ “พออยู่พอกิน”
และขณะเดียวกันก็เป็นการปูพ้ืนฐานไว้สำหรับ “ความกินดีอยู่ดี” ตลอดจนส่งเสริมการอนุรักษ์ธรรมชาติ การ
ปรับปรุงคุณภาพส่ิงแวดล้อม ซ่ึงในเร่ืองดังกล่าวน้ี สำนักงาน กศน. ได้น้อมนำแนวคิดดังกล่าว กำหนดเป็น
แนวทางในการจัดกิจกรรมที่มุ่งจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับประชาชน เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้รบั การเรียนรู้
การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ใหด้ ีขึน้ และเสรมิ สร้างการนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ไป
ประยุกตใ์ ช้กับตนเอง ครอบครวั และชมุ ชนได้
จากการรายงานข้อมูลในพ้ืนท่ขี อง รพสต.ตำบลบ้านต๋อม พบว่าประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
มีปัญหาด้านสุขภาพ ร่างกายของเกษตรกรมีสารเคมีตกค้างจำนวนมาก เกษตรกรส่วนใหญ่ได้รับสารพิษโดยการ
สูดดม สารเคมีท่ีปนเปื้อนกับอากาศ การสัมผัสทางน้ำ ทำให้เกิดภาวะระดับสารเคมีปนเป้ือนในเลือดสูง จน
เกษตรกรล้มป่วยจากโรคต่างๆ ที่เกิดกับเกษตรกรท่ีได้รับสารพิษแบบเฉียบพลัน เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว
ปวดกล้ามเนื้อ ท้องร่วง หายใจติดขัด ตาพร่า เป็นต้น และยังส่งผลให้ประชากรในชุมชนท่ีบริโภคผลผลิตของ
เกษตรกรก็ได้รับสารพิษ ซ่ึงสะสมโดยตรงจากการสัมผัส และการบริโภคอาหารท่ีมีสารพิษตกค้าง เกษตรกรจึง
เน้นการทำเกษตรกรรมธรรมชาติทางเลือก เช่น เกษตรอินทรีย์ หรือเกษตรปลอดภัยโดยใช้จุลินทรีย์จาก
ธรรมชาติแทนการใช้สารเคมี ซ่ึงรูปแบบดังกล่าวจะเกิดประโยชน์ตอ่ สุขภาพของผ้ผู ลิตเองและผู้บริโภครวมไปถึง
เป็นการรักษา ฟน้ื ฟูคุณภาพส่ิงแวดล้อมในชุมชน อีกท้ังยงั เป็นการลดต้นทุนการผลิตจากการใช้สารเคมีทม่ี ีราคา
สงู อีกด้วย จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควดิ -19 ในปี 2563- 2564 ซ่ึง ณ ปัจจุบันนับเป็น
โรคระบาดที่สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนท่ัวทั้งโลก รวมทั้งก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายและปัญหาในการจัดการ
ด้านสาธารณสุขเป็นอยา่ งมาก ประชาชนสว่ นใหญ่ไม่สามารถเดนิ ทางไปท่ีตา่ งๆ ไดส้ ะดวก จงึ จำเป็นต้องปลูกพืช
ผักตา่ ง ๆ โดยเฉพาะพชื สมุนไพรท่ีใช้ในการรักษาหรือบรรเทาอาการโรคไข้หวัดต่างๆ หรือพืชสมุนไพรไทยท่ชี ่วย
เสรมิ สรา้ งภูมคิ ้มุ กันในเบอื้ งต้น ไวก้ นิ เอง
กศน.ตำบลบ้านตอ๋ ม สงั กดั ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองพะเยา จึง
ส่งเสริมวิธีการลดค่าใช้รายจ่ายในครัวเรือนและส่งเสริมการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการ
ดำเนินชีวิต ในโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก
การผสมดินสำหรับปลูก การทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง และการทำฮอร์โมนไข่ เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้ตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นการกระตุ้น ปลูกฝัง ให้ประชาชนสามารถน้อมนำแนวพระราชดำรัส
“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ 9 ไปใชใ้ นการดำเนนิ ชีวิตให้เป็นปกติสุข ไม่ตก
เป็นทาสของ ความฟ้งุ เฟ้อ ฟ่มุ เฟอื ย มุ่งหวงั ใหป้ ระชาชนมคี วามสามารถในการวิเคราะห์ตนเอง แกป้ ัญหาได้ด้วย
ตนเอง และสามารถพ่งึ พาตนเองได้
วตั ถุประสงค์
1. เพอ่ื ใหก้ ลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจในการทำเกษตรอินทรยี ์ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียง และเกษตรทฤษฎใี หม่ และสามารถนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ใน
ชวี ิตประจำวันได้
2. เพือ่ ใหก้ ล่มุ เป้าหมายเกิดทักษะในการปลูกพชื สมนุ ไพร การบำรงุ รักษาสมุนไพร และการใชพ้ ืช
สมนุ ไพร ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ Covid - 19 ได้
เปา้ หมาย
เชงิ ปริมาณ
ประชาชนตำบลบา้ นต๋อม จำนวน 22 คน
เชิงคุณภาพ
ประชาชนตำบลบ้านต๋อม จำนวน 22 คน เกิดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กจิ กรรมทเ่ี สริมสร้างอุดมการณ์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความรูป้ ระสบการณ์ในการนำไปพัฒนา
ประกอบอาชีพ
ตัวชว้ี ัดผลลัพธ์
ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติท่ีดีต่อแนวปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน สามารถวางแผนการดำเนินงานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็น
แนวทางในการดำเนินชวี ติ และพัฒนาชุมชนอย่างสมดุลและยั่งยนื
การติดตามประเมนิ ผลโครงการ
- การนเิ ทศตดิ ตามผล
- แบบประเมินความพงึ พอใจ
- การสรปุ โครงการ
บทท่ี 2
เอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือ อะไร
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวทางการดำรงชีวิต และปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับตั้งแต่
ครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับรัฐท้ังในการดำรงชีวิตประจำวัน การพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ดำเนินไป
ใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพ่ือใหก้ า้ วหนา้ ตอ่ การเปลี่ยนแปลงของโลก
2. เศรษฐกิจพอเพียงเป็นอยา่ งไร
เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจท่ีสามารถอุ้มชูตัวเองได้ให้มีความพอเพียงกับตัวเอง (Self
Sufficiency) อยู่ได้โดยไม่สร้างความเดือดร้อนให้ตนเอง และผู้อื่น ซึ่งต้องสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเอง
ให้ดีเสียก่อนมีความพอกินพอใช้สามารถพึ่งพาตนเองได้ ย่อมสามารถ สร้างความเจริญก้าวหน้าและฐานะทาง
เศรษฐกจิ ของประเทศได้
3. ใครท่ีสามารถนำเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปฏิบัตไิ ด้
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวปรัชญาที่ทุกๆ คน สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ ไม่ว่าจะเป็นตัว
ท่านเอง นักเรยี น เกษตรกร ข้าราชการ และประชาชนทวั่ ไป ตลอดจนบริษทั ห้างร้าน สถาบันตา่ งๆ ท้ังนอกภาค
การเกษตรและในภาคการเกษตร สามารถนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังกล่าวไปปฏิบัติ เพื่อดำรงชีวิตและ
พัฒนาธุรกจิ การค้าได้จริง
4. หลักการดำเนนิ ชีวติ ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งต้องคำนึงถงึ อะไรบา้ ง
การดำเนนิ ชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงต้องต้ังอยูบ่ นพ้ืนฐานของ ทางสายกลาง และความไม่
ประมาท โดยคำนึงถึงหลักการ 3 ประการ ดงั นี้
1. ความพอประมาณ
2. ความมเี หตผุ ล
3. การสรา้ งภูมคิ ุ้มกันทด่ี ีในตัว
โดยการดำเนนิ งานเศรษฐกจิ พอเพียงที่ดีจะต้องอยภู่ ายใตเ้ งือ่ นไข
1. ความรู้ และคุณธรรม
ตลอดจนต้องเปน็ คนดี มีความอดทน พากเพียร
2. ความพอประมาณ หมายถึง การตดั สนิ ใจเก่ียวกบั การดำรงชีวติ
การดำเนนิ ธรุ กิจอย่างพอเพยี งตามความสามารถ และศักยภาพของตนท่ีมีอยู่ และต้องเปน็ ไปอย่างมี
เหตุผลที่เหมาะสมตลอดจนพึงนึกถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำน้ันๆ
3. การมภี มู ิคมุ้ กนั ที่ดใี นตัว
เป็นการเตรียมความพร้อม ความรู้ ท่ีจะรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงต่างๆท่ีจะเกิดข้ึนโดย
คำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เพื่อป้องกันและลด
ความเส่ยี งจากการเปล่ียนแปลง
5. การดำเนนิ ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งจะเกดิ ผลอย่างไร การดำเนนิ การพัฒนาตามแนวปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงจักนำไปสู่
1. การดำรงชีวติ ทสี่ มดุลมีความสุขตามอัตภาพ
2. การพฒั นาเศรษฐกจิ ของตนเองและประเทศชาติม่ันคง
3. การอยรู่ ่วมกนั ในสังคมเกิดวามเอือ้ อาทรซ่งึ กนั และกนั
นอกจากน้ี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไม่ได้ปฏิเสธการเป็นหน้ีสิน การกู้ยืมเงิน แต่เน้นการบริหาร
ความเส่ยี ง คือ แมว้ ่าจะกูย้ ืมเงนิ มาลงทุน กเ็ พ่ือดำเนนิ กจิ การที่ไม่ก่อใหเ้ กิดความเสี่ยงมากจนเกินไปแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียงไม่ได้ห้ามไม่ให้ลงทุนหรือขยายธุรกิจ แต่เน้นให้ทำธุรกิจท่ีไม่ให้เสี่ยงมากเกินไปควรลงทุน
ใหเ้ หมาะสมกบั ธุรกจิ ของตนเอง
เกษตรอินทรีย์คืออะไร
เกษตรอินทรีย์ คือการทำการเกษตรด้วยหลักธรรมชาติ บนพ้ืนที่การเกษตรท่ีไม่มีสารพิษ
ตกค้างและหลีกเล่ียงจากการปนเป้ือนของสารเคมีทางดิน ทางน้ำ และทางอากาศเพ่ือส่งเสริมความอุดสม
สมบูรณ์ของดิน ความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบนิเวศน์และฟื้นฟูส่ิงแวดล้อมให้กลับคืนสู่สมดุลธรรมชาติ
โดยไม่ใช้สารเคมีสงั เคราะห์หรือสิ่งที่ไดม้ าจากการตัดต่อพันธุกรรม ใช้ปจั จัยการผลติ ท่ีมีแผนการจัดการอย่างเป็น
ระบบในการผลิตภายใต้มาตรฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ให้ได้ผผลิตสูงอุดมด้วยคุณค่าทางอาหารและปลอด
สารพษิ โดยมีต้นทุนการผลิตต่ำเพือ่ คณุ ภาพชวี ติ และเศรษฐกจิ พอเพียง แก่มวลมนษุ ยชาติ และสรรพชีวิต
ทำไมต้องเกษตรอินทรยี ?์
การใช้ทรัพยากรดินโดยไม่คำนึงถึงผลเสียของ ปุ๋ยเคมีสังเคราะห์ ก่อให้เกิดความไมส่ มดุลในแร่
ธาตุและกายภาพของดินทำให้สิ่งมีชีวิตท่ีมีประโยชน์ในดินน้ันสูญหาย และไร้สมรรถภาพความไมาสมดุลนี้เป็น
อันตรายย่ิงกระบวนการนี้เม่ือเกิดขึ้นแล้ว จะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างต่อเน่ือง ผืนดินท่ีถูกผลาญไปน้ัน ได้
สูญเสียความสามารถในการดูดซับแร่ธาตุ ทำให้ผลผลิตมีแร่ธาตุ วิตามิน และพลังชีวิตต่ำเป็นผลให้เกิดการขาด
แคลนธาตุอาหารรองในพืช พืชจะอ่อนแอ ขาดภูมิต้านทานโรคและทำให้การคุกคามของแมลง และเช้ือโรค
เกิดข้ึนได้งา่ ยซ่ึงจะนำไปส่กู ารใชส้ ารเคมีฆ่าแมลงและเชื้อราเพ่ิมขึ้น ดนิ ท่เี ส่ือมคุณภาพน้ัน จะเร่งการเจริญเตบิ โต
ของวัชพืชให้แข่งกับพืชเกษตร และนำไปสู่การใช้สารเคมีสังเคราะห์กำจัดวัชพืช ข้อบกพร่องเช่นนี้ก่อให้เกิด
วิกฤติในห่วงโซ่อาหาร และระบบการเกษตรของเราซ่ึงทำให้เกิดปัญหาทางสุขภาพ และส่ิงแวดล้อมอย่างยิ่ง ใน
โลกปัจจุบันประเทศไทยนำเข้าสารเคมีสังเคราะห์ทางการเกษตรเป็นเงินปีละ 4-5 หม่ืนล้านบาท เกษตรกรต้อง
ซื้อปัจจัยการผลิตท่ีเป็นสารเคมีสังเคราะห์ในการเพาะปลูกทำให้การลงทุนสูง และเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่องขณะท่ี
ราคาผลผลิตในรอบยี่สิบปี ไม่ได้สูงข้ึนตามสัดส่วนของต้นทุนท่ีสูงข้ึนน้ันมีผลทำให้เกษตรกรขาดทุน มีหนี้สินล้น
พน้ ตัวเกษตรอนิ ทรียจ์ ะเปน็ หนทางของการแกป้ ญั หาเหล่านนั้ ได้
ผลผลิตพชื อนิ ทรียเ์ ปน็ อยา่ งไร?
- มรี ูปร่างดีสมส่วน
- มีสีสวยเป็นปกติ
- มีกลิน่ หอมตามธรรมชาติ
- มีโครงสรา้ งของเน้ือนุ่มกรอบแนน่
- มรี สชาติดี
- ไมม่ ีสารพิษตกค้าง
- เก็บรักษาไดท้ นทาน
- ใหส้ ารอาหารและพลงั ชีวติ
หลักการผลิตพืชอนิ ทรีย์
1. เลือกพื้นที่ท่ีไม่เคยทำการเกษตรเคมีมาไมน่ ้อยกว่า 3 ปี
2. เปน็ พื้นทที่ ค่ี ่อนขา้ งดอนและโลง่ แจ้ง
3. อยู่หา่ งจากโรงงานอุตสาหกรรม
4. อยูห่ ่างจากแปลงท่ีใช้สารเคมแี ละปยุ๋ เคมี
5. ห่างจากถนนหลวงหลกั
6. มีแหลง่ น้ำทีป่ ลอดสารพิษ
วธิ ที ำจลุ ินทรียส์ งั เคราะห์แสง
กระบวนการทำจลุ ินทรยี ์สังเคราะห์แสงนัน้ เราจะต้องนำอาหารมาเลยี้ งตัวจลุ ินทรีย์ โดยนำอาหารมา
เพาะเชื้อใสล่ งไปในขวดที่มีน้ำแล้วนำขวดท่ีมีอาหารและน้ำไปตงั้ ตากแดด โดยอาหารก็คือไขไ่ ก่นนั่ เอง เทา่ ท่ี
หาดูในอนิ เทอรเ์ น็ตนนั้ มมี ากมายหลายสตู ร ท้ังผสมนำ้ ปลาและผงชูรส หรือไม่ก็ตอ้ งนำแหล่งนำ้ มาจากธรรมชาติ
บ้าง
จุลนิ ทรยี ์สงั เคราะห์แสงคืออะไร
จลุ นิ ทรยี ์ทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ พชื เปน็ ส่งิ มีชีวิตขนาดเลก็ ท่ีพบได้ทว่ั ไปตามธรรมชาตทิ ้ังในดนิ และนำ้
ทำหน้าที่กำจัดของเสยี ก๊าซและสารพิษตา่ ง ๆ
ประโยชนข์ องจลุ ินทรีย์สงั เคราะหแ์ สง
ชว่ ยตรึงไนโตเจนในดิน เพ่มิ ไนโตเจนใหก้ บั พชื
เร่งการเจรญิ เตบิ โต ทำให้พืชแข็งแรงแล้วโตเรว็ เปน็ 3 เทา่
เม่อื ใชท้ างดนิ ทำให้รากพืชแข็งแรงและหาอาหารได้ดีขนึ้ ใช้กบั นาขา้ วช่วยเร่งการแตกกอของขา้ ว
ชว่ ยในการยอ่ ยธาตุอาหารและวตั ถอุ ินทรยี ์ในดิน เพื่อให้พชื ดูดซมึ ไปใชไ้ ด้อยา่ งง่ายดาย
ปอ้ งกนั พืชโดยการทำลายจุลินทรยี ์ไม่ดีในดิน ทีเ่ ปน็ สาเหตุท่ีทำใหเ้ กดิ โรคพืช
สิ่งที่ต้องเตรยี ม
นำ้ จากแหล่งน้ำธรรมชาติ
ขวดขนาด 1.5 ลิตรหรอื มากกวา่
ไขไ่ ก่ 1 ฟอง
นำ้ ปลายีห่ ้อใดก็ได้
วธิ ีทำจลุ ินทรยี ส์ ังเคราะหแ์ สง
1. ตอกไขใ่ ส่ถว้ ยแลว้ เตมิ นำ้ ปลาลง 1 ชอ้ นโต๊ะ คนให้เข้ากัน
2. นำนำ้ ใสข่ วดขนาด 1.5 ลิตรไปตากแดดประมาณ 4-5 วนั กอ่ นเติมไข่ไก่ทีเ่ ตรยี มไวล้ งไป 1 ช้อน
โตะ๊
3. นำไปตง้ั ไว้ในบรเิ วณกลางแจ้งที่มีแดดสง่ ถงึ ทุกวนั
การเล้ยี งไส้เดือน
การเลย้ี งไส้เดอื นดนิ เพ่อื ทำปุย๋ หมักมูลไส้เดือน ในกะละมัง
วสั ดุอปุ กรณ์
- กะลังมงั สีดำ ความกว้างประมาณ 1ศอก (ใบละไมเ่ กิน 20 บาท)
- ข้ีวัวแห้ง
- เก็บเศษฟาง หรือวสั ดุท่ปี นมากับข้ีววั ออกใหเ้ หลือแค่ขวี้ วั จรงิ ๆ
- ไส้เดือนดนิ พันธแุ์ อฟรกิ ันที่ใช้เล้ียงกันท่ัวไป ประมาณ 3 ขีด
- กากมะพร้าวสบั หรือใบไมแ้ ห้ง (ใบมะขามเทศ,ใบกา้ มปู)
วิธีและขนั้ ตอนในการเลย้ี ง กไ็ ม่แตกตา่ งกันกับการเลยี้ งในท่อซเี มนต์ แค่ลดปริมาณลง
นำกะละมังไปเจาะรูโดยใช้สวา่ น 2 หนุ เจาะใหท้ ัว่ กะละมัง เพื่อใหน้ ำ้ ไหลผ่านออกได้สะดวก นำขี้ววั มา
ทำการรดน้ำ ให้ขี้วัวเปียก เพ่ือล้างความร้อนของข้ีวัวและแก๊สออกให้หมด รดน้ำขี้วัว ประมาณ 1-2 อาทิตย์
แล้วแต่ความร้อนของข้ีวัว นำกากมะพร้าวสับมาผสม ประมาณ 30% ของข้ีวัว 70 % นำมาผสมให้เข้ากัน
มะพร้าวสับควรแช่นำ้ ก่อนเพ่ือล้างยางของมะพรา้ วออกไป ท่ผี สมกากมะพรา้ วผสม เพ่ือชว่ ยในการเพม่ิ ความเย็น
ให้กับขี้วัว ผสมเข้ากันแล้วนำไปใส่ในกะลังมัง ประมาณคร่ึงกะลังมัง ใส่ไส้เดือน 3 ขีด ลงบนขี้วัวผสมไว้ในกะ
ลังมัง แล้วนำไว้ในโรงเรือนที่เย็น โดยทำเป็นชั้นเหล็ก หรือช้ันท่อพีวีซีก็ได้ ไส้เดือนชอบความชื้นและเย็น รดน้ำ
ให้ความชืน้ กับไส้เดือน 3-4 วันต่อครั้ง ประมาณ 1ครึ่งหรือ2 เดือนเราก็จะได้ ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือน เต็มกะละมัง
สามารถนำไปใส่ พืช ผกั ผลไม้ หรอื จำหน่ายได้
สามารถให้อาหารเสริมได้ คือเศษผักที่เหลือใช้การทำครัว ให้หรือไม่ให้ก็ได้ เพราะไส้เดือนพันธ์ุแอฟรกิ ันกินข้ีวัว
เป็นอาหารหลกั อยแู่ ล้ว เราสามารถแยกพ่อพนั ธแุ์ มพ่ นั ธไุ์ สเ้ ดือนไว้ได้ โดยการคัดเอาไส้เดอื นท่ตี ัวโตๆ ไว้
ไส้เดือนดินเป็นสัตวท์ ี่ไม่มีกระดุกสันหลัง ไม่ชอบความร้อน เพราะฉนั้น มูลของไส้เดือนจึงเย็น สามารถนำไปรอง
หลุมทเ่ี ตรียมปลูกพชื ผักผลไมไ้ ด้เลย หรือใสเ่ ป็นปุย๋ แกต่ น้ ไมท้ ก่ี ำลังเจรญิ เติบโตไดด้ ี
เกษตรระบบผสมผสาน
ระบบเกษตรกรรมที่จะนำไปส่กู ารเกษตรย่ังยนื โดยมีรปู แบบท่ีดำเนินการมีลักษณะใกลเ้ คียงกนั และทำ
ให้ผู้ปฏบิ ตั มิ ีความสบั สนในการให้ความหมายและวิธปี ฏบิ ัตทิ ถ่ี ูกต้อง ไดแ้ กร่ ะบบเกษตรผสมผสานและระบบไรน่ า
สว่ นผสม ในทนี่ จี้ งึ ขอให้คำจำกดั ความรวมทงั้ ความหมายของคำท้ัง 2 คำ ดงั ตอ่ ไปน้ี
ระบบเกษตรผสมผสาน (Integrated Farming System) เปน็ ระบบการเกษตรที่มีการเพาะปลูกพชื
หรือการเล้ียงสัตว์ตา่ งๆ ชนดิ อยใู่ นพน้ื ท่ีเดยี วกนั ภายใต้การเก้อื กลู ประโยชนต์ อ่ กนั และกันอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
สงู สดุ โดยอาศัยหลักการอยรู่ วมกันระหว่างพชื สัตว์ และสงิ่ แวดลอ้ มการอยรู่ วมกันอาจจะอยู่ในรปู ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งพชื กับพืช พืชกับสัตว์ หรอื สตั ว์กับสตั วก์ ไ็ ด้ ระบบเกษตรผสมผสานจะประสบผลสำเร็จได้ จะต้องมีการ
วางรปู แบบและดำเนินการโดยใหค้ วามสำคญั ต่อกจิ กรรมแต่ละชนิดอยา่ งเหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มทางกาย
ภาพ เศรษฐกจิ สังคม มีการใชแ้ รงงาน เงินทุน ทด่ี ิน ปัจจัย การผลิตและทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี
ประสิทธภิ าพ ตลอดจนรจู้ ักนำวสั ดุเหลอื ใช้จากการผลติ ชนิดหน่งึ มาหมุนเวยี นใช้ประโยชนก์ บั การผลิตอีกชนดิ
หนึง่ กับการผลติ อีกชนดิ หนึง่ หรือหลายชนิดภายในไรน่ าแบบครบวงจร ตัวอย่างกิจกรรมดงั กลา่ ว เชน่ การเลย้ี ง
ไก่ หรอื สุกรบนบ่อปลา การเลีย้ งปลาในนาข้าว การเล้ียงผึ้งในสวนผลไม้ เปน็ ตน้
วธิ ีการแบง่ สดั สว่ นกจิ กรรมเกษตรระบบผสมผสาน
เกษตรผสมผสานเปน็ แนวทางหรอื หลกั ในการบริหารจัดการทีด่ ินและน้ำ เพือ่ การเกษตรในท่ดี ินขนาด
เล็กใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสดุ ดว้ ยหลักเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ได้พระราชทานพระราชดำริ
นเ้ี พือ่ เปน็ การช่วยเหลอื เกษตรกร การจัดการพ้นื ท่ีแบ่งได้เป็น 4 ส่วน คือ
30 : 30 : 30 : 10 ดังนี้
ขดุ สระเก็บกกั นำ้
พ้ืนที่ประมาณ 30% ให้ขุดสระเกบ็ กกั นำ้ เพ่ือให้มนี ำ้ ใช้ สมำ่ เสมอตลอดปี โดยเก็บกักน้ำฝนในฤดฝู น
และใชเ้ สริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง หรอื ระยะฝนทงิ้ ชว่ ง ตลอดจนการเลีย้ งสตั ว์ และพชื น้ำตา่ งๆ เช่น ผักบุง้ ผัก
กระเฉด โสน ฯลฯ
ปลกู ข้าว
พ้ืนที่ประมาณ 30 % ให้ปลูกขา้ วในฤดฝู น เพ่ือใชเ้ ปน็ อาหารประจำวันสำหรับครัวเรอื นใหเ้ พยี งพอ
ตลอดปี โดยไม่ต้องซื้อหาในราคาแพง เปน็ การลดค่าใช้จา่ ย และสามารพ่ึงตนเองได้
ปลูกผลไม้ ไมย้ นื ต้น พชื ไร่ พืชผัก
พื้นทีป่ ระมาณ 30 % ใหป้ ลูกไมผ้ ล ไมย้ นื ต้น พืชไร่ พชื ผกั พืชสมุนไพร ฯลฯ อยา่ งผสมผสานกนั และ
หลากหลายในพ้ืนท่ีเดียวกัน เพอ่ื ใชเ้ ปน็ อาหารประจำวนั หากเหลือจากการบรโิ ภคก็นำไปขายได้
เป็นท่อี ยู่อาศยั และอ่ืนๆ
พ้นื ท่ปี ระมาณ 10 % ใชเ้ ปน็ ท่ีอยู่อาศัย เล้ยี งสตั ว์ ถนนหนทาง คนั ดนิ โรงเรือนและสง่ิ ก่อสร้างอื่นๆ
รวมทงั้ คอกเล้ียงสัตว์ เรือนเพาะชำ ฉางเก็บผลิตผลการเกษตร ฯลฯ นีเ่ ปน็ ทฤษฎปี ฏบิ ตั จิ รงิ พ้ืนท่ีเป็นนาทง้ั หมด
หรอื ไร่สวนดว้ ย
ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั จากการทำเกษตรผสมผสาน
ระบบเกษตรผสมผสานเปน็ รูปแบบหน่ึงของระบบเกษตรกรรมทม่ี ีกจิ กรรมตง้ั แต่ 2 กจิ กรรมขน้ึ ไปใน
พ้นื ทีเ่ ดียวกนั และกจิ กรรมเหลา่ น้จี ะมกี ารเก้ือกลู ประโยชน์ซ่ึงกนั และกนั ไมท่ างใดก็ทางหน่ึง ดังนัน้ จึงเปน็ ระบบ
ทน่ี ำไปสู่ การเกษตรแบบยัง่ ยืน (Sustainable Agriculture) จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลดีและประโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ
ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ลดความเส่ยี งจากความแปรปรวนของสภาพลม ฟา้ อากาศ จากปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ีม่ ีความ
แปรปรวนในแต่ละปี
2. ลดความเสี่ยงจากความผันแปรของราคาผลผลิต ในการดำเนินระบบการเกษตรท่ีมีเพียงกิจกรรม
เดียว ทีม่ กี ารผลติ เปน็ จำนวนมาก
3. ลดความเส่ียงจากการระบาดของศัตรูพืช ในการดำเนินกิจกรรมการปลูกข้าว หรือพืชไร่เพียงอย่าง
เดยี ว
4. ช่วยเพิ่มรายได้และกระจายรายได้ตลอดปี การดำเนินระบบเกษตรผสมผสานซ่ึงมีกิจกรรมหลาย
กจิ กรรม ในพ้ืนทเ่ี ดยี วกัน จะกอ่ ประโยชน์ในดา้ นทำใหเ้ กษตรกรมีรายไดเ้ พ่ิมขึ้นและมรี ายได้อยา่ งต่อเนื่อง
5. ช่วยกอ่ ให้เกิดความหลากหลายทางชีวพันธุ์ (Species Diversity) การดำเนินระบบเกษตรผสมผสาน
ซึง่ จะมีกจิ กรรมหลากหลายในพื้นท่เี ดยี วกนั
6. ช่วยกระจายการใช้แรงงาน ทำให้มีงานทำตลอดปี เป็นการลดปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงานออก
นอกภาคการ เกษตร และในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำของประเทศ
7. ชว่ ยก่อใหเ้ กดิ การหมนุ เวียน (Recycling) ของกิจกรรมต่าง ๆ ในระดบั ไร่นา
8. ชว่ ยให้เกษตรกรมีอาหารเพยี งพอต่อการบรโิ ภคภายในครวั เรือน
9. ช่วยทำให้คณุ ภาพชีวติ ของเกษตรกรดีขึ้น
สรุป
เกษตรผสมผสาน คือ ระบบการเกษตรท่ีมีการปลูกพืชและหรือมีการเล้ียงสัตว์หลายชนิด ในพื้นที่
เดียวกนั โดยท่ีกจิ กรรมแตล่ ะชนดิ จะตอ้ งเกอื้ กลู ประโยชนต์ อ่ กันได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ เปน็ การใช้ทรัพยากรที่มี
อยู่อย่างเหมาะสมเพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีความสมดุลของสภาพแวดล้อมและเพิ่มพูนความอุดมสมบูรณ์
ของทรัพยากรธรรมชาติ
เป็นกระบวนการท่ีมีการจัดการอย่างมีระบบสามารถนำไปบูรณาการใช้ได้กับทุกพื้นท่ีและทุกภูมิศาสตร์
เปน็ แนวคดิ ทีท่ ำได้จริง แก้ปญั หาไดจ้ ริงและสามารถพฒั นาคุณภาพชีวติ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
บทที่ 3
วิธดี ำเนินการ
3.1 ขัน้ ตอนดำเนินการ
3.1.1 ประชมุ ผูท้ เี่ กีย่ วขอ้ ง เพอ่ื ช้แี จงวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
3.1.2 เสนอขออนมุ ัตโิ ครงการ
3.1.3 ประสานงานเครือข่าย
3.1.4 ดำเนินการจัดโครงการ
3.1.5 วัดผลประเมนิ ผลโครงการ/สรปุ โครงการเปน็ รปู เล่ม
3.1.6 นำผลประเมินโครงการมาปรับปรงุ แกไ้ ขในครงั้ ต่อไป
- กิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ “เกษตรอินทรีย์ วิถีแห่งความพอเพียง” เพื่อขับเคล่ือนการดำเนินงานด้าน
เศรษฐกจิ พอเพียงระดบั ตำบล
3.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
ประชาชนทว่ั ไป ตำบลบา้ นต๋อม เขา้ ร่วมโครงการ จำนวน 22 คน
เชงิ ปรมิ าณ ประชาชนทัว่ ไป ตำบลบา้ นตอ๋ ม เขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 22 คน
เชงิ คณุ ภาพ ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายที่เขา้ ร่วมโครงการ เกิดการเรยี นรู้ตามแนวปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและกระบวนการเรียนรู้ “เกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง สู้วิกฤติ
COVID-19” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความรู้ประสบการณ์ในการ
นำไปประกอบอาชีพ
3.3 เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ ผล
3.3.1 เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการประเมินผลความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรม
โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “เกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง สู้
วกิ ฤติ COVID-19” กจิ กรรมครั้งน้เี ปน็ แบบสอบถาม ซงึ่ ประกอบด้วย 3 ตอน คือ
ตอนท่ี 1 สถานภาพทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ข้อมลู ความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรม โครงการ
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ และส่งิ ท่พี ึงพอใจ
3.3.2 วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
1. แจกแบบสอบถาม
2. ช้แี จงการตอบแบบสอบถาม
3. เกบ็ รวบรวมแบบสอบถาม
3.4 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม แล้วเสนอเป็นตาราง และ
แผนภมู ิ ประกอบคำอธิบาย
ตอนที่ 2 แบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรมเป็นแบบปรนัย จำนวน 10 ข้อ ตาราง
เปรียบเทียบผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบความรกู้ ่อนและหลงั การอบรมของผู้เขา้ รับการ
ตอนที่ 3 วิเคราะหข์ ้อมลู ความคิดเห็นเกี่ยวกับความพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรม
โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “เกษตรอินทรีย์ วิถีแห่งความ
พอเพียง” นำข้อมลู มาวิเคราะหโ์ ดยแจกแจงความถีแ่ สดงเป็นตาราง ประกอบคำอธิบายซง่ึ กำหนดคา่ คะแนนจาก
แบบสอบถามไว้ 5 ระดบั คอื
ความคิดเห็น คะแนน
มากที่สุด 5
มาก 4
ปานกลาง 3
นอ้ ย 2
น้อยท่ีสุด 1
3.5 สถติ ิทใี่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
1. ร้อยละ 80 มคี วามรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงศูนย์เศรษฐกจิ พอเพียง
บทที่ 4
ผลการปฏิบตั ิงาน
จากการจัดกิจกรรมโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “เกษตร
อินทรีย์ วถิ ีพอเพียง สวู้ ิกฤติ COVID-19” น้ัน สามารถประเมนิ ผลความสำเรจ็ ของโครงการดังกล่าว คอื
1. ประเมนิ ผลจากการมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
2. ประเมนิ จากแบบประเมินความพงึ พอใจ
3. ประเมนิ จากจำนวนกลมุ่ เป้าหมาย
ผลการดำเนินงานจากแบบประเมินความพึงพอใจโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง “เกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง สู้วิกฤติ COVID-19” จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 22
คน
ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถามจากผู้เขา้ รบั การอบรม จำนวนท้งั สิน้ 22 คน
ตารางที่ 1 จำนวนร้อยละของเพศผู้ตอบแบบสอบถามท่ีเข้าร่วมโครงการฯ
เพศ จำนวน (คน) รอ้ ยละ
ชาย 2 9.10
หญงิ 20 90.90
รวม 22 100.00
จากตารางท่ี 1 พบว่า ผเู้ ขา้ รบั การอบรมสว่ นใหญ่ เปน็ เพศหญิง 20 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90.90
เพศชาย 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.10 ของจำนวนผู้เข้ารับการอบรม
ตารางที่ 2 จำนวนรอ้ ยละของอายุผตู้ อบแบบสอบถามทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการฯ
อายุ จำนวน ร้อยละ
30-39 ปี - 9.10
77.27
40-49 ปี 2 13.63
100.00
50-59 ปี 17
60 ปีขน้ึ ไป 3
รวม 22
จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ มีอายุ 50-59 ปี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 77.27
ของจำนวนผู้เขา้ รบั การอบรม
ตารางที่ 3 จำนวนรอ้ ยละของระดบั การศึกษาผตู้ อบแบบสอบถามที่เข้าร่วมโครงการฯ
รายการ จำนวน ร้อยละ หมายเหตุ
ระดบั ต่ำกว่าประถมศึกษา 1 4.55
6 27.27
ระดบั ประถมศึกษา 10 45.45
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ 5 22.73
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 22 100.00
รวม
จากตารางที่ 3 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ มีการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มากท่ีสุด
คิดเปน็ รอ้ ยละ 45.45 ของจำนวนผู้เข้ารับการอบรม
ตอนที่ 2 แบบทดสอบความรูก้ อ่ นและหลงั การอบรม
ตารางท่ี 4 ตารางเปรียบเทียบผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรมของผู้เข้ารับ
การอบรม จำนวน 22 คน
แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรยี น จำนวน
ท่เี พิ่มขนึ้
ข้อท่ี ตอบถูก(คน)/ ตอบผิด(คน)/ ตอบถูก(คน)/ ตอบผดิ (คน)/
4
รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ 18.19
1. เศรษฐกจิ พอเพยี ง หมายถึงขอ้ 18 4 22 0 6
ใด 81.81 18.19 100 0 27.27
22 0
2. เป้าหมายของปรชั ญาเศรษฐกิจ 16 6 100 0 2
พอเพยี งคือขอ้ ใด 72.73 27.27 22 0 9.10
100 0
3. ดินชนดิ ใดเหมาะในการ 20 2 22 0 3
เพาะปลกู มากทีส่ ุด 90.90 9.10 100 0 13.64
22 0
4. แนวทฤษฎีใหม่ให้ความสำคัญ 19 3 100 0 5
กับการจดั ทรัพยากรให้มากที่สุด 86.36 13.64 22.73
22 0
5. หลกั คิดในการนำหลกั ปรชั ญา 17 5 100 0 7
เศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการ 77.27 22.73 22 0 31.82
ดำเนนิ ชีวติ ยกเวน้ ขอ้ ใด 100 0
15 7 22 0 3
6. ข้อใดคือความหมายของการ 68.18 31.82 13.64
พึง่ ตนเอง 100 0
19 3 22 0 5
7. เกษตรทฤษฎใี หมแ่ บ่งพน้ื ที่ 86.36 13.64 100 0
ทำกนิ อยา่ งไร 22 0 22.73
17 5 100 0 4
8. ข้อใดเปน็ การปฏิบัติตนตาม
หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 77.27 22.73 18.19
18 4 2
9. ข้อใดท่ี ไม่จำเป็ นต้องใช้ท ำ
จุลนิ ทรีย์สงั เคราะห์แสง 81.81 18.19 9.10
20 2
10. ข้อใดคือประโยชน์ของการ
เลีย้ งไส้เดอื น 90.90 9.10
ตอนท่ี 3 ด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมและความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรม
ตารางท่ี 5 ดา้ นความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม กศน.
ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ น้อย หมายเหตุ
มาก มาก ปาน นอ้ ย ท่ีสุด
ตอนท่ี ๑ ความพงึ พอใจด้านเน้ือหา ท่สี ุด กลาง
1 เนอื้ หาตรงตามความต้องการ
21 1
2 เน้ือหาเพียงพอต่อความตอ้ งการ 95.45 4.55
3 เนอ้ื หาปัจจุบนั ทนั สมัย 19 3
86.36 13.64
4 เน้ือหามีประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ
20 2
ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 90.90 9.10
5 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม
22
6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 100
7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 19 3
86.36 13.64
8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมาย
20 2
9 วิธกี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 90.90 9.10
ตอนท่ี ๓ ความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร 18 4
10 วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถในเรอ่ื งทถี่ า่ ยทอด 81.81 18.19
11 วิทยากรมเี ทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ ื่อเหมาะสม 20 2
90.90 9.10
12 วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ่วนร่วมและซกั ถาม
19 3
ตอนท่ี ๔ ความพงึ พอใจด้านการอำนวยความสะดวก 86.36 13.64
13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์และสงิ่ อำนวยความสะดวก
18 4
14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพือ่ ให้เกิดการเรียนรู้ 81.81 18.19
15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแก้ปัญหา 20 2
90.90 9.10
19 3
86.36 13.64
20 2
90.90 9.10
19 3
86.36 13.64
21 1
95.45 4.55
บทที่ 5
สรุป อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ
สรุปโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “เกษตรอินทรีย์ วิถี
พอเพียง สู้วิกฤติ COVID-19” เพ่ือให้ทราบถึงผลการดำเนินงานและนำผลไปพัฒนางานในโอกาสต่อไป โดยใช้
แบบประเมินระดับความรู้และความพึงพอใจ โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 แบบทดสอบความรู้ก่อน
และหลังการอบรม ผู้ผ่านการทดสอบ คิดเป็นร้อยละ 80 ตอนท่ี 2 แบบประเมินความรู้และความพึงพอใจโดย
ใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากผู้ตอบแบบประเมิน จำนวน 22 ชุดจากผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 22 คน คิดเป็น
ร้อยละ 100 ซงึ่ สามารถจำแนกไดด้ ังนี้
ผลลพั ธ์ (Out Puts)
1. ประชาชนตำบลบา้ นต๋อม จำนวน 22 คน มคี วามรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. มีทักษะ มีความรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เรื่อง “เกษตรอินทรีย์ วถิ ีพอเพียง สู้วกิ ฤติ
COVID-19”
ตัวชี้วัดผลผลติ
ประชาชนตำบลบ้านต๋อม จำนวน 22 คน มีความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง
“เกษตรอินทรยี ์ วิถพี อเพียง สูว้ ิกฤติ COVID-19”
ตวั ชีว้ ัดผลลัพธ์
1. ประชาชนตำบลบ้านต๋อม มีความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เร่ือง “เกษตรอินทรีย์
วถิ ีพอเพียง สู้วิกฤติ COVID-19” สามารถนำความรู้ไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวันได้
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามจากผู้เขา้ รับการอบรม จำนวนท้ังสนิ้ 22 คน
1.1 จำนวนร้อยละของเพศ ผู้เข้าร่วมโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ “เกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง สู้
วิกฤติ COVID-19”
* เพศหญิง จำนวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.90
* เพศชาย จำนวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 9.10
1.2 จำนวนรอ้ ยละของอายผุ เู้ ข้ารว่ มโครงการจดั กระบวนการเรยี นรู้ “เกษตรอนิ ทรยี ์ วิถพี อเพียง สู้
วกิ ฤติ COVID-19”
* อายุ 40 – 49 ปี จำนวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.10
* อายุ 50 – 59 ปี จำนวน 17 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 77.27
* อายุ 60 ปีข้นึ ไป จำนวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.63
1.3 จำนวนร้อยละของระดับการศึกษาผู้เข้ารว่ ม โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ “เกษตรอินทรีย์ วิถี
พอเพยี ง สวู้ ิกฤติ COVID-19”
ระดับต่ำกวา่ ประถมศึกษา จำนวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 4.55
ระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 27.27
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 10 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 45.45
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 22.73
ตอนท่ี 2 แบบทดสอบความร้กู อ่ นและหลงั การอบรมเป็นแบบปรนัย
แบบทดสอบความรูก้ ่อนและหลังการอบรมเป็นแบบปรนัย ทำเครื่องหมายกากบาท จำนวน 10 ข้อ
จากตาราง ผู้ท่ีเข้ารับการอบรมมีคะแนนเพ่ิมขึ้นจากก่อนการอบรมจำนวน 10 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 100 ผู้เข้า
อบรมที่เข้ารับการอบรมมีคะแนนมากที่สุด คือข้อที่ 3. ดินชนิดใดเหมาะในการเพาะปลูกมากท่ีสุด และข้อที่
10. ข้อใดคือประโยชน์ของการเลี้ยงไส้เดือน มีคะแนน 20 คนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 90.90 รองลงมาคือ
ข้อที่ 4. แนวทฤษฎีใหม่ให้ความสำคัญกับการจัดทรพั ยากรให้มากที่สุด และขอ้ ที่ 7. เกษตรทฤษฎีใหม่แบ่งพ้ืนที่
ทำกิน อย่างไร มีคะแนน 19 คนเทา่ กนั คดิ เปน็ ร้อยละ 86.36 และแบบทดสอบข้ออื่น ๆ ผเู้ ขา้ รับการอบรม
ยังทำคะแนนเพ่ิมข้ึน แสดงว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพ่ิมข้ึนก่อนการอบรมเนื่องจากสามารถทำคะแนนได้
เพม่ิ ขน้ึ
ตอนท่ี 3 แบบประเมินการมีสว่ นร่วมและความพึงพอใจการจัดกจิ กรรม
ความพึงพอใจด้านเน้ือหา
1. เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ
* ระดบั ความพึงพอใจมากทส่ี ุด จำนวน 21 คน คิดเปน็ ร้อยละ 95.45
* ระดบั ความพงึ พอใจมาก จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.55
* ระดับความพึงพอใจปานกลาง จำนวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ -
* ระดับความพงึ พอใจนอ้ ย จำนวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ -
* ระดบั ความพึงพอใจน้อยทส่ี ุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
2. เน้ือหาเพียงพอตอ่ ความต้องการ
* ระดับความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ จำนวน 19 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 86.36
* ระดบั ความพึงพอใจมาก จำนวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.64
* ระดับความพึงพอใจปานกลาง จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ -
* ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ย จำนวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ -
* ระดบั ความพงึ พอใจน้อยที่สดุ จำนวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ -
3. เนอ้ื หาปัจจบุ นั ทันสมัย
* ระดบั ความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 90.90
* ระดับความพงึ พอใจมาก จำนวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 9.10
* ระดับความพึงพอใจปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
* ระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ย จำนวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ -
* ระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ยทีส่ ุด จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ -
4. เน้อื หามีประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต
* ระดบั ความพึงพอใจมากทส่ี ุด จำนวน 22 คน คดิ เป็นร้อยละ 100
* ระดบั ความพงึ พอใจมาก จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ -
* ระดับความพงึ พอใจปานกลาง จำนวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ -
* ระดับความพึงพอใจน้อย จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ -
* ระดับความพงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ -
ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม คิดเปน็ ร้อยละ 86.36
5. การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.64
คดิ เป็นรอ้ ยละ -
* ระดับความพงึ พอใจมากทีส่ ุด จำนวน 19 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ -
* ระดับความพงึ พอใจมาก จำนวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ -
* ระดับความพงึ พอใจปานกลาง จำนวน - คน
* ระดับความพงึ พอใจนอ้ ย จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ 90.90
* ระดับความพงึ พอใจนอ้ ยที่สดุ จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.10
6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ คดิ เป็นรอ้ ยละ -
* ระดบั ความพงึ พอใจมากท่สี ดุ จำนวน 20 คน คดิ เป็นร้อยละ -
* ระดับความพึงพอใจมาก จำนวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ -
* ระดับความพึงพอใจปานกลาง จำนวน - คน
* ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ย จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 81.81
* ระดับความพงึ พอใจน้อยที่สดุ จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 18.19
7. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา คิดเป็นร้อยละ -
* ระดับความพงึ พอใจมากที่สดุ จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ -
* ระดบั ความพึงพอใจมาก จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ -
* ระดบั ความพึงพอใจปานกลาง จำนวน - คน
* ระดับความพึงพอใจน้อย จำนวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ 90.90
* ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ยทส่ี ดุ จำนวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ 9.10
8. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลุม่ เปา้ หมาย คดิ เป็นร้อยละ -
* ระดบั ความพึงพอใจมากทส่ี ุด จำนวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ -
* ระดับความพึงพอใจมาก จำนวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ -
* ระดับความพงึ พอใจปานกลาง จำนวน - คน
* ระดับความพงึ พอใจน้อย จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ 86.36
* ระดับความพงึ พอใจนอ้ ยที่สดุ จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.64
9. วธิ กี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ คิดเปน็ ร้อยละ -
* ระดบั ความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ จำนวน 19 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ -
* ระดบั ความพงึ พอใจมาก จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ -
* ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง จำนวน - คน
* ระดบั ความพึงพอใจน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 81.81
* ระดับความพงึ พอใจน้อยท่ีสดุ จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.19
คิดเป็นรอ้ ยละ -
ความพึงพอใจต่อวิทยากร คดิ เป็นร้อยละ -
10. วิทยากรมคี วามรูค้ วามสามารถในเร่อื งทีถ่ ่ายทอด คิดเป็นร้อยละ -
* ระดับความพึงพอใจมากที่สุด จำนวน 18 คน
* ระดบั ความพึงพอใจมาก จำนวน 4 คน
* ระดับความพึงพอใจปานกลาง จำนวน - คน
* ระดับความพึงพอใจน้อย จำนวน - คน
* ระดบั ความพึงพอใจน้อยทสี่ ดุ จำนวน - คน
11. วทิ ยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใช้ส่ือเหมาะสม คดิ เปน็ ร้อยละ 90.90
* ระดับความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ จำนวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.10
* ระดบั ความพึงพอใจมาก จำนวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ -
* ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง จำนวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ -
* ระดบั ความพงึ พอใจน้อย จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ -
* ระดับความพงึ พอใจน้อยท่สี ดุ จำนวน - คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 86.36
12. วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซักถาม คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.64
* ระดับความพงึ พอใจมากที่สดุ จำนวน 19 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ -
* ระดับความพงึ พอใจมาก จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ -
* ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
* ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ย จำนวน - คน
* ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ยทส่ี ดุ จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 90.90
คิดเปน็ รอ้ ยละ 9.10
ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก คิดเปน็ รอ้ ยละ -
13. สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละสิ่งอำนวยความสะดวก คิดเป็นร้อยละ -
คิดเป็นร้อยละ -
* ระดบั ความพึงพอใจมากที่สุด จำนวน 20 คน
* ระดบั ความพงึ พอใจมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 86.36
* ระดับความพึงพอใจปานกลาง จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.64
* ระดับความพงึ พอใจน้อย จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ -
* ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ยทส่ี ุด จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ -
14. การสอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอ่ื ให้เกิดการเรียนรู้ คดิ เป็นร้อยละ -
* ระดบั ความพึงพอใจมากทส่ี ุด จำนวน 19 คน
* ระดับความพงึ พอใจมาก จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 95.45
* ระดับความพึงพอใจปานกลาง จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ 4.55
* ระดับความพงึ พอใจน้อย จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ -
* ระดบั ความพงึ พอใจน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ -
15. การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา คดิ เปน็ ร้อยละ -
* ระดับความพงึ พอใจมากท่สี ดุ จำนวน 21 คน
* ระดับความพงึ พอใจมาก จำนวน 1 คน
* ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง จำนวน - คน
* ระดบั ความพงึ พอใจน้อย จำนวน - คน
* ระดับความพึงพอใจนอ้ ยทีส่ ุด จำนวน - คน
ปญั หาและอปุ สรรค
- ไม่มี
ความคิดเห็นขอ้ เสนอแนะ
1. ควรมีการกระตุ้นประชาชนกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เร่อื ง วถิ ีพอเพียง ชวี ิตม่นั คง และนำความรู้ที่ได้ไปใชก้ ับชีวิตประจำวันจริงๆ
2. ขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณจากเครอื ข่ายในเขตพืน้ ท่ี (เทศบาลตำบลบา้ นต๋อม , องค์กรเอกชน)
ภาคผนวก
คณะผ้จู ดั ทา
ทปี่ รกึ ษา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเมอื งพะเยา
ครูผชู้ ่วย
1. นางจารุณี แก้วประภา บรรณารกั ษ์ชำนาญการ
2. นางสาวเนตรนภา ประเสริฐสังข์
3. นางสาวเมธาพร ฝอยทอง ครูอาสาสมัครฯ
ครู กศน.ตำบลบ้านต๋อม
คณะทำงาน
ครู กศน.ตำบลบา้ นต๋อม
1. กศน.อำเภอเมืองพะเยา
2. นางสาวรนิ ทร์ภศา ชัยวร
3. นางวลิ าวลั ย์ เมืองสวุ รรณ
ผพู้ มิ พ/์ ออกแบบรปู เล่ม
นางวิลาวัลย์ เมอื งสวุ รรณ