The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรอาจาริยสาสมาธิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ohjoe_punkrock, 2022-03-26 06:51:26

หลักสูตรอาจาริยสาสมาธิ

หลักสูตรอาจาริยสาสมาธิ

คู่�่มืือ หลัักสููตร
อาจาริิยสาสมาธิิ

ประกาศคณะกรรมการบริิหารสถาบันั พลังั จิติ ตานุุภาพ
เรื่่อ� ง อนุุมััติิการใช้้คู่�ม่ ืือหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิ

ตามที่่�คณะกรรมการบริิหารหลัักสููตร สถาบัันพลััง
จิิ ตต า นุุ ภ า พไ ด้้ม อ บห ม า ยให้้ค ณ ะ อ นุุ ก ร ร ม ก า ร ห ลัั ก สููต ร
อาจาริิยสาสมาธิิจััดทำคู่่�มืือหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิสำหรัับ
ใช้้เป็น็ เครื่�อ่ งมืือปฏิิบัตั ิงิ านของ สถาบัันพลัังจิติ ตานุุภาพ ใน
การจัดั อบรมหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิแิ ก่ผ่ ู้ท�้ ี่่ส� ำเร็จ็ การศึกึ ษา
หลักั สููตรครููสมาธิแิ ละหรืือหลักั สููตรวิทิ ันั ตสาสมาธิแิ ล้้วต้้องการ
ต่่อยอดพััฒนาตนเองไปเป็็นอาจารย์์สอนหลัักสููตรสมาธิิใน
สถาบัันพลัังจิิตตานุุภาพหรืือในหน่่วยงานและองค์์กรต่่างๆ
ตลอดจน สถาบัันการศึกึ ษาที่่น� ำหลัักสููตรสมาธิใิ นสมเด็จ็ พระ
ญาณวชิิโรดม(วิริ ิยิ ัังค์์ สิริ ินิ ฺธฺ โร) ไปเปิดิ สอนหรืือจััดอบรม
คู่่�มืือหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิเิ ล่ม่ นี้้ไ� ด้้ผ่า่ นการพิจิ ารณา
ของคณะอนุุกรรมการ กลั่่�นกรองงานวิิชาการและได้้รัับการ
อนุุมััติิจากคณะกรรมการการมููลนิิธิิสถาบัันพลัังจิิตตานุุภาพ
หลวงพ่่อวิิริิยัังค์์ สิิรินิ ฺธฺ โร แล้้ว ขอให้ส้ ถาบันั พลัังจิติ ตานุภุ าพ
ดำเนิินการจััดการอบรมหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิโดยยึึดถืือ
และปฏิิบัตั ิิตามคู่่�มืือนี้้ใ� ห้เ้ ป็็นไปในแนวทางเดีียวกััน

เพื่อ่� ธำรงรักั ษาการเรียี นการสอนสมาธิใิ นสมเด็จ็ พระญาณวชิโิ รดม
(วิิริิยัังค์์ สิิริินฺฺธโร) ผู้้�ก่่อตั้�้งสถาบัันพลังั จิติ ตานุภุ าพ ให้้คงอยู่�
ตลอดจิิรััฏฐิิติิกาลในการสร้้างสัันติิภาพและสัันติิสุุขแก่่โลก
ตราบนานเท่่านาน
หวัังว่่าคู่่�มืือนี้้จ� ะช่่วยสนัับสนุนุ การปฏิบิ ััติงิ านของสถาบันั
พลังั จิติ ตานุภุ าพในการจัดั การอบรมหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ
แก่น่ ักั ศึกึ ษาผู้ท้�ี่่ต� ้้องการพัฒั นาตนเป็น็ อาจารย์ส์ อนสมาธิใิ ห้ไ้ ด้้
รับั ความรู้ค้� วามเข้้าใจ สามารถถ่า่ ยทอดการสอนสมาธิจิ นเกิดิ
ความชำนาญ และนำความรู้�ที่่�ได้้ไปสอนคนอื่่�นให้้เกิิดความ
เข้้าใจ ที่่�สำคััญเพื่�่อเขาเหล่่านี้้�จะเป็็นพลัังช่่วยกัันเผยแผ่่
หลัักสููตรสมาธิิในสมเด็็จพระญาณวชิิโรดม ให้้แพร่่หลายไป
ในหมู่่�ประชาชนทุุกเพศทุุกวััย ขออนุุโมทนาและสาธุุการกัับ
ทุุกท่า่ นทุุกสาขามา ณ ที่่�นี้้�

ประกาศ ณ วัันที่่� ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕

(ศาสตราจารย์ก์ ิิตติคิ ุุณ ดร.วิิษณุุ เครืืองาม)
ประธานคณะกรรมการบริิหารสถาบัันพลังั จิิตตานุภุ าพ

คำนำ

คู่่�มืือหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ จัดั ทำขึ้น� เพื่อ�่ เป็น็ แนวทาง
ในการปฏิิบััติิงานให้้มีีความถููกต้้อง คล่่องตััว มีีความง่่ายต่่อ
การปฏิิบััติิ และเป็็นไปในแนวทางเดีียวกัันทั่่�วประเทศโดย
สามารถนำไปเป็น็ แนวทางในการปฏิบิ ัตั ิงิ านได้้ทันั ทีที ั้้ง� นี้้ค� ณะ
กรรมการบริหิ ารหลักั สููตร มููลนิธิ ิสิ ถาบันั พลังั จิติ ตานุภุ าพหลวง
พ่อ่ วิริ ิยิ ังั ค์์ สิริ ินิ ฺธฺ โร ได้้มอบหมายให้้คณะอนุกุ รรมการหลักั สููตร
อาจาริิยสาสมาธิิ จััดทำคู่่�มืือปฏิิบััติิงานเล่่มนี้้�ขึ้�นโดยมีี
วััตถุปุ ระสงค์์ ดังั นี้้�
1. วางแนวทางการคััดสรรบุุคคลซึ่�่งเรีียนจบหลัักสููตร
ครููสมาธิิ หรืือหลัักสููตรวิิทัันตสาสมาธิิและจบหลัักสููตรภาค
สนามเพื่�อ่ เข้้ารับั การอบรมหลัักสููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ
2. วางแนวทางการจััดอบรมหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิ
เพื่่�อเตรีียมความพร้้อมของบุุคคลที่่�จะเป็็นอาจารย์์สอนสมาธิิ
ของสถาบันั พลังั จิติ ตานุภุ าพต่อ่ ไป
3. วางแนวทางให้้อาจารย์์นำเสนอคำสอนตามหลัักสููตร
ครููสมาธิิ และหลัักสููตรวิิทัันตสาสมาธิิ ทั้้�งระบบห้้องเรีียน
และระบบออนไลน์์ ให้้เป็็นไปในทางเดีียวกัันเพื่�่อความเป็็น
เอกภาพ
4. วางแผนดำเนิินการ เพื่�่อการพััฒนาทัักษะและเพิ่่�ม
ประสิิทธิิภาพในการนำเสนออย่่างต่่อเนื่่�อง เพื่่�อให้้รู ปแบบ
การนำเสนอมีคี วามทันั สมัยั แต่ย่ ังั คงรักั ษาเนื้้อ� หาคำสอนของ

สมเด็็จพระญาณวชิิโรดม( วิิริิยัังค์์ สิิริินฺฺธโร ) มิิให้้ผิิดเพี้้�ยน
และคงเดิิมไว้้ทุกุ ประการ
5. วางแผนงานการจััดการสอนให้้มีีประสิิทธิิภาพฉะนั้้�น
คู่่�มืือเล่ม่ นี้้จ� ะช่ว่ ยให้ก้ ารจัดั อบรมและปฏิบิ ัตั ิงิ านของหลักั สููตร
อาจาริิยสาสมาธิิ มีีหลัักการที่่�สอดคล้้อง และเป็็นไปตาม
เจตนารมณ์์ของพระอาจารย์์หลวงพ่่อที่่�ว่่า
“…อาจาริิยสาเป็็นหน่่วยงานที่่�จะรวมนัักปราชญ์์บััณฑิิตที่่�มีี
สมาธิเิ ป็น็ แนวเดีียวกันั ด้้วยความเลื่่อ� มใสในหลัักการแต่่ไม่ใ่ ช่่
เลื่่�อมใสในตััวบุุคคล....เพื่�่อว่่าทุุกคนนี่่�อาศััยหลัักการเป็็นหลััก
ทั้้�งนี้้เ� พื่�อ่ เป็็นประโยชน์์อันั ยิ่่�งใหญ่ไ่ พศาล แก่ม่ วลมนุุษยชาติิ ”
(ที่่�มา : เสียี งคำบรรยายหัวั ข้้ออาจาริยิ สาสมาธิิ )

คณะกรรมการบริหิ ารหลักั สููตร
สถาบันั พลังั จิติ ตานุุภาพ

สารบััญ 1
1
บทที่�่ 1 บทนำ 5
• ความเป็น็ มา 6
• ความเข้้าใจเกี่่�ยวกัับหลักั สููตรอาจาริิยสาสมาธิิ 6
7
• วััตถุปุ ระสงค์์ของหลักั สููตรอาจาริิยสาสมาธิิ 8
• ขอบเขตงาน
• แนวทางปฏิบิ ัตั ิเิ กี่่ย� วกับั คู่่�มืือ
• ประโยชน์์ของคู่่�มืือ

บทที่�่ 2 ระเบีียบปฏิบิ ััติแิ ละระบบ 9
การศึกึ ษาอาจาริิยสาสมาธิิ 9
• คุุณสมบัตั ิิของผู้้�เข้้าอบรมหลัักสููตร 10
12
• การคัดั เลืือกผู้�้เข้้าอบรมหลัักสููตร 13
• การกำหนดจำนวนบุคุ ลากรเข้้าอบรมหลัักสููตร 14
• ระบบการศึึกษาหลักั สููตรอาจาริิยสาสมาธิิ 14
• การเข้้าอบรมหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ
• การประเมิินผล และการจบหลัักสููตร

สารบััญ

บทที่่� 3 หน้า้ ที่่ค� วามรัับผิิด 17
ชอบของผู้ �บริิหารสาขา 17
17
• การจัดั การในขั้น� สมัคั รเข้้าอบรม 18
• การจััดการระหว่า่ งดำเนิินการอบรม
• การจััดการเมื่�่อผู้�้สมััครผ่่านการคัดั เลืือก
เป็น็ อาจารย์์

บทที่�่ 4 หน้า้ ที่แ่� ละความรับั ผิดิ 20
ชอบของอาจารย์์ 20
22
• กฎระเบีียบของอาจารย์์ 23
• หน้้าที่่�ของอาจารย์์ 23
• ข้้อปฏิิบัตั ิิของอาจารย์์ 24
• การพ้้นสภาพอาจารย์์ 24
• การย้้ายสัังกัดั 28
• การพััฒนาวิิทยากรหลักั สููตรต่า่ ง ๆ 28
• แนวทางการจัดั อาจาริิยสาลงตารางสอนใน
หลัักสููตรครููสมาธิ ิ
• หลักั เกณฑ์์ในการรักั ษาสถานภาพอาจาริยิ สา

สารบััญ

ภาคผนวก 1 29
• คู่่�มืือคณะทำงานอบรมอาจาริยิ สาสมาธิิ 29
31
ส่่วนกลาง
• คู่�เอกสารประกอบ

ภาคผนวก 2
2-1 แบบประเมิินการสอบสอนหลัักสููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ
2-2 แบบประเมิินการสอน สถาบัันพลัังจิติ ตานุุภาพ





1บทที่่� บทนำ

ความเป็น็ มา

พระราชปััญญาวชิิโรดม (สุุพล ขนฺฺติิพโล) เจ้้าอาวาสวััด
เทพเจติยิ าจารย์์ อ.จอมทอง จ.เชียี งใหม่่ และกรรมการมููลนิิธิิ
สถาบัันพลัังจิิตตานุุภาพ หลวงพ่่อวิิริิยัังค์์ สิิริินฺฺธโรได้้เมตตา
กล่่าวความเป็็นมาและวััตถุุประสงค์์ของหลัักสููตรอาจาริิยสา
สมาธิิ ไว้้ดังั นี้้�
กราบนมัสั การ ท่า่ นเจ้้าประคุณุ สมเด็จ็ พระญาณวชิโิ รดม
ที่่�เคารพบููชาอย่่างสููง ตามที่่�ท่่านเจ้้าประคุุณได้้กล่่าวไว้้ว่่า
หลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธินิี้้จ� ะช่ว่ ยพัฒั นาตัวั เองและช่ว่ ยเหลืือ
คนอื่่�นได้้ด้้วย เมื่่�อเป็็นเช่่นนี้้อ� าจารย์ต์ ้้องเรียี นตามระบบเรียี น
เพื่อ่� ให้เ้ ป็น็ เอกภาพ ความเป็น็ เอกภาพจะเกิดิ ขึ้้น� เราก็ต็ ้้องทำ
ตามระบบของท่่าน ที่่�วางหลัักการเอาไว้้ เช่่น เราต้้องอ่่าน
ทบทวน หลักั สููตรครููสมาธิิ ให้เ้ ข้้าใจทั้้ง� 3 เล่ม่ อ่า่ นทบทวนแล้้ว
อ่า่ นทบทวนอีกี แน่่นอนต้้องเกิดิ ความลำบาก เราต้้องมีคี วาม
อดทน 3 อย่่าง 1.อดทนต่่อความลำบาก 2. อดทนต่่อความ
ตรากตรำ 3. อดทนต่อ่ ความเจ็บ็ ใจ อ่า่ นแล้้วให้้อ่า่ นอีกี ฟังั แล้้ว
ก็็ให้้ฟัังอีีก เพื่่�อให้้เกิิดความเข้้าใจ ก็็ต้้องทำอย่่างนี้้� ถ้้าเข้้าใจ
แล้้ว ความเป็็นเอกภาพจะเกิิดขึ้้�น และจะได้้พลัังจิิตด้้วย
พลังั จิติ ก็จ็ ะไปกรองจิติ ให้เ้ กิิดเป็็น ผู้�ร้ ู้�้ ผู้�ต้ ื่น�่ ผู้�เ้ บิิกบาน และยััง

1

มีคี ุณุ ธรรม 3 ประการเกิิดขึ้้�นอีีกนั่่น� คืือ 1. ความมีเี หตุผุ ล
2. ความรัับผิดิ ชอบสููง และ 3. ความมีีเมตตา
เราเป็็นอาจารย์์ เราต้้องการอะไร ท่่านเจ้้าประคุุณกล่่าว
ว่า่ ต้้องการช่ว่ ยให้้คนอื่น�่ ได้้รู้จ้� ักั การทำสมาธิิ มีคี ำพููดที่่บ� อกว่า่
ธััมมเทสนามััยบุุญเกิิดขึ้้�นเพราะการพููดธรรมะให้้คนอื่่�นฟััง
และคนที่่�ฟัังก็็ได้้บุุญด้้วย เรีียกว่่า ธััมมััสสวนมััยบุุญเกิิดขึ้้�น
เพราะการฟััง เมื่อ่� ก่อ่ นเขาไม่ร่ ู้�้ เมื่อ�่ ฟัังแล้้วก็็รู้้�ว่า่ สมาธิิ ฌาน
ญาณ และวิิปัสั สนา เป็น็ อย่่างนี้้น� ี่่�เอง จากความมืืดมน กลาย
เป็น็ ความสว่า่ งไสวของใจ ทำให้ใ้ จเบิกิ บาน มีคี วามสุขุ ใจก็เ็ กิดิ
ขึ้น� กับั คนที่่ฟ� ังั เราเป็น็ คนสอน ก็ป็ ลื้้ม� ใจ ดีใี จ สุขุ ใจเพราะฉะนั้้น�
พระอาจารย์์หลวงพ่่อ ท่่านต้้องการให้้เราเป็็นเอกภาพในการ
สอน เรียี กว่า่ “อาจาริยิ สาสมาธิิ คืือ สอนไปในทิศิ ทางเดียี วกันั ”
การเดินิ จงกรมทำอย่า่ งไร การนั่่ง� สมาธิทิ ำอย่า่ งไร ท่า่ นต้้องการ
ให้เ้ ราสอนเป็น็ เอกภาพเช่น่ เดินิ จงกรมก็ต็ ้้องกล่า่ วคำอธิษิ ฐาน
ก่อ่ นเดิินจงกรมว่่า เมตตา กรุุณา มุุทุตุ าอุุเบกขา เดินิ จงกรม
เสร็็จก็ต็ ้้องกล่า่ วคำแผ่่เมตตาว่่าสัพั เพ สััตตา สุขุ ิิตา โหนตุุ ขอ
ให้้สัตั ว์ท์ ั้้ง� หลาย จงเป็็นสุขุ เป็็นสุุขเถิดิ การนั่่�งสมาธิิ เราก็ต็ ้้อง
สอน ให้้กล่่าวคำอธิิษฐานก่่อนว่่า ข้้าพเจ้้า ระลึึกถึึงคุุณ
พระพุทุ ธเจ้้าคุณุ พระธรรมคุณุ พระสงฆ์ค์ ุณุ บิดิ ามารดาคุณุ ครูู
บาอาจารย์์ จงมาดลบัันดาล ให้ใ้ จของข้้าพเจ้้า จงรวมลงเป็็น
สมาธิิ (พุทุ โธ ธัมั โม สังั โฆ 3 ครั้้ง� )
(พุุทโธ 3 ครั้้�ง) สาธุุ

2

เมื่่�อนั่่�งสมาธิิตามกำหนดเวลาแล้้ว จะมีีสััญญาณระฆััง
หมดเวลา เราก็็พาสวดบทแผ่่เมตตาหลัังนั่่�งสมาธิิว่่า สััพเพ
สัตั ตา สะทา โหนตุุ อะเวรา สุุขะชีีวิิโน ขอให้้สัตั ว์์ทั้้ง� หลายจง
เป็็นผู้้�ไม่่มีีเวรต่่อกัันและกััน จงเป็็นผู้้�ดำรงชีีพอยู่�เป็็นสุุขทุุก
เมื่�่อเถิดิ กะตังั ปุญุ ญังั ผะลังั มัยั หััง สัพั เพ ภาคีีภะวันั ตุุเต ขอ
ให้้สััตว์์ทั้้�งสิ้้�นนั้้�น จงเป็็นผู้�้มีีส่่วนได้้เสวยผลบุุญ อัันที่่�ข้้าพเจ้้า
ได้้บำเพ็็ญแล้้วนั้้�นเทอญ สาธุุ
เราไปสอนที่่ไ� หน ก็ต็ ้้องยืืนยันั วิธิ ีกี ารสอนแบบเดียี วกันั ทั้้ง�
ขึ้�นต้้นและลงท้้ายให้เ้ หมืือนกันั เรีียกว่า่ เป็็นเอกภาพ อาจารย์์
ทุุกท่่านต้้องทำอย่่างนี้้� แม้้พระอาจารย์์เองเป็็นนัักศึึกษารุ่�น
แรกก็็ต้้องทำแบบนี้้เ� ช่่นเดีียวกันั
การเรียี นหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิ เป็็นการสร้้างบุุญอััน
ยิ่่�งใหญ่่ จะเป็น็ อริยิ ทรััพย์ใ์ ห้้แก่่เราข้้ามภพ ข้้ามชาติิ ในขณะ
ที่่ส� อนคนอื่น�่ ก็ไ็ ด้้สอนตนเองด้้วย เพราะเราสอนเขา ได้้พาเขา
เดินิ จงกรม และพานั่่ง� สมาธิิ พระอาจารย์ห์ ลวงพ่อ่ บอกว่่าเรา
สอนภาคทฤษฎีี ก็็ต้้องสอนภาคปฏิบิ ัตั ิิด้้วย อันั นี้้�สำคัญั มากๆ
อาจารย์์ต้้องเป็็นแบบอย่า่ งที่่ด� ีี
ฉะนั้้�นเราเป็็นอาจารย์์สอนต้้องสอนทั้้�งภาคทฤษฎีี และ
ภาคปฏิิบัตั ิิด้้วย เมื่อ่� เราไม่เ่ ข้้าใจตรงไหน ก็็มาอ่า่ นทบทวนอีีก
ในหลักั สููตร 3 เล่ม่ นั้้น� และฟังั ซีดี ีเี รื่อ่� งที่่ส� อนนั้้น� ด้้วยฟังั กลับั ไป
กลัับมา ทุุกครั้้�งที่่�ฟัังก็็จะได้้ความรู้�ความเข้้าใจเพิ่่�มขึ้�นมาอีีก
จะให้้ดีตี ้้องเขียี นเอาไว้้ ให้ส้ อดคล้้องกันั ทั้้ง� ในหนังั สืือและที่่ฟ� ังั
ในซีีดีีอย่่างนี้้เ� รียี กว่า่ รู้้ท� ั้้�งในซีีดีแี ละในหนังั สืือ เราก็็จะไปสอน
ได้้อย่่างมั่่�นใจ ไม่่เคอะเขิิน

3

พระอาจารย์์หลวงพ่่อได้้ยกสุุภาษิิตของพระพุุทธเจ้้าว่่า
สัพั พะทานังั ธัมั มะทานังั ชินิ าติิ การให้ธ้ รรมะเป็น็ ทานชนะการ
ให้้ทั้�งหมด เพราะอะไร เพราะก่่อนที่่�คนจะมาเรีียนเขาจะไม่่รู้�้
ว่่าการเรีียนสมาธิิ มีีจุุดประสงค์์อะไร การทำสมาธิิ ทำได้้กี่่�
อิริ ิยิ าบถ ไม่รู่้เ้� รื่อ� ง สมาธิิ ฌาน ญาณ วิปิ ัสั สนา พอเราสอนเขา
แล้้วเขาจะรู้จ�้ ักั การทำสมาธิิ จะทำให้เ้ ขาเกิดิ หููตาสว่า่ ง รู้จ้� ักั ทาง
ดำเนิินของชีีวิิตไปสู่่�จุุดหมายที่่�ดีีๆ นี่่�คืือผลงานของอาจารย์์
เพราะฉะนั้้น� การได้้สอนคนอื่น�่ หรืือได้้แนะนำคนอื่น�่ นั้้น� เป็น็ การ
สอนตััวเองด้้วย จึึงทำให้้เกิิดเป็็นบุุญเป็็นวาสนาเป็็นบารมีีให้้
แก่่เราข้้ามภพข้้ามชาติิต่่อไป ดั่่�งพระอาจารย์์หลวงพ่่อยก
ตัวั อย่า่ งนางวิสิ าขา เกิดิ มาอายุุ 7 ขวบ ได้้ฟังั ธรรมะก็บ็ รรลุเุ ป็น็
พระโสดาบััน แม้้เด็็กชายอายุุ 7 ขวบ ไปบวชเป็็นสามเณรก็็
บรรลุพุ ระอรหันั ต์ไ์ ด้้นั่่น� คืือผลบุญุ ที่่ค� นสะสมไว้้

พระราชปััญญาวชิิโรดม (สุพุ ล ขนฺตฺ ิพิ โล)
(ที่่�มา : พระราชปัญั ญาวชิิโรดม (สุุพล ขนฺฺติพิ โล)
เจ้้าอาวาสวัดั เทพเจติิยาจารย์์ อ.จอมทอง จ.เชีียงใหม่่
เมื่่�อวันั ที่่� 28 สิงิ หาคม 2564 มอบให้้คณะอนุกุ รรมการ
อาจาริยิ สาสมาธิเิ พื่อ�่ เป็็นบทนำในคู่่�มืือฉบัับนี้้�

4

ความเข้้าใจเกี่่ย� วกับั หลัักสููตร

หลัักสููตรที่่�ปรากฏอยู่ �ในคู่่�มืือฉบัับนี้้�เป็็นหลัักสููตรที่่�ต้้องมีี
การพััฒนา ผู้เ�้ ข้้าอบรมต้้องมีคี ุณุ สมบัตั ิติ ามขั้น� ตอนต่อ่ ไปนี้้�

สาขาดำเนินิ การคัดั เลืือกนักั ศึกึ ษาที่่จ� บหลักั สููตรครููสมาธิิ
หรืือหลัักสููตรวิิทัันตสาสมาธิิ และจบหลัักสููตรภาคสนามโดย
พิิจารณาคุุณสมบััติิ และสอบสอนตามข้้อกำหนดของสถาบันั
เพื่อ�่ ส่ง่ บุคุ ลากรเข้้าอบรมหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ ภาคทฤษฎีี
และภาคปฏิิบััติิ (Workshop) หากผู้เ�้ ข้้าอบรมสอบผ่า่ นตามที่่�
กำหนด จะต้้องสอบสอน (ภาคปฏิิบััติิ) ที่่�ดำเนิินการจััดสอบ
โดยสาขาที่่�สัังกััดและถ้้าสอบสอนผ่่านตามที่่�กำหนดจึึงจะจบ
หลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิ และได้้รัับใบประกาศนีียบััตร
อิเิ ล็็กทรอนิิกส์์ (E-Certificate)

5

วััตถุปุ ระสงค์์

1.ให้ก้ ารอบรมหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิแิ ก่ผ่ ู้ท�้ี่่จ� บหลักั สููตร
ครููสมาธิิ หรืือหลัักสููตรวิิทัันตสาสมาธิิ และจบหลักั สููตรภาค
สนาม ให้้เป็็นไปตามมาตรฐานที่่�คณะอนุุกรรมการหลัักสููตร
อาจาริยิ สาสมาธิกิ ำหนด
2. ให้ผ้ ู้้�จบหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิทุุกท่่าน มีีมาตรฐาน
การสอนที่่�ได้้คุุณภาพมีีเนื้้�อหาตรงตาม คำสอนของสมเด็็จ
พระญาณวชิิโรดม (วิิริิยัังค์์ สิริ ิินฺฺธโร) และมีีเทคนิิคที่่ด� ีมี ีีความ
เหมาะสม
3. ให้ผ้ ู้จ�้ บหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ ปฏิบิ ัตั ิงิ านด้้วยความรักั
เมตตาและปรารถนาดีี

ขอบเขตงาน

1.จััดระบบการสรรหาอาจารย์ท์ ี่่�มีีคุณุ ภาพ
2.จัดั การอบรมหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิตามแนวทางของ
สมเด็็จพระญาณวชิิโรดม ( วิิริิยัังค์์ สิิริินฺฺธโร ) จััดระบบการ
ประเมินิ ผลการสอน ซ้้อมสอน การสอบทั้้ง� ภาคทฤษฎีแี ละภาค
ปฏิิบััติทิ ี่่�มีีประสิทิ ธิิภาพ โปร่ง่ ใสและเป็็นธรรม
3. ส่ง่ เสริมิ และพัฒั นาอาจารย์์ ให้้มีคี วามรู้ค� วามเข้้าใจวิธิ ีี
การสอนสมาธิิในแนวทางเดีียวกััน ตามหลัักการที่่�สมเด็็จ
พระญาณวชิิโรดม ( วิิริิยังั ค์์ สิริ ิินฺฺธโร ) กำหนดไว้้เพื่่�อให้เ้ กิิด
ความเป็น็ เอกภาพ

6

4. ส่ง่ เสริมิ และสนับั สนุนุ การจัดั อบรมสัมั มนาเพื่อ่� เพิ่่ม� พููน
ความรู้ท้� ี่่�จำเป็น็ สำหรับั อาจารย์์ในหลักั สููตรต่า่ ง ๆ
5. พัฒั นาเครืือข่่ายอาจารย์์เพื่่�อส่่งเสริิมงานของสถาบััน
พลังั จิติ ตานุภุ าพ
6. ปรับั ปรุุงกฎระเบีียบต่่าง ๆเพื่�่อให้้เอื้�อต่่อการพััฒนา
อาจารย์ผ์ ู้ส�้ อนสมาธิิ

แนวปฏิบิ ััติิเกี่ย่� วกับั คู่่ม� ืือ

1. สาขาและอาจารย์์ ต้้องปฏิิบััติิตามคู่่�มืือนี้้�
2. หากสาขา หรืืออาจารย์์ มีเี หตุจุ ำเป็น็ ที่่ไ� ม่ส่ ามารถปฏิบิ ัตั ิิ
ตามคู่่�มืือนี้้ไ� ด้้จะต้้องได้้รับั การอนุมุ ัตั ิจิ ากคณะกรรมการบริหิ าร
หลัักสููตร สถาบัันพลัังจิติ ตานุุภาพจึงึ จะดำเนินิ การได้้
3. การปรับั ปรุงุ แก้้ไขคู่่�มืือ ทำได้้โดยคณะกรรมการบริหิ าร
หลัักสููตร เป็็นผู้�้นำเสนอประเด็็นการแก้้ไขปรัับปรุุงให้้คณะ
กรรมการสถาบัันพลังั จิิตตานุุภาพ เป็็นผู้อ�้ นุุมัตั ิปิ รับั ปรุงุ
4. ให้เ้ ริ่ม� ใช้้คู่่�มืือนี้้� ตั้ง้� แต่ว่ ันั ที่่� 20 มีนี าคม 2565 เป็น็ ต้้นไป

7

ประโยชน์์ของคู่ม�่ ืือ

1. ช่่วยเสริิมสร้้างความมั่่�นใจในการทำงาน
2. ลดขั้้�นตอนการทำงานที่่ซ� ้้ำซ้้อน
3. ได้้งานที่่ม� ีีคุณุ ภาพตามที่่ก� ำหนด
4. ส่ง่ เสริมิ การทำงานที่่เ� ป็น็ ระบบ และมาตรฐานเดียี วกันั
5. เพื่่�อให้เ้ กิดิ เอกภาพในการทำงาน
6. คณะอนุกุ รรมการหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ และคณะ
ทำงานที่่�ได้้รัับมอบหมาย จากคณะอนุุกรรมการหลัักสููตร
อาจาริิยสาสมาธิิ สามารถทำงานแทนกันั ได้้

8

2บทที่�่ ระเบีียบปฏิิบััติิ
และระบบการศึึกษา

คุณุ สมบััติขิ องผู้�เข้า้ อบรมหลัักสููตร

1.1 กำหนดอายุไุ ม่่ต่่ำกว่่า 20 ปีีบริิบููรณ์์
1.2 ต้้องจบหลักั สููตรครููสมาธิิ มาแล้้วไม่เ่ กินิ 4 รุ่�นหรืือจบ
หลักั สููตรวิทิ ันั ตสาสมาธิิ มาแล้้วไม่เ่ กินิ 2 รุ่�น และจบหลักั สููตร
ภาคสนาม
1.3 สำเร็จ็ การศึกึ ษาขั้น� ต่่ำปริญิ ญาตรีี
1.4 มีคี ุณุ ลักั ษณะและเจตคติิ เหมาะสมกับั การเป็น็ อาจารย์์
ของสถาบัันพลัังจิติ ตานุุภาพ
1.5 เป็็นผู้ท�้ ี่่ม� ีสี ุขุ ภาพดีี ไม่่เป็น็ โรคต้้องห้้าม ไม่่เป็็นผู้�ม้ ีสี ติิ
ฟั่่น� เฟืือนหรืือทุุพพลภาพ
1.6 ไม่เ่ ป็็นผู้้�ที่่ม� ีีความประพฤติิผิิดศีีลธรรม
1.7 ไม่่เป็น็ ผู้ท้� ี่่ต� ้้องคดีีอาญาร้้ายแรง
1.8 มีวี ิินััยและปฏิิบััติิตามกฎระเบีียบ ของสถาบัันพลััง
จิิตตานุุภาพได้้
1.9 มีีความตั้้�งใจเผยแผ่่วิิชาสมาธิิ ตามแนวทางของ
สมเด็็จพระญาณวชิิโรดม (วิิริยิ ัังค์์ สิิริินฺฺธโร)
1.10 ไม่แ่ สวงหาผลประโยชน์ท์ างการเมืืองธุรุ กิจิ หรืืออื่น�่ ๆ

9

1.11 ผ่า่ นการทำหน้้าที่่�เป็็นพี่่�เลี้้�ยงตลอดระยะเวลาอย่่าง
น้้อย 1 รุ่�น ในสาขาที่่�เรีียนจบหลัักสููตรครููสมาธิิ หรืือหลัักสููตร
วิิทันั ตสาสมาธิิ
1.12 หากมีีกรณีีที่่�ต้้องพิิจารณานอกเหนืือไปจาก
คุุณสมบััติิที่่�กำหนด ให้้ส่่งคณะกรรมการบริิหารหลัักสููตรเป็็น
ผู้พ�้ ิจิ ารณาอนุมุ ัตั ิิ

การคัดั เลืือกผู้�เข้้าอบรมหลักั สููตร

2.1 การคััดเลืือกโดยสาขา
2.1.1 สััมภาษณ์์ผู้�้สมััครเข้้าอบรมหลัักสููตรอาจาริิยสา
สมาธิิ โดยพิิจารณาตามหลัักเกณฑ์์ ที่่�คณะอนุุกรรมการ
หลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิกิ ำหนด
2.1.2 สอบภาคทฤษฎีตี ามหลักั สููตรครููสมาธิิ หรืือหลักั สููตร
วิิทัันตสาสมาธิิ ตามแบบประเมิินความรู้�้ที่่�คณะอนุุกรรมการ
หลักั สููตร อาจาริยิ สาสมาธิกิ ำหนด เฉพาะผู้�้ที่่ผ� ่า่ นเกณฑ์์
ข้้อ 2.1.1
2.1.3 ดำเนิินการสอบสอน 3 ครั้้ง� ก่่อนเข้้าอบรมหลักั สููตร
อาจาริิยสาสมาธิิภาคทฤษฎีี โดยมีีคะแนนสอบแต่่ละครั้้�งไม่่
น้้อยกว่่า 70% ต้้องสอบผ่า่ น 2 ใน 3 ครั้้�งจึงึ จะมีีสิทิ ธิ์์เ� ข้้าอบรม
ภาคทฤษฎีี โดยใช้้แบบประเมิินการสอบสอน หลัักสููตร
อาจาริยิ สาสมาธิทิี่่ค� ณะอนุกุ รรมการหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ
กำหนดและมีีกรรมการสอบสอนเป็็นอาจารย์์ในสาขาจำนวน
3-5 คน

10

โดยสาขาจัดั การแนะแนวเพื่อ่� เตรียี มความพร้้อมก่อ่ นสอบสอน
เฉพาะผู้ท้�ี่่ผ� ่า่ นเกณฑ์ข์ ้้อ 2.1.2 การกำหนดหัวั ข้้อสอบสอน ก่อ่ น
เข้้าอบรมหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิ ให้้มีีการจัับสลากหััวข้้อ
สอบสอน จากหนังั สืือครููสมาธิเิ ล่ม่ 1-3 เริ่�มจากหัวั ข้้อ
“ อิริ ิิยาบถ 4 ” ถึงึ “ ชาวโลกกับั วิิปััสสนา ” รวม 86 หััวข้้อ
- หััวข้้อสอบสอนครั้้ง� ที่่� 1 จากหนังั สืือครููสมาธิิเล่ม่ ที่่� 1
- หััวข้้อสอบสอนครั้้ง� ที่่� 2 จากหนัังสืือครููสมาธิิเล่ม่ ที่่� 2
- หัวั ข้้อสอบสอนครั้้�งที่่� 3 จากหนัังสืือครููสมาธิเิ ล่่มที่่� 3
2.1.4 สาขาพิิจารณาตััดสิินผลการสอบ และรายงานผล
การสอบคััดเลืือกในข้้อ 2.1.1-2.1.3 เฉพาะผู้�้ที่่ส� าขาจะส่่งเข้้า
อบรมหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ ให้้คณะอนุกุ รรมการหลักั สููตร
อาจาริิยสาสมาธิิ โดยมีีการแนะแนวเพื่�่อเตรีียมความพร้้อม
ก่อ่ นเข้้าอบรมหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิและให้ผ้ ู้เ�้ ข้้าอบรมกรอก
ใบสมัคั ร โดยมีีผู้ด้� ููแลสาขาลงนามรับั รองในใบสมัคั รดัังกล่า่ ว
2.2 การคัดั เลืือกโดยคณะอนุกุ รรมการหลัักสููตร
อาจาริยิ สาสมาธิิ
คณะอนุุกรรมการหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิ จััดอบรม
หลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิภาคทฤษฎีแี ละภาคปฏิบิ ัตั ิิ(Workshop)
พร้้อมประกาศผลการสอบ
2.3 การคัดั เลืือกโดยสาขา (การสอบสอน 4 ครั้�ง)
สาขาจััดการสอบสอน 4 ครั้้�ง โดยมีีเกณฑ์์สอบผ่่านครบ
ทั้้�ง 4 หัวั ข้้อ ต้้องสอบผ่า่ นอย่่างน้้อย 2 หัวั ข้้อขึ้�นไป

11

จึึงมีีสิิทธิิสอบซ่่อม สามารถสอบซ่่อมหััวข้้อที่่�ไม่่ผ่่านได้้
หััวข้้อละ 1 ครั้้�ง รวมไม่่เกิิน 2 ครั้้�ง ให้้มีีการจัับสลากหััวข้้อ
สอบสอนจากหนังั สืือหลัักสููตรครููสมาธิเิ ล่่ม 1-3 เริ่ม� จากหัวั ข้้อ
“อิิริยิ าบถ 4” ถึึง“ชาวโลกกัับวิิปััสสนา” รวม 86 หัวั ข้้อ
(หััวข้้อสอบสอนไม่่ให้้ซ้ ำกัับ หััวข้้อที่่�เคยสอบสอนก่่อนได้้รัับ
การคัดั เลืือกเข้้าอบรมหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ)
- หััวข้้อสอบสอนครั้้ง� ที่่� 1 จากหนัังสืือครููสมาธิิเล่ม่ ที่่� 1
- หััวข้้อสอบสอนครั้้ง� ที่่� 2 จากหนังั สืือครููสมาธิิเล่่มที่่� 2
- หัวั ข้้อสอบสอนครั้้ง� ที่่� 3 จากหนัังสืือครููสมาธิิเล่ม่ ที่่� 3
- หััวข้้อสอบสอนครั้้ง� ที่่� 4 จากหนัังสืือครููสมาธิิเล่่มที่่� 1-3
2.4 การตััดสิินผลการคััดเลืือกโดยคณะอนุุกรรมการ
หลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ

การกำหนดจำนวนบุุคลากรเข้้า
อบรมหลักั สููตร

สาขาสามารถส่่งบุุคลากรเข้้าอบรมอาจาริิยสาสมาธิิโดย
คำนวณจากสััดส่่วนของผู้้�จบหลัักสููตรครููสมาธิิหรืือหลัักสููตร
วิิทัันตสาสมาธิิภาคทฤษฎีี มีหี ลัักเกณฑ์ด์ ังั นี้้�คืือ
1. สาขาที่่ม� ีจี ำนวนอาจารย์์ 1 - 20 คน มีสี ิทิ ธิ์์ส� ่ง่ ผู้เ�้ ข้้าอบรม
ได้้โดยคำนวณจากจำนวนนัักศึึกษาที่่�จบต่่อ จำนวนสิิทธิ์์�ส่่งผู้้�
เข้้าอบรมเป็็น 15:1

12

2. สาขาที่่�มีีจำนวนอาจารย์์ 21 - 50 คน มีีสิิทธิ์์�ส่่งผู้้�เข้้า
อบรมได้้โดยคำนวณจากจำนวนนักั ศึกึ ษาที่่จ� บต่อ่ จำนวนสิทิ ธิ์์�
ส่่งผู้้เ� ข้้าอบรมเป็น็ 20:1
3. สาขาที่่�มีจี ำนวนอาจารย์์ มากกว่่า 50 คน มีสี ิิทธิ์์ส� ่ง่ ผู้้�
เข้้าอบรมได้้โดย คำนวณจากจำนวนนัักศึึกษาที่่จ� บต่อ่ จำนวน
สิิทธิ์์�ส่่งผู้้�เข้้าอบรม เป็็น 40:1 (หากมีีนัักศึึกษาจบอย่่างน้้อย
20 คน แต่่ไม่ถ่ ึึง 40 คน ให้้สิิทธิ์์�ส่ง่ ผู้เ�้ ข้้าอบรมได้้ 1 คน)
ทั้้�งนี้้ห� ากสาขามีีนัักศึึกษาจบไม่่ถึงึ 20 คน จะไม่่มีีสิิทธิ์์ส� ่ง่
ผู้้�เข้้าอบรมหากมีีความจำเป็็นให้้ทำหนัังสืือขออนุุมััติิจาก
คณะอนุุกรรมการหลักั สููตรอาจาริิยสาสมาธิเิ ป็น็ รายกรณีี

ระบบการศึึกษาหลักั สููตร
อาจาริิยสาสมาธิิ

4.1 ภาคทฤษฎีี : การอบรมจำนวน 10 หััวข้้อบรรยายโดย
มีีกระบวนการในแต่่ละหัวั ข้้อบรรยาย ดังั นี้้�
- ฟังั เสียี งบรรยายของสมเด็จ็ พระญาณวชิโิ รดม
( วิิริยิ ังั ค์์ สิริ ิินฺธฺ โร )
- การอภิปิ รายกลุ่�ม
- สอบข้้อเขีียน
- เฉลยข้้อสอบและบรรยายสรุปุ
- เดินิ จงกรม-นั่่ง� สมาธิิ

13

4.2 ภาคปฏิิบััติิ (Workshop) อบรมเกี่ �ยวกัับการจัับ
ประเด็็นสำคััญของเนื้้�อหาในการบรรยาย การทำสื่่�อการสอน
และแนวทางการปฏิบิ ัตั ิิตน ในฐานะอาจารย์์ของสถาบััน
4.3 สอบภาคปฏิบิ ััติโิ ดยสาขา ( สอบสอน ) ครบ 4 หัวั ข้้อ
(หัวั ข้้อสอบสอนไม่ใ่ ห้้ซ้ำกับั หัวั ข้้อที่่เ� คยสอบสอนก่อ่ นได้้รับั การ
คััดเลืือกเข้้าอบรมหลักั สููตรอาจาริิยสาสมาธิ)ิ
- ต้้องสอบผ่า่ นอย่า่ งน้้อย 2 หัวั ข้้อขึ้น� ไปจึงึ มีสี ิทิ ธิสิ อบซ่อ่ ม
สามารถสอบซ่อ่ ม หัวั ข้้อที่่ไ� ม่ผ่ ่า่ นได้้หัวั ข้้อละ 1 ครั้้ง� รวมไม่เ่ กินิ
2 ครั้้ง�

- สอบภาคปฏิิบัตั ิผิ ่า่ นครบ 4 หัวั ข้้อ

การเข้า้ อบรมหลัักสููตร
อาจาริิยสาสมาธิิ

5.1 ปฏิิบััติิตามระเบียี บปฏิิบัตั ิแิ ละระบบการศึกึ ษา
5.2 เข้้าอบรมด้้วยความซื่อ�่ สััตย์์
5.3 รักั ษาเกียี รติขิ องสมเด็็จพระญาณวชิโิ รดม (วิิริิยังั ค์์
สิิรินิ ฺฺธโร) รวมทั้้�งสถาบันั พลังั จิติ ตานุภุ าพสาขา และตนเอง

การประเมิินผล และการจบ
หลักั สููตร

การประเมิินผลโดยการสอบข้้อเขีียนภาคทฤษฎีีและการ
ประเมินิ ความเป็น็ ครููทั้้ง� ด้้านทักั ษะและคุณุ ลักั ษณะความเป็น็

14

ครููสมาธิติ ามแนวทางของสมเด็็จพระญาณวชิิโรดม (วิริ ิยิ ัังค์์
สิริ ินิ ฺฺธโร) ดังั นี้้�
6.1อบรมภาคทฤษฎีเี ต็ม็ เวลาคะแนนสอบรวมไม่น่ ้้อยกว่า่
60 % ถ้้าสอบไม่ผ่ ่า่ นภาคทฤษฎีจี ะไม่ม่ ีสี ิทิ ธิ์์ส� อบสอนและ ไม่ม่ ีี
สิทิ ธิ์์�สมัคั รอบรมหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิซิ ้้ำ
6.2 อบรมภาคปฏิิบััติิ (Workshop) เต็็มเวลาทั้้�งนี้้�หากไม่่
เข้้าอบรมภาคปฏิิบััติิเต็ม็ เวลา จะยังั ไม่่มีีสิิทธิ์์ส� อบภาคปฏิิบััติิ
(สอบสอน) โดยต้้องเข้้าอบรมเฉพาะภาคปฏิิบััติิในรุ่�นถััดไป
1 รุ่�นจึงึ จะมีสี ิทิ ธิ์์�สอบภาคปฏิิบััติิ (สอบสอน) ได้้
6.3สอบภาคปฏิบิ ัตั ิโิ ดยสาขา(สอบสอน) 4ครั้้ง� ได้้คะแนน
สอบแต่่ละหััวข้้อไม่่น้้อยกว่่า 80% โดยใช้้แบบประเมิินการ
สอบสอน หลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิและให้้มีีการแต่่งตั้�้ง
กรรมการสอบสอนตามที่่� คณะอนุกุ รรมการหลักั สููตรอาจาริยิ -
สาสมาธิิกำหนด
1. สอบสอน 4 ครั้้ง� และสอบซ่อ่ ม 2 ครั้้ง� (ถ้้ามี)ี ให้้เสร็็จสิ้้น�
ภายใน 4 เดืือนและไม่่เกิิน 6 เดืือน หลัังเข้้ารับั การอบรม
2. กรรมการสอบสอน
- 2 ครั้้�งแรก กรรมการเป็็นอาจารย์ใ์ นสาขา 3 - 5 คน
- 2 ครั้้ง� หลัังกรรมการ 5 คน ประกอบด้้วยอาจารย์ใ์ น
สาขา 3 คน และอาจารย์์จากกลุ่�มสาขาเดีียวกััน 2 คน โดย
กรรมการต่่างกลุ่ �มสาขาสามารถออนไลน์์ได้้
- กรณีีสอบซ่อ่ ม เป็น็ กรรมการจำนวน 3 คนประกอบด้้วย
อาจารย์์ ในสาขา 2คนที่่เ� คยคุมุ สอบผู้เ้� ข้้าสอบซ่อ่ มและอาจารย์์

15

จากกลุ่�มสาขาเดียี วกันั 1 คน โดยเป็็นกรรมการที่่�ไม่่เคยสอบ
ผู้�้เข้้าสอบซ่่อมมาก่่อน โดยกรรมการต่่างกลุ่�มสาขาสามารถ
ออนไลน์ไ์ ด้้
หมายเหตุุ กรณีีที่่�มีีความจำเป็็นต้้องเชิิญอาจารย์์ต่่าง
กลุ่ �มสาขาเป็็นกรรมการสอบสอนให้้สาขาขออนุุมััติิต่่อคณะ
อนุุกรรมการอาจาริยิ สาสมาธิิ
3. การกำหนดหัวั ข้้อสอบสอนให้้มีกี ารจับั สลากหัวั ข้้อสอบ
สอน จากหนัังสืือครููสมาธิิเล่่ม1-3 เริ่�มจากหััวข้้อ “ อิริ ิิยาบถ4 ”
ถึึง “ ชาวโลกกับั วิิปัสั สนา ” รวม 86 หััวข้้อ
(หัวั ข้้อสอบสอนไม่ใ่ ห้้ซ้ำกับั หัวั ข้้อที่่ส� อบก่อ่ นได้้รับั การคัดั เลืือก
เข้้าอบรมหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิ)
- หััวข้้อสอบสอนครั้้�งที่่� 1 จากหนังั สืือครููสมาธิิเล่่มที่่� 1
- หััวข้้อสอบสอนครั้้�งที่่� 2 จากหนัังสืือครููสมาธิเิ ล่่มที่่� 2
- หัวั ข้้อสอบสอนครั้้ง� ที่่� 3 จากหนัังสืือครููสมาธิเิ ล่ม่ ที่่� 3
- หััวข้้อสอบสอนครั้้ง� ที่่� 4 จากหนังั สืือครููสมาธิิเล่ม่ ที่่� 1-3
** กรณีที ี่่ม� ีีการสอบซ่่อม ให้ส้ อบซ่อ่ มในหัวั ข้้อเดิมิ ที่่ส� อบ
ไม่่ผ่า่ น
ช่ว่ งเวลาในการจับั สลากหัวั ข้้อสอบสอนให้้จับั สลากหัวั ข้้อ
สอบสอนทั้้�งหมด 4 หััวข้้อ หลัังประกาศผลภาคทฤษฎีีผ่่าน
เรีียบร้้อยแล้้ว
6.3 คณะอนุกุ รรมการหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ นำเสนอ
ผลสอบต่่อคณะกรรมการบริหิ ารหลักั สููตร เพื่่�อขออนุมุ ััติิ และ
ประกาศผลการจบหลัักสููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ

16

3บทที่�่ หน้้าที่�ค่ วามรับั ผิดิ ชอบ
ของผู้�บริหิ ารสาขา

ผู้บ�้ ริหิ ารสาขา หมายถึงึ ผู้ด�้ ููแลสาขาและผู้ช�้ ่ว่ ยผู้ด�้ ููแลสาขา
มีีหน้้าที่่ร� ับั ผิิดชอบในการจััดการเกี่่�ยวกับั ผู้เ้� ข้้าอบรมหลักั สููตร
อาจาริิยสาสมาธิิ ดังั ต่อ่ ไปนี้้�

การจัดั การในขั้้น� สมัคั รเข้า้ อบรม

1. แจ้้งหลัักเกณฑ์์การคััดเลืือก ผู้้�มีีสิิทธิ์์�สมััครเข้้าอบรม
หลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ
2. พิิจารณาว่า่ ผู้ส�้ มัคั รมีคี ุณุ สมบัตั ิติ ามเกณฑ์์
3. ดููแลให้้ผู้�้สมััครกรอกใบสมััคร ตามความเป็็นจริิงใน
ระบบแพลทฟอร์ม์ ของสถาบันั และแนบหลักั ฐานตามแนวทาง
ที่่�กำหนดเช่่น สำเนาเอกสารและรููปถ่่าย โดยผู้้�สมััครลงนาม
รัับรองเอกสารทุุกฉบับั
4. ผู้�้ดููแลสาขาลงนามรัับรอง ผู้้�สมััครตามแนวทางของ
สถาบันั พลัังจิิตตานุุภาพลงในแพลทฟอร์ม์
5.จัดั ส่่งให้้กัับคณะอนุกุ รรมการหลัักสููตรอาจาริยิ สาสม
ผ่่านระบบแพลทฟอร์์มของสถาบััน

17

การจััดการระหว่่างดำเนิินการ
อบรมหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิ

1. สนับั สนุนุ ให้ผ้ ู้ส้� มัคั รเตรียี มตัวั เข้้าอบรม โดยส่ง่ เสริิม
ให้ใ้ ช้้ความสามารถของตนเองไม่อ่ นุญุ าตให้ใ้ ช้้ชุดุ เตรียี มการ
สอนของส่ว่ นกลาง
2. ให้้กำลัังใจเพื่�่อให้้ ผู้้�สมััครเข้้าอบรมและสอบตลอด
หลัักสููตร
3. รับั การตัดั สินิ ผลจากคณะอนุกุ รรมการหลักั สููตรอาจา-
ริิยสาสมาธิิ

การจัดั การเมื่อ�่ ผู้�สมััครผ่่านการคััด
เลืือกเป็น็ อาจารย์์

1. ดููแลการจััดตารางสอนร่่วมกัับ กลุ่�มสาขาและคณะ
อนุุกรรมการหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิ
2. กรณีีจำเป็น็ ต้้องมีีการซ้้อมสอนจากชุุดเตรีียมการสอน
ส่ว่ นกลาง ให้ส้ าขาจัดั คณะทำงาน (อาจารย์)์ ทำหน้้าที่่ด� ำเนินิ
การซ้้อมสอนทุุกหลัักสููตร ก่่อนที่่�อาจารย์์จะทำการสอนตาม
ตารางสอนที่่ไ� ด้้รัับ

18

3. ดููแลการสอนให้้เป็็นไปตามเกณฑ์์ของคณะอนุุกรรม
การหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ โดยให้ผ้ ู้บ�้ ริหิ ารสาขาบันั ทึกึ ไฟล์์
เสียี งในการบรรยายทุกุ หลักั สููตร เพื่อ่� จัดั ส่ง่ ให้้คณะอนุกุ รรมการ
แต่ล่ ะหลักั สููตร
4. พัฒั นาคุณุ ลักั ษณะของอาจารย์ใ์ ห้เ้ ป็น็ ไปตามแนวทาง
ของสถาบัันพลัังจิติ ตานุุภาพ
* หากอาจารย์์สอนออกนอกแนวทางของสถาบัันพลััง
จิิตตานุุภาพให้้ผู้้�บริิหารสาขาที่่�อาจารย์์สัังกััดแจ้้งอาจารย์์
ผู้�้สอน และส่่งใบประเมิินผลการสอนพร้้อมไฟล์์เสีียงในการ
บรรยาย ให้้ประธานคณะอนุุกรรมการหลัักสููตรอาจาริิยสา-
สมาธิิ ภายใน 3 วันั
** การตััดสิินของคณะอนุุกรรมการหลัักสููตรอาจาริิยสา-
สมาธิิถืือเป็น็ ที่่�สิ้้น� สุดุ

19

4บทที่�่ หน้า้ ที่่แ� ละความรัับผิดิ
ชอบของอาจารย์์

ผู้้�ที่่�ได้้รัับการบรรจุุเป็็นอาจารย์์ และมีีชื่�่อในทะเบีียน
อาจารย์์ของสถาบัันพลัังจิิตตานุุภาพจะต้้องปฏิิบััติิตามกฎ
ระเบีียบ ดัังต่่อไปนี้้�

กฎระเบีียบของอาจารย์์

1. อาจารย์์ ต้้องตอบรับั การสอนตามตารางสอน ต่อ่ ผู้ด้� ููแล
สาขาหรืือผู้ป้� ระสานงานตารางสอนของสาขา เพื่อ่� รวบรวมแจ้้ง
ต่่อคณะอนุกุ รรมการหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ ภายใน 7 วััน
นับั จากวันั ส่ง่ ออกจากคณะอนุกุ รรมการหลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ
โดยวิิธีกี ารที่่�สถาบันั พลังั จิิตตานุุภาพกำหนด
2. ถ้้ามีเี หตุใุ ห้ไ้ ม่ส่ ามารถปฏิบิ ัตั ิติ ามวันั ในตารางสอนที่่ไ� ด้้
รับั มอบหมาย อาจารย์ต์ ้้องแจ้้งผู้ด�้ ููแลสาขาหรืือผู้ป�้ ระสานงาน
ตารางสอนของสาขาที่่�สัังกััด และผู้้�ดููแลสาขาหรืือผู้�้ประสาน
งานตารางสอนของสาขาที่่จ� ะไปสอนล่ว่ งหน้้า อย่า่ งน้้อย 7 วันั
ก่่อนกำหนดวัันในตารางสอนที่่�ได้้รัับมอบหมาย โดยวิิธีีการที่่�
สถาบันั พลัังจิิตตานุุภาพ กำหนด

20

3. กรณีอี าจารย์ไ์ ม่แ่ จ้้งภายในกำหนดในข้้อ 1.2 และสาขา
ไม่่สามารถติิดต่่ออาจารย์์ได้้ ผู้�้ดููแลสาขาจะจััดอาจารย์์สอน
แทนอาจารย์์ที่่�ไม่่ดำเนิินการตามข้้อ 1.2
4. ต้้องสอนตามแนวทางของสถาบัันพลัังจิิตตานุุภาพ
5. อาจารย์์ที่่ไ� ด้้รัับหััวข้้อใหม่่ ควรเข้้าซ้้อมสอนตามความ
เหมาะสมตามที่่ส� าขา หรืือกลุ่�มสาขากำหนด
6. กรณีีที่่�อาจารย์์มีีเหตุุจำเป็็นไม่่สามารถทำการสอนได้้
ทุุกหััวข้้อเป็็นเวลา 2 ภาคเรีียนติิดต่่อกััน อาจารย์์จะต้้องทำ
หนัังสืือผ่่านผู้้�ดููแลสาขาล่่วงหน้้า เพื่่�อขออนุุมััติิจากคณะ
อนุกุ รรมการหลักั สููตรอาจาริิยสาสมาธิิ

หน้า้ ที่่ข� องอาจารย์์

1. หน้้าที่่�ในการนำเสนอการบรรยายโดย
- เตรีียมตัวั การนำเสนอการบรรยายตามข้้อปฏิบิ ัตั ิิ
-รับั ผิดิ ชอบหัวั ข้้อที่่ไ� ด้้รับั มอบหมายจากคณะอนุกุ รรมการ
หลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิิ หรืือสาขา
- ไม่่ไปสอนสาขาอื่่�น โดยไม่่ผ่่านการจััดตารางสอนจาก
คณะอนุุกรรมการหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิ หรืือสาขา
2. หน้้าที่่อ� ื่น่� ๆ ตามที่่ส� าขาหรืือสถาบันั พลังั จิติ ตานุภุ าพ ขอ
ความร่่วมมืือ

21

ข้้อปฏิิบัตั ิขิ องอาจารย์์

1. เตรียี มตัวั นำเสนอการบรรยายโดยใช้้ไฟล์เ์ สียี งหนังั สืือ
และชุดุ เตรียี มการสอนตามหลักั สููตร ที่่ไ� ปปฏิบิ ัตั ิกิ ารสอนตาม
ที่่ส� ถาบัันพลัังจิติ ตานุภุ าพกำหนดเท่า่ นั้้น�
2. สอนตามขั้น� ตอนการสอนในคู่่�มืือและชุดุ เตรียี มการสอน
3. กล่า่ วนำบููชาพระรัตั นตรัยั ทั้้ง� เริ่ม� และหลังั การสอนกล่า่ ว
นำคำอธิิษฐานเดิินจงกรม คำแผ่่เมตตาหลัังเดิินจงกรมและ
คำอธิิษฐานนั่่�งสมาธิิ ในส่่วนของคำแผ่่เมตตาหลัังนั่่�งสมาธิิ
กล่่าวพร้้อมกััน
4. ใช้้สรรพนามแทนตนเองว่า่ “ ผู้้บ� รรยาย ” “ อาจารย์์ ”
“ ผม หรืือดิฉิ ััน ”
5. ต้้องแต่่งกายสุภุ าพเหมาะสมกัับ การเป็น็ อาจารย์ข์ อง
สถาบััน
6. ปฏิบิ ัตั ิติ นตามคุณุ ลักั ษณะของการเป็น็ อาจารย์์ ตลอด
ระยะเวลาการเป็น็ อาจารย์ท์ ั้้ง� ในและนอกสาขา
7. มีีมนุุษยสััมพัันธ์์ มีีคุุณธรรม ใช้้วาจาสุุภาพ มีีการ
วางตััวเพื่�่อเป็็นต้้นแบบที่่�ดีี
8. ห้้ามแจกจ่า่ ยเอกสาร ห้้ามเรี่�ยไร ห้้ามขายสินิ ค้้าที่่ไ� ม่่
ได้้รัับอนุญุ าตจากสถาบัันพลังั จิติ ตานุุภาพ หรืือสาขา

22

การถอนชื่�่ออาจารย์์ออก

1. ลาออก โดยแจ้้ง สาขา และคณะอนุกุ รรมการหลักั สููตร
อาจาริยิ สาสมาธิิ
2. หากอาจารย์์ ปฏิเิ สธการสอนทุกุ หัวั ข้้อ ติดิ ต่อ่ กันั 2 รุ่�น
โดยไม่ไ่ ด้้รับั การอนุมุ ัตั ิจิ ากคณะอนุกุ รรมการหลักั สููตรอาจาริยิ สา-
สมาธิิ
3. ขาดคุุณสมบััติขิ องอาจารย์ข์ ้้อใดข้้อหนึ่่�งที่่�กำหนดใน
บทที่่� 2 : ระเบียี บปฏิบิ ัตั ิิและระบบการศึกึ ษา
4. ไม่่ปฏิิบััติิตามกฎระเบีียบ หน้้าที่่� และข้้อปฏิิบััติิของ
อาจารย์ใ์ นบทที่่� 4 หน้้าที่่แ� ละความรัับผิิดชอบของอาจารย์์
* อาจารย์จ์ ะถููกถอนชื่่�อออกจากทะเบีียนอาจารย์์สถาบันั
พลังั จิิตตานุภุ าพเมื่่�อขาดคุุณสมบััติขิ ้้อใดข้้อหนึ่่ง� ข้้างต้้น
** การพิจิ ารณาของคณะอนุกุ รรมการหลักั สููตรอาจาริยิ สา-
สมาธิถิ ืือเป็น็ ที่่�สิ้้น� สุดุ

การย้้ายสังั กัดั

สาขาต้้นสังั กัดั หมายถึงึ สาขาที่่จ� บหลักั สููตรครููสมาธิิ หรืือ
หลักั สููตรวิทิ ันั ตสาสมาธิแิ ละส่ง่ เข้้าอบรมหลักั สููตรอาจาริยิ สา-
สมาธิิ สาขาที่่ส� ังั กัดั หมายถึงึ สาขาที่่อ� าจารย์ไ์ ด้้ปฏิบิ ัตั ิงิ านเป็น็
อาจารย์ป์ ระจำสาขานั้้น� อาจารย์ท์ี่่ม� ีคี วามจำเป็น็ ต้้องย้้ายสังั กัดั
สามารถทำ โดยต้้องได้้รับั ความยินิ ยอม จากผู้ด�้ ููแลสาขาที่่ส� ังั กัดั

23

และสาขาที่่จ� ะย้้ายไปและนำเสนอต่อ่ คณะอนุกุ รรมการหลักั สููตร
อาจาริิยสาสมาธิิให้้ความเห็็นชอบและแก้้ไขสัังกััดในทะเบีียน
ประวััติิอาจารย์์

การพััฒนาวิิทยากรหลัักสููตรต่่างๆ

ให้้เป็็นความรัับผิิดชอบของ คณะอนุุกรรมการหลัักสููตร
นั้้น� ๆ โดยประสานความร่ว่ มมืือกับั คณะอนุกุ รรมการหลักั สููตร
อาจาริิยสาสมาธิิ

แนวทางการจัดั อาจาริยิ สาลง
ตารางสอนในหลักั สููตรครููสมาธิิ

ในการจััดตารางสอนหลัักสููตรครููสมาธิิของสถาบััน
พลัังจิิตตานุุภาพนั้้�น ผู้้�ดููแลสาขาจะเป็็นผู้�้รัับผิิดชอบในการ
จัดั ตารางสอนโดยมีีข้้อมููลเบื้้อ� งต้้นดังั นี้้�
1. ข้้อมููลเกี่�ย่ วกัับสาขา
1.1.จำนวนสาขาสถาบันั พลังั จิติ ตานุภุ าพในประเทศไทย
ที่่�เปิิดสอนหลัักสููตรครููสมาธิิ ปััจจุุบัันมีีทั้้�งหมด 257 สาขา
ซึ่ง่� สาขาต่า่ งๆ ได้้แบ่ง่ ออกเป็น็ 30 กลุ่�มตามประกาศคณะกรรมการ
บริิหารสถาบัันพลังั จิิตตานุุภาพ

24

1.2. ภาคการสอนหลักั สููตรครููสมาธิิ มีีดัังนี้้�
ภาคจันั ทร์์-ศุุกร์์ เวลา 18.00 น. – 20.30 น.
ภาคเสาร์์-อาทิิตย์์ เวลา 09.00 น. – 16.30 น.
ภาคจันั ทร์-์ ศุุกร์์ เวลา 07.30 น. – 09.30 น.
2. จำนวนหััวข้อ้ บรรยาย
2.1. หัวั ข้้อบรรยายหลักั สููตรครููสมาธิิ ในแต่ล่ ะรุ่�นมีจี ำนวน
96 หัวั ข้้อ
2.2. หัวั ข้้อบรรยาย 3 หััวข้้อ เป็็นการถ่่ายทอดสดจาก
สถาบันั พลัังจิิตตานุภุ าพ
2.3. หััวข้้อบรรยาย 93 หัวั ข้้อ อยู่�ในความรับั ผิดิ ชอบของ
ผู้้�ดููแลสาขา
3. วิิธีีการจัดั ตารางสอน
3.1. ผู้ด�้ ููแลสาขาเป็น็ ผู้จ�้ ัดั ตารางสอนในสาขา โดยมีแี นว
ทางในการจัดั ตารางสอนภายใต้้ความร่ว่ มมืือของกลุ่�มสาขา
3.2. อาจาริยิ สาแต่ล่ ะท่า่ นจะบรรยายได้้ไม่เ่ กินิ 9 หััวข้้อ
ต่่อรุ่�น
3.3. อาจาริิยสาบรรยายในสาขาที่่�ตนเองสัังกััดและ
สาขาอื่น�่ ๆได้้ไม่เ่ กินิ สาขาละ 2 หัวั ข้้อ หรืือตามที่่ค� ณะอนุกุ รรมการ
หลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิพิ ิจิ ารณาเห็็นชอบ
4. หััวข้้อบรรยาย 96 หััวข้้อ มีีการแบ่่งสััดส่่วนในการ
จััดตารางสอนดัังนี้้�

25

- หััวข้้อบรรยาย 3 หััวข้้อ (หััวข้้อที่่� 1 ของเล่่มที่่� 1 2 3)
เป็น็ การถ่่ายทอดสด จากสถาบันั พลัังจิติ ตานุุภาพ
- หััวข้้อบรรยาย 25 หัวั ข้้อ ให้้จััดอาจาริิยสาในกลุ่�มสาขา
มาร่่วมบรรยาย ตามมติิความร่่วมมืือของกลุ่�มสาขาของ
สถาบัันพลัังจิิตตานุุภาพ
- หัวั ข้้อบรรยาย 68 หัวั ข้้อ ให้้จัดั อาจาริยิ สาในสาขาตนเอง
หรืือสามารถขอความร่ว่ มมืือจากอาจาริยิ สาในกลุ่�มสาขาและ
ข้้ามกลุ่�มสาขามาช่ว่ ยบรรยายได้้ โดยประสานงานผ่า่ นผู้้ด� ููแล
สาขา

- การจัดั อาจาริยิ สาสาขาอื่�่นมาบรรยายผู้�ด้ ููแลที่่�จัดั ตาราง
จะต้้องประสานงานกัับผู้�้ดููแลต้้นสัังกััด เพื่�่อตรวจสอบหััวข้้อ
บรรยายและลงบัันทึึกหััวข้้อบรรยายของ อาจาริยิ สาในแต่่ละ
รุ่�นให้้ถููกต้้องตามหลัักเกณฑ์์
5. สาขาที่่�มีีอาจาริิยสาจำนวนมาก ให้้อยู่�ในดุุลยพิินิิจ
ของผู้้�ดููแลสาขาในการจััดตารางสอน ให้้อาจาริิยสาที่่�อยู่�ใน
สัังกััดของท่า่ น ได้้รัับหััวข้้อบรรยายตามความเหมาะสม
6. สาขาและกลุ่่ม� สาขาจัดั การประชุมุ เตรียี มความพร้้อม
ล่่วงหน้้า 2 เดืือนก่อ่ นเปิดิ เรียี นในรุ่�นถัดั ไป เพื่อ่� ประสานความ
ร่่วมมืือในการจัดั อาจาริิยสาลงตารางสอน
7.ทุกุ สาขาที่�จ่ ััดตารางสอนเรีียบร้้อยแล้ว้ ต้้องส่ง่ ให้้
คณะอนุกุ รรมการตรวจสอบ ล่ว่ งหน้้า 1 เดืือน ก่อ่ นเปิดิ เรียี น

26

ตัวั อย่่างการจัดั ตาราง 96 หัวั ข้อ้ อาจาริยิ สาสมาธิิ ใน
กลุ่่ม� สาขา
ถ่่ายทอดสด

อาจาริยิ สาสมาธิิ
ในกลุ่่ม� สาขา / ข้า้ มกลุ่่ม� สาขา

วิิธีีการคืืนหััวข้อ้ บรรยาย
1. อาจาริยิ สาที่่ไ� ด้้รับั ตารางสอนแล้้ว หากมีคี วามจำเป็็น
ต้้องคืืนหััวข้้อบรรยาย ให้้แจ้้งไปที่่ผ� ู้ด้� ููแลสาขา 2 ท่า่ น คืือ

1.1. ผู้ด�้ ููแลสาขาที่่ท� ่่านมีหี ััวข้้อบรรยาย
1.2. ผู้้�ดููแลสาขาที่่ท� ่่านสัังกัดั อยู่�
2. อาจาริยิ สาต้้องแจ้้งคืืนหัวั ข้้อบรรยาย ล่ว่ งหน้้าไม่น่ ้้อย
กว่่า 7 วันั
3. ผู้�้ดููแลสาขา มีีหน้้าที่่�จััดอาจาริิยสาบรรยายแทน โดย
ขอความร่ว่ มมืือจากอาจาริยิ สาในสาขาในกลุ่�มสาขา หรืือข้้าม
กลุ่ �มสาขาตามความเหมาะสม
4. ผู้ด�้ ููแลสาขา มีหี น้้าที่่จ� ัดั ทำรายงานส่ง่ คณะอนุกุ รรมการ
หลักั สููตรอาจาริยิ สาสมาธิดิ ังั นี้้�

27

4.1. สรุุปตารางบรรยายประจำสาขา โดยสรุุปรายชื่�่อ
อาจาริิยสาที่่�มาบรรยายในแต่่ละหััวข้้อ รวมถึึงหััวข้้อที่่�มีีการ
คืืนตารางบรรยาย
4.2. สรุุปข้้อมููลของอาจาริิยสาในสัังกััด โดยสรุุปหััวข้้อ
บรรยายของอาจารย์์แต่ล่ ะท่า่ นในรุ่�นนั้้น� ๆ
รายงานดัังกล่่าวให้้จััดส่่งต่่อ คณะอนุุกรรมการหลัักสููตร
อาจาริยิ สาสมาธิภิ ายใน 2 สัปั ดาห์ห์ ลังั จบการเรียี นในแต่ล่ ะรุ่�น

หลักั เกณฑ์ใ์ นการรัักษาสถานภาพ
อาจาริิยสา

1. อาจาริิยสาทุุกท่่านที่่�ได้้เข้้ารัับการอบรมเป็็นอาจา-
ริิยสาสมาธิิของพระอาจารย์์หลวงพ่่อ เรีียบร้้อยแล้้ว พึึงทำ
หน้้าที่่� ของการเป็น็ อาจาริยิ สาให้ส้ มบููรณ์ต์ ามปณิธิ านด้้วยการ
ไปบรรยายตามหััวข้้อที่่�ได้้รัับมอบหมาย รุ่�นละ อย่่างน้้อย 2
หััวข้้อ
2. อาจาริยิ สาสามารถขอพักั การบรรยายได้้ต่อ่ เนื่อ�่ งไม่เ่ กินิ
2 รุ่�น แต่่หากมีีเหตุุจำเป็็นจะต้้อง พัักการบรรยายเกิิน 2 รุ่�น
สามารถทำ เรื่�องขออนุุมััติิจาก คณะอนุุกรรมการหลัักสููตร
อาจาริิยาสมาธิติ ามระเบีียบที่่�กำหนดไว้้

28

(ภาคผนวก 1)
คู่่ม� ืือคณะทำงานอบรม
อาจาริิยสาสมาธิิ

1. คณะอนุุกรรมการหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิทำ
เรื่อ�่ งขออนุมุ ัตั ิกิ ารจัดั อบรม โดยทำหนังั สืือขออนุมุ ัตั ิิ ตาราง
การอบรมแผนการอบรมและงบประมาณจากคณะกรรมการ
บริหิ ารหลัักสููตร
2. การจััดทำทะเบีียนผู้�เข้า้ อบรม
2.1. คณะทำงานฯ และสาขาประสานข้้อมููลผู้เ�้ ข้้าอบรม
ตามแนวทางของสถาบัันพลัังจิติ ตานุุภาพ
2.2. คณะทำงาน ฯ คััดเลืือก และประกาศรายชื่่�อโดย
ตรวจสอบหลัักฐานคุุณสมบััติิผลการประเมิินก่่อนเข้้ารัับการ
อบรมของผู้้�สมัคั รตามแนวทางของสถาบัันพลังั จิิตตานุุภาพ

2.3. จัดั ทำใบเซ็็นชื่�่อ เพื่่�อตรวจสอบการเข้้าอบรมทั้้�ง
(สอบสอน)
2.4. จัดั ทำบัตั รผู้เ�้ ข้้าอบรมเพื่อ่� ใช้้สังั เกตในการอภิปิ ราย
กลุ่ �มการสอบและการตรวจสอบเวลาเรีียน
3. ภาคทฤษฎีี
3.1. จัดั กลุ่�มผู้เ�้ข้้าอบรม กลุ่�มละประมาณ 6 คน เพื่อ่� เตรียี ม
เข้้าอบรมภาคทฤษฎีี

29

3.2 จััดเตรีียมกรรมการผู้้�ให้้การอบรม กรรมการคุุมสอบ
และกรรมการตรวจข้้อสอบที่่ม� ีคี ุณุ ภาพคุณุ ลักั ษณะมีคี ุณุ ธรรม
โดยเฉพาะความเมตตา ความรับั ผิดิ ชอบ ความซื่อ่� ตรงและการ
รัักษาความลับั ของผู้เ�้ ข้้ารัับการอบรม
3.3 จััดเตรีียมพิิธีีกรอาจารย์์พี่่�เลี้้�ยงและฝ่่ายอื่่�น ๆ ที่่�
เกี่่�ยวข้้อง ทั้้ง� ด้้านวิชิ าการและการปฏิบิ ัตั ิิสมาธิิ
3.4 จัดั เตรีียมวีีดิทิ ัศั น์์และข้้อสอบ
3.5 จััดเตรียี มพิิธีเี ปิดิ พิธิ ีปี ิิดการอบรม ตามแนวทางของ
สถาบันั พลังั จิิตตานุุภาพ
3.6.จัดั เตรียี มสถานที่่�อุปุ กรณ์์ ระบบอำนวยความสะดวก
สำหรับั ด้้านวิชิ าการและการปฏิิบัตั ิสิ มาธิิ
3.7 จััดอบรมจััดสอบตรวจข้้อสอบจััดเก็็บข้้อสอบและ
กระดาษคำตอบ
3.8 ประกาศผลสอบตามเกณฑ์ท์ี่่ส� ถาบันั พลังั จิติ ตานุภุ าพ
กำหนด
4. การอบรมปฏิบิ ััติกิ าร (Workshop)
4.1. กำหนดหัวั ข้้อและสถานที่่�ในการอบรม
4.2. จัดั ทำทะเบียี นผู้�้เข้้าอบรมภาคปฏิิบััติิ ( Workshop )
ซึ่ง่� เป็็นผู้�ผ้ ่า่ นการอบรมภาคทฤษฎีี
4.3. จัดั เตรียี มวิทิ ยากร พิธิ ีกี รอาจารย์พ์ ี่่เ� ลี้้ย� งและฝ่า่ ยอื่น�่ ๆ
ที่่เ� กี่่ย� วข้้อง ทั้้ง� ด้้านวิิชาการและการปฏิบิ ััติิ
4.4. จัดั เตรียี มวีดี ีที ัศั น์์ PowerPoint และสื่อ่� อื่น่� ๆ ประกอบ
การอบรม

30

4.5. จัดั เตรียี มสถานที่่อ� ุปุ กรณ์ร์ ะบบอำนวยความสะดวก
สำหรัับด้้านวิชิ าการและการปฏิบิ ัตั ิสิ มาธิิ
4.6. จััดอบรม ประกาศผลการอบรม
4.7. กำหนดและประกาศหััวข้้อสอบสอน
5. รายงานผลการจัดั อบรมต่่อคณะอนุกุ รรมการหลักั
สููตรอาจาริิยสาสมาธิิ

(ภาคผนวก 2)
เอกสารประกอบภาคผนวก

2-1 แบบประเมินิ การสอบสอนหลัักสููตรอาจาริิยสาสมาธิิ
2-2 แบบประเมิินการสอน สถาบันั พลัังจิติ ตานุุภาพ

31


Click to View FlipBook Version