The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Soda Soda, 2022-12-10 19:42:18

ประเมินการรู้หนังสือ มัธยมศึกษาตอนต้น 2.2565

มัธยมศึกษาตอนต้น 2.2565

เคร่อื งมือประเมนิ ระดบั การรูหนงั สอื ของนักศกึ ษา กศน.

(การอา นออกเขียนได)
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

(ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศึกษา 2565)


สำหรับนักศกึ ษา

ชดุ ท่ี 1 การอานภาษาไทย
การประเมนิ ระดับการรูหนังสอื ของนักศกึ ษา กศน.
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน (ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2565)

แบบทดสอบชุดนี้ตองการวัดความสามารถการอานภาษาไทยของนักศึกษา กศน. แบงเปน 3 ตอน
ใชเวลา 20 นาที คะแนนเต็ม 100 คะแนน ดังนี้

ตอนท่ี 1 การอานคำ
คำชแี้ จง 1. ใหน กั ศกึ ษาอานคำตอไปนี้ใหถ ูกตอง ใชเ วลา 5 นาที จำนวน 50 คำ คำละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม

50 คะแนน

2. คำใดอา นไมไ ดใหผ า นแลว อา นคำถดั ไป

ที่ คำ ที่ คำ ท่ี คำ

1 อรุณ 21 ศตวรรษ 41 เศรษฐกิจ

2 เผชญิ 22 ประเมิน 42 ปราศจาก

3 สยาม 23 คำกลอน 43 นวตั กรรม

4 ทกั ษะ 24 พระหัตถ 44 อนสุ าวรีย

5 นิยาม 25 ออนไลน 45 คณติ ศาสตร

6 สำคัญ 26 วารสาร 46 มธั ยมศกึ ษา

7 อบรม 27 วทิ ยากร 47 พทุ ธศักราช

8 ปฏิบตั ิ 28 อธั ยาศยั 48 โรงพยาบาล

9 โอกาส 29 นโยบาย 49 พระราชดำริ

10 คำศัพท 30 ปลอดภยั 50 ประสิทธิภาพ

11 ขัน้ ตอน 31 อสิ รภาพ

12 ปรึกษา 32 นักศกึ ษา

13 สมัชชา 33 สญั ลักษณ

14 เจตคติ 34 กระทรวง

15 ผลผลิต 35 ครอบครัว

16 ปรัชญา 36 วเิ คราะห

17 ปจจุบนั 37 เชีย่ วชาญ

18 เอกสาร 38 ศิลปกรรม

19 แผนภูมิ 39 ประชากร

20 เอกภาพ 40 อกั ษรไทย

รวมไดคะแนน…..........................


สำหรบั นักศกึ ษา

ตอนที่ 2 การอานบทรอยแกว
คำชแ้ี จง ใหน ักศกึ ษาอา นคำที่กำหนดในบทความตอไปนีใ้ หถกู ตอ ง ใชเ วลา 10 นาที คำละ 5 คะแนน

คะแนนเต็ม 50 คะแนน

เรียนรู อะไร…อยา งไร…เพื่ออยใู หไ ดใ นศตวรรษที่ 21
สถานการณการเปลี่ยนแปลงของโลกทุกภูมิภาคกระทบตอปญหาสำคัญดานสิง่ แวดลอม ไมว าจะเปน
การบรโิ ภคที่สูงขึ้น มลภาวะเปนพิษ การลดลงของปาไม การเพิ่มขึ้นของประชากร สถานการณอพยพยายถ่ิน
ของกลุมชนตาง ๆ เพื่อใหไดอาชีพและความเปนอยูที่ดีขึ้น เกิดผลกระทบตอเศรษฐกิจ ทั้งดานบวก ดานลบ
และสงผลตอ สงั คมโดยทัว่ ไป
ในภมู ิภาคเอเชียแปซิฟก มีประชากรวยั แรงงานเพม่ิ สูงขึน้ เรือ่ ย ๆ ซ่ึงอาจเปนผลดีตอการเจริญเตบิ โต
ทางเศรษฐกิจ แตก็เปนความทาทายของแตละประเทศในการสรรหางานและอาชีพรองรับ นอกจากนี้ จำนวน
ประชากรผูสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น ทำใหเกิดผลกระทบตอการพัฒนากำลังคน ปญหาสุขภาพ ที่อยูอาศัย
ความยากจน และแมแ ตค วามแตกตางระหวา งวยั
การอพยพหลั่งไหลของแรงงานเขาสูตัวเมือง นำมาซึ่งปญหาดานสิ่งแวดลอมที่เพิ่มขึ้นในตัวเมือง
ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ปจจุบันจะเกิดผลกระทบอยางยิ่งใหญตองานดานอุตสาหกรรม พลังงาน
การขนสง ยานยนต การศกึ ษา หุนยนต ดงั นั้น งานในปจ จุบนั เปน ส่ิงท่ีลา สมยั จงึ จำเปนตองเตรียมคนใหพรอม
ในงานอาชีพใหมท่รี ับกับเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลง เชน การผลติ พลังงานขนาดใหญมาเปน แหลงผลิตขนาดยอม
ยานยนตแ บบไรค นขบั การออกแบบหุนยนตแทนแรงงานคน เปนตน
สภาพการเปลี่ยนแปลงดังกลาวนี้ จำเปนตองพัฒนาศักยภาพคน เพื่อใหสามารถรับมือกับความ
เปลี่ยนแปลง ทั้งทักษะการงานในอนาคต การสงเสริมสุขภาพ ความสัมพันธของคนในสังคมและการพัฒนา
อยา งยั่งยืน

ที่มา : การรหู นงั สือและการพฒั นาทักษะของประชากร ในศตวรรษที่ 21. เรยี นรู อะไร...อยางไร...เพ่อื อยใู หไ ดใ น
ศตวรรษที่ 21. หนา 21


สำหรับครู

ชดุ ท่ี 1 การอานภาษาไทย
การประเมินระดับการรหู นังสือของนกั ศกึ ษา กศน.
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน (ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศึกษา 2565)

ตอนท่ี 1 การอานคำ
คำชแ้ี จง 1. ใหน กั ศึกษาอานคำตอไปน้ีใหถูกตอง ใชเ วลา 5 นาที จำนวน 50 คำ คำละ 1 คะแนน คะแนนเตม็
50 คะแนน
2. คำใดอา นไมไดใหผานแลวอานคำถดั ไป
ท่ี คำ คำอาน ที่ คำ คำอา น

1 อรุณ อะ - รนุ 26 วารสาร วา - ระ - สาน

2 เผชิญ ผะ - เชิน 27 วิทยากร วิด - ทะ - ยา - กอน

3 สยาม สะ - หยาม 28 อธั ยาศยั อดั - ทะ - ยา - ไส

4 ทักษะ ทกั - สะ 29 นโยบาย นะ - โย - บาย

5 นิยาม นิ - ยาม 30 ปลอดภัย ปลอด - ไพ

6 สำคญั สำ - คัน 31 อิสรภาพ อดิ - สะ - ระ - พาบ

7 อบรม อบ - รม 32 นกั ศกึ ษา นกั - สกึ - สา

8 ปฏิบัติ ปะ - ติ - บดั 33 สัญลกั ษณ สัน - ยะ - ลกั

9 โอกาส โอ - กาด 34 กระทรวง กระ - ซวง

10 คำศัพท คำ - สบั 35 ครอบครัว ครอบ - ครัว

11 ขน้ั ตอน ข้ัน - ตอน 36 วเิ คราะห วิ - เคราะ

12 ปรกึ ษา ปรกึ - สา 37 เชย่ี วชาญ เชย่ี ว - ชาน

13 สมชั ชา สะ - มดั - ชา 38 ศลิ ปกรรม สนิ - ละ - ปะ - กำ

14 เจตคติ เจ - ตะ - คะ - ติ 39 ประชากร ประ - ชา - กอน

15 ผลผลติ ผน - ผะ - หลิด 40 อักษรไทย อกั - สอน - ไท

16 ปรชั ญา ปรัด– ยา/ปรดั - ชะ – ยา 41 เศรษฐกิจ เสด - ถะ - กดิ

17 ปจ จบุ นั ปด - จุ - บนั 42 ปราศจาก ปราด - สะ - จาก

18 เอกสาร เอก - กะ - สาน 43 นวัตกรรม นะ - วดั - ตะ - กำ

19 แผนภมู ิ แผน - พูม 44 อนสุ าวรยี  อะ - นุ - สา - วะ - รี

20 เอกภาพ เอก - กะ - พาบ 45 คณติ ศาสตร คะ - นดิ - ตะ – สาด

คะ - นิด - สาด

21 ศตวรรษ สะ - ตะ - วัด 46 มธั ยมศกึ ษา มดั - ทะ - ยม - สึก - สา

มดั - ทะ - ยม - มะ - สกึ - สา

22 ประเมิน ประ - เมิน 47 พุทธศกั ราช พุด - ทะ - สกั - กะ - หลาด

23 คำกลอน คำ - กลอน 48 โรงพยาบาล โรง - พะ - ยา - บาน

24 พระหตั ถ พระ - หดั 49 พระราชดำริ พระ - ราด - ชะ - ดำ - หริ

25 ออนไลน ออน - ไล 50 ประสิทธิภาพ ประ - สดิ - ทิ - พาบ

รวมไดคะแนน…..........................


สำหรบั ครู

ตอนท่ี 2 การอา นบทรอยแกว
คำชแ้ี จง ใหน ักศกึ ษาอา นคำท่กี ำหนดในบทความตอ ไปน้ีใหถูกตอง ใชเ วลา 10 นาที คำละ 5 คะแนน

คะแนนเต็ม 50 คะแนน

เรียนรู อะไร...อยา งไร...เพื่ออยูใหไ ดในศตวรรษท่ี 21
สถานการณ (1) การเปลี่ยนแปลงของโลกทุกภูมิภาคกระทบตอปญหาสำคัญดานสิ่งแวดลอม (2)
ไมวาจะเปนการบริโภค (3) ท่ีสูงข้ึน มลภาวะเปนพิษ การลดลงของปาไม การเพิ่มขึ้นของประชากร สถานการณ
อพยพ (4) ยายถิ่นของกลุมชนตาง ๆ เพื่อใหไดอาชีพและความเปน อยูท่ีดีข้ึน เกิดผลกระทบตอ เศรษฐกิจ (5)
ทั้งดา นบวก ดา นลบ และสงผลตอ สังคมโดยท่ัวไป
ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก (6) มีประชากรวัยแรงงานเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งอาจเปนผลดีตอการเจริญ
เติบโตทางเศรษฐกิจ แตก็เปนความทาทายของแตละประเทศในการสรรหางานและอาชีพรองรับ นอกจากนี้
จำนวนประชากรผูสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น ทำใหเกิดผลกระทบตอการพัฒนากำลังคน ปญหาสุขภาพ ที่อยูอาศัย
ความยากจน และแมแตความแตกตางระหวา งวัย
การอพยพหลั่งไหลของแรงงานเขาสูตัวเมือง นำมาซึ่งปญหาดานสิ่งแวดลอมที่เพิ่มขึ้นในตัวเมือง
ความกาวหนา ทางเทคโนโลยี (7) ปจจุบนั จะเกดิ ผลกระทบอยางย่งิ ใหญตองานดานอตุ สาหกรรม (8) พลังงาน
การขนสง ยานยนต การศึกษา หนุ ยนต ดังนนั้ งานในปจ จุบันเปน สิ่งทลี่ า สมยั จึงจำเปนตอ งเตรียมคนใหพรอม
ในงานอาชีพใหมที่รับกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง เชน การผลิตพลังงานขนาดใหญมาเปน
แหลง ผลติ ขนาดยอ ม ยานยนตแ บบไรค นขับ การออกแบบหนุ ยนตแทนแรงงานคน เปน ตน
สภาพการเปลี่ยนแปลงดังกลาวนี้ จำเปนตองพัฒนาศักยภาพคน (9) เพื่อใหสามารถรับมือกับ
ความเปลี่ยนแปลง ทั้งทักษะการงานในอนาคต การสงเสริมสุขภาพ ความสัมพนั ธ (10) ของคนในสังคมและ
การพัฒนาอยา งยง่ั ยืน

ทมี่ า : การรูห นังสือและการพัฒนาทกั ษะของประชากร ในศตวรรษที่ 21. เรยี นรู อะไร...อยางไร...เพอ่ื อยูใ หไดใ น

ศตวรรษท่ี 21. หนา 21.

ใหน ำคะแนนในตอนที่ 1 - 2 มารวมกนั แลวสรปุ ผลตาม รวมคะแนนทัง้ หมด...........................
เกณฑก ารประเมินสรปุ ผลการประเมินการอา น อานไดด มี ากและอานคลอ ง
อา นไดด ี อา นไดแ ตไ มคลอง
80 - 100 คะแนน หมายถึง อานไดดมี ากและอานคลอง อานพอได อา นไมได
60 - 79 คะแนน หมายถึง อา นไดด ี
40 - 59 คะแนน หมายถึง อา นไดแ ตไมคลอง รวมไดคะแนน…..............................
20 - 39 คะแนน หมายถงึ อา นพอได
0 - 19 คะแนน หมายถึง อา นไมได

เกณฑการตัดสนิ การประเมินระดบั การรูหนงั สือของนักศึกษา กศน.
ตอ งผานเกณฑการประเมิน ดังนี้
1. การอานภาษาไทย ไดคะแนนรวมการอา น ไมต ำ่ กวา รอ ยละ 60
2. การเขยี นภาษาไทย ไดคะแนนรวมการเขยี น ไมตำ่ กวารอยละ 60


สำหรับนักศึกษา
ชดุ ที่ 2 การเขียนภาษาไทย
การประเมนิ ระดบั การรูห นงั สือของนกั ศึกษา กศน.
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน (ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศึกษา 2565)
แบบทดสอบนี้ ตองการวัดความสามารถในการเขยี นของนกั ศกึ ษา ภายในเวลา 1 ชั่วโมง คะแนนเต็ม
100 คะแนน โดยแบงเปน 2 ตอน คอื ตอนที่ 1 การเขยี นเรือ่ งจากภาพใชเ วลา 30 นาที คะแนน 50 คะแนน
และตอนท่ี 2 การเขียนสรปุ ใจความสำคัญจากเร่ือง/บทความท่ีกำหนดให ใชเวลา 30 นาที คะแนน 50 คะแนน
ตอนที่ 1 การเขียนเร่อื งจากภาพ
คำชีแ้ จง ใหเ ลือกเขียนเร่ืองจากภาพเพยี ง 1 เร่ือง ในกระดาษท่ีแจกใหเ ทา น้นั โดยมีขอกำหนด ดงั น้ี
1. ชอ่ื เรือ่ งเหมาะสม สอดคลองกับภาพ
2. เนือ้ หาสาระสอดคลองกับภาพ เชน ใคร ทำอะไร ท่ีไหน เมื่อไร
3. การใชภ าษาสือ่ ความหมายไดถกู ตอ งเหมาะสมกับเร่ืองทเี่ ขียน
4. มกี ารสอดแทรกคติ หรือขอ คดิ เห็นทีเ่ ปน ประโยชน
5. เขยี นความยาวไมต ่ำกวา 10 บรรทดั

การเขยี นเรอ่ื งจากภาพ
ภาพที่ 1 ทฤษฎีใหมหวั ใจเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ท่ีมา : ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง https://sites.google.com/site/sersthkicphxphe22/
sersthkic-phx-pheiyng-1/prachya-sersthkic-phx-pheiyng (ออนไลน)
คน พบวนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2565


สำหรบั นักศกึ ษา

ภาพที่ 2 วิธีปองกันตนเองจากโรคโควิด-19

ท่มี า : https://fatgirlguides.com/songkranxcovid/ (ออนไลน) คน พบวนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2565
ภาพที่ 3 อาชีพของฉนั

ทีม่ า : เด็กไทยยคุ 4.0 อยากมอี าชีพอสิ ระสวนตัวมากสุด https://news.mthai.com/general
news/610307.html/ (ออนไลน) คน พบวันที่ 24 พฤษภาคม 2565


สำหรับนกั ศกึ ษา

ชดุ ท่ี 2 การเขยี นภาษาไทย
การประเมนิ ระดบั การรูห นงั สือของนักศกึ ษา กศน.
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน (ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2565)

ช่อื -นามสกุล......................................................................................รหัสประจำตัว...................................................
กศน.แขวง/ตำบล............................................เขต/อำเภอ....................................จังหวดั ..........................................

วันท่ี..............เดอื น...........................พ.ศ........................
ช่ือเรอ่ื ง..........................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

คะแนนท่ไี ด. .................................คะแนน

ลงชอ่ื .............................................ผูควบคมุ การทดสอบ


สำหรับนกั ศกึ ษา

ตอนท่ี 2 การเขียนสรุปใจความสำคัญ
คำชแ้ี จง แบบทดสอบนเ้ี ปน แบบวัดความสามารถดา นการเขียนสรปุ ใจความสำคัญของเน้ือเร่ือง ใหนักศึกษา

ใชเ วลา 30 นาที คะแนนเตม็ 50 คะแนน แลว เขยี นในกระดาษท่ีแจกให

การสวมใสหนากากในยุคที่ตองเผชิญกบั ปญหาฝนุ PM 2.5 และการระบาดของโรคโควดิ -19
ปจจุบันเราจะเห็นไดวาประเทศไทย กำลังเผชิญปญหาการระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยังคงไมนา
ไววางใจ โดยเฉพาะสายพันธุโอไมครอนที่มีการแพรระบาดอยางรวดเร็วในหลายจังหวัด รวมทั้งปญหา
ฝุนละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ที่มีแนวโนม ระดับคาฝุนสูงขึ้นในบางพื้นท่ี ทำใหประชาชนอยางเรา ๆ ตอ งดแู ล
สขุ ภาพและปองกนั ตนเองจากปญ หาดังกลาวมากขึ้น
อยางไรก็ตาม เราตอ งยอมรับวาการปองกันตนเองเบื้องตนงาย ๆ ทที่ กุ คนสามารถทำได คือ การสวมใส
หนากากกอนออกจากบา นหรือไปสถานทีต่ าง ๆ
แลว จะมใี ครสงสยั หรือมีคำถามหรือไม วาเราควรจะเลอื กใชหนา กากแบบไหน ถึงจะสามารถปองกนั
ตนเองจากโรคโควิด-19 และฝนุ ละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ไดบ าง เนือ่ งจากวาหนากากในปจจบุ ันมใี หเราเลือก
หลากหลาย ดงั นนั้ จงึ มขี อ มูลของหนากากแตละชนดิ ดังนี้
1. หนากาก N95 มีประสิทธิภาพในการปองกันโควิด-19 และฝุน PM 2.5 ไดอยางมปี ระสิทธิภาพสงู
เนือ่ งจากมีความสามารถในการกรองฝุนละอองที่มีขนาดเลก็ ไดถึง 0.3 ไมครอน และสามารถปองกันไดท ัง้ ฝุน
และเชื้อโรค
2. หนากากอนามัยทางการแพทย ที่มีชั้นกรอง 3 ชั้น สามารถปองกันเชื้อโรค มลพิษหรือของเหลว
จากภายนอก แตสามารถปองกันไดแคฝุนละอองขนาดใหญขนาด 3 ไมครอนได ไมสามารถปองกันฝุน
PM 2.5 ไดเนอื่ งจากมขี นาดเล็กกวา 3 ไมครอน
3. หนากากผา ก็จะมีประสิทธิภาพในการปองกันโควิด-19 ได เชนกัน แตตองพิจารณาเลือกใช
หนากากที่ผลิตจากผาท่ีมีคุณสมบัติปองกันอนุภาคขนาดเลก็ ปองกันการซึมผา นของนำ้ ได เชน ผาฝายมสั ลิน
ผา ฝายดิบ ผาสาลู เปนตน
อยางไรก็ตามการสวมหนากากเปนการปองกนั และลดความเส่ียงในการแพรกระจายเชื้อโควิด-19
และการปองกันตนเองจากฝนุ PM 2.5 ไดเบือ้ งตน หากเราตองออกไปนอกบานหรือไปสถานท่ตี า ง ๆ ขอให
ทกุ คนปอ งกันตนเองจากโรคโควิด-19

ท่ีมา : สถาบนั วิทยาศาสตรสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย กองโรคจากการประกอบอาชพี และ
สง่ิ แวดลอ ม. หนา 5.


สำหรบั นกั ศกึ ษา
ตอนที่ 2 การเขียนภาษาไทย
การประเมนิ ระดบั การรหู นังสือของนักศึกษา กศน.
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน (ภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2565)
2. การเขยี นสรปุ ใจความสำคญั
ชื่อ-นามสกุล...............................................................................................รหัสประจำตวั ..........................................
กศน.แขวง/ตำบล............................................เขต/อำเภอ....................................จังหวัด..........................................
วันที.่ .............เดือน...........................พ.ศ........................
ชอื่ เรือ่ ง..........................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

คะแนนท่ไี ด. .................................คะแนน
ลงช่ือ.............................................ผคู วบคมุ การทดสอบ


สำหรบั ครู
ชดุ ท่ี 2 การเขียนภาษาไทย
การประเมินระดับการรหู นังสือของนกั ศึกษา กศน.
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน (ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2565)
แบบทดสอบนี้ ตอ งการวดั ความสามารถในการเขียนของนกั ศึกษา ภายในเวลา 1 ช่ัวโมง คะแนนเต็ม
100 คะแนน โดยแบงเปน 2 ตอน คอื ตอนท่ี 1 การเขียนเรือ่ งจากภาพใชเ วลา 30 นาที คะแนน 50 คะแนน
และตอนที่ 2 การเขยี นสรุปใจความสำคัญจากเรื่อง/บทความทกี่ ำหนดให ใชเวลา 30 นาที คะแนน 50 คะแนน
ตอนท่ี 1 การเขียนเร่อื งจากภาพ
คำชแ้ี จง ใหเ ลือกเขียนเรื่องจากภาพเพียง 1 เรือ่ ง ในกระดาษที่แจกใหเทา น้ัน โดยมีขอ กำหนด ดงั น้ี
1. ช่ือเรื่องเหมาะสม สอดคลองกับภาพ
2. เน้ือหาสาระสอดคลองกับภาพ เชน ใคร ทำอะไร ท่ีไหน เมอื่ ไร
3. การใชภาษาส่ือความหมายไดถ กู ตอ งเหมาะสมกับเรื่องทีเ่ ขียน
4. มกี ารสอดแทรกคติ หรือขอ คดิ เห็นทเ่ี ปนประโยชน
5. เขยี นความยาวไมต่ำกวา 10 บรรทัด

การเขียนเรื่องจากภาพ
ภาพท่ี 1 ทฤษฎใี หมหัวใจเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ที่มา : ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง https://sites.google.com/site/sersthkicphxphe22/
sersthkic-phx-pheiyng-1/prachya-sersthkic-phx-pheiyng (ออนไลน)
คนพบวนั ที่ 24 พฤษภาคม 2565


สำหรับครู

ภาพท่ี 2 วธิ ีปอ งกนั ตนเองจากโรคโควดิ -19

ท่มี า : https://fatgirlguides.com/songkranxcovid/ (ออนไลน) คนพบวนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2565
ภาพที่ 3 อาชพี ของฉัน

ทีม่ า : เด็กไทยยุค 4.0 อยากมีอาชพี อสิ ระสวนตวั มากสดุ https://news.mthai.com/general-
news/610307.html/ (ออนไลน) คนพบวนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2565

เกณฑการใหค ะแนน 100 คะแนน ระดับคุณภาพ
เกณฑการใหคะแนน
 เขียนไดด มี ากและคลอง (80 - 100 คะแนน)
1. ช่อื เรอื่ งเหมาะสมสอดคลองกับภาพ (10 คะแนน)
 เขยี นไดด ี (60 - 79 คะแนน)
2. เน้อื หาสาระสอดคลอ งกบั ภาพ (40 คะแนน)
 เขยี นไดแ ตไมค ลอง (40 - 59 คะแนน)
3. การใชภาษาสอ่ื ความหมายไดถ ูกตองเหมาะสม
กบั เรือ่ งท่ีเขียน (30 คะแนน)  เขียนพอได (20 - 39 คะแนน)

4. มีการสอดแทรกคติ หรอื ขอคิดเห็นที่เปน ประโยชน  เขยี นไมได ( 0 - 19 คะแนน)
(10 คะแนน)

5. เขียนความยาวไมต ำ่ กวา 10 บรรทดั (10 คะแนน)


สำหรบั ครู

ตอนที่ 2 การเขยี นสรุปใจความสำคัญ
คำชี้แจง แบบทดสอบนเ้ี ปน แบบวัดความสามารถดา นการเขยี นสรปุ ใจความสำคัญของเนอื้ เรือ่ ง ใหนกั ศกึ ษา

ใชเ วลา 30 นาที คะแนนเตม็ 50 คะแนน แลวเขียนในกระดาษทีแ่ จกให

การสวมใสหนา กากในยคุ ท่ีตอ งเผชิญกบั ปญหาฝุน PM 2.5 และการระบาดของโรคโควดิ -19
การระบาดของโรคโควิด-19 สายพนั ธุโ อไมครอน และปญหาฝุน ละอองขนาดเล็ก PM 2.5 มีแนวโนม
สูงขึ้นในหลายพื้นที่ ซึ่งการปองกันตนเอง คือ การสวมใสหนากากกอนออกจากบานตลอดเวลา ซึ่งการใช
หนา กากมีหลายชนดิ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพตางกัน ดังน้ี
1. หนากาก N95 ปองกันโควิด-19 และฝุน PM 2.5 ไดดีท่ีสุด สามารถปองกันทั้งเชื้อโรคและฝุนที่มี
ขนาดเลก็ ไดถ ึง 0.3 ไมครอน
2. หนากากอนามัยที่มีชั้นกรอง 3 ชั้น ปองกันเชื้อโรค มลพิษหรือของเหลวจากภายนอก ฝุนละออง
ขนาดใหญกวา 3 ไมครอนได แตไ มสามารถปองกนั ฝุน PM 2.5 ได
3. หนา กากผา ควรใชผาฝายมัสลิน ผา ฝา ยดิบ ผาสาลู เพราะมีประสทิ ธภิ าพปองกันโควิด-19 ได
ดังนั้นการสวมหนากากอนามัย จึงชวยปองกันและลดความเสี่ยงการแพรกระจายเชื้อโรคโควิด-19
และฝุน PM 2.5 ไดเบอ้ื งตน หากเราตองออกจากบานตองยึดหลักเพื่อปอ งกันตนเอง

ทีม่ า : สถาบันวิทยาศาสตรส าธารณสุข กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย กองโรคจากการประกอบอาชพี แล
ส่งิ แวดลอม. หนา 5.
รวมไดคะแนน ........................
เกณฑการใหคะแนน
1. เขยี นสรปุ ใจความสำคัญไดต ามแนวท่ีเฉลย ได 50 คะแนน

2. เขยี นสรุปใจความสำคัญไดใกลเคยี งกับแนวเฉลย ได 40 คะแนน

3. เขยี นสรปุ ใจความสำคัญไดต ามแนวเฉลยสวนใดสวนหนึ่ง ได 30 คะแนน
4. เขียนสรุปใจความสำคัญไดตามแนวเฉลยบา ง ได 20 คะแนน

5. เขียนสรุปใจความสำคัญไดต ามแนวเฉลยนอ ยมาก ได 10 คะแนน

6. ไมเขยี นสรุปใจความสำคัญ ได 0 คะแนน รวมไดคะแนน ........................
ใหน ำคะแนนในตอนท่ี 1 - 2 มารวมกัน แลวสรปุ ผลคะแนน

เกณฑการประเมินสรุปผลการประเมนิ การเขียน

80 - 100 คะแนน หมายถงึ เขียนไดดีมากและเขียนคลอง รวมคะแนนทัง้ หมด...........................
60 - 79 คะแนน หมายถงึ เขียนไดด ี เขียนไดดีมากและเขียนคลอ ง
40 - 59 คะแนน หมายถึง เขยี นไดแตไมคลอง เขียนไดด ี เขียนไดแตไ มคลอง
20 - 39 คะแนน หมายถงึ เขยี นพอได เขยี นพอได เขียนไมไ ด
0 - 19 คะแนน หมายถึง เขียนไมได

เกณฑการตดั สนิ การประเมนิ ระดับการรหู นงั สือของนักศกึ ษา กศน.

ตอ งผา นเกณฑการประเมิน ดังน้ี
1. การอา นภาษาไทย ไดคะแนนรวมการอา น ไมต ่ำกวารอ ยละ 60

2. การเขยี นภาษาไทย ไดคะแนนรวมการเขยี น ไมต่ำกวา รอ ยละ 60


Click to View FlipBook Version