The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จุลสารสหเวชศาสตร์ ฉบับที่ 46

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aonnichcha.maungpho, 2021-09-15 06:02:23

จุลสารสหเวชศาสตร์ ฉบับที่ 46

จุลสารสหเวชศาสตร์ ฉบับที่ 46

AHS TU 1

Q&A รายงานว่า เชื้อไวรัสชนิดนี้อาจอยู่ในละอองฝอยขนาดเล็กกว่า 5
ไมครอน ซงึ่ สามารถลอ่ งลอยในอากาศไดน้ านกวา่ และตดิ ตอ่ ได้ในระยะ
ปัญหาคาใจโควิด ทมี่ ากกวา่ 1 เมตรได้ ดงั นนั้ ตง้ั แตเ่ ดอื นมถิ นุ ายนปนี เี้ ปน็ ตน้ มา องคก์ าร
ผศ.ดร.จรภี รณ์ เอกวฒั น์ชัย อนามยั โลกนอกจากจะคงเตอื นใหร้ ะมดั ระวงั การตดิ ตอ่ โรคทางละออง
อาจารยป์ ระจ�ำภาควิชาเทคนคิ การแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ ฝอยขนาดใหญ่และการสัมผัสแล้ว ยังให้ระมัดระวังการติดต่อทาง
ละอองฝอยขนาดเลก็ อกี ดว้ ย รวมทง้ั แนะนำ� ใหม้ มี าตรการปอ้ งกนั ทาง
Q1: โรคโควิด-19 เกิดจากเชื้ออะไร มีอาการอย่างไร กายภาพโดยเฉพาะการสวมหนา้ กากอนามยั อยา่ งเครง่ ครดั 2
เราตดิ รยึ งั นะ Q3: เชอื้ กอ่ โรคโควดิ 19 กำ� ลงั มกี ารกลายพนั ธ์ุใชห่ รอื ไม่ และจะมี
A: โรคโควดิ -19 (COVID-19; Coronavirus disease 2019) ความรนุ แรงมากขนึ้ หรอื ไม่
เกดิ จากการตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ทม่ี ชี อ่ื วา่ ซารโ์ ควที ู(SAR-CoV-2) A: เชอื้ ไวรสั ซาร์โควที ู (SAR-CoV-2) กอ่ โรคโควดิ -19 ซง่ึ เปน็ โรคอบุ ตั ิ
โดยเริ่มระบาดในเมืองอู่ฮ่ัน (Wuhan) ประเทศจีน ต้ังแต่ ใหม่ท่ีอาจน�ำไปสู่การอักเสบที่ปอดอย่างรุนแรง โดยความรุนแรงใน
ปลายเดอื นธนั วาคม ปี ค.ศ. 2019 เปน็ ตน้ มา ในระยะแรก การกอ่ โรคนนั้ อยู่ในระดบั ทสี่ งู กวา่ โรคไขห้ วดั ใหญ่ (Influenza) แตต่ ำ่�
จงึ ถกู เรยี กวา่ โรคปอดบวมอฮู่ นั่ ตอ่ มาโรคนไี้ ดก้ ระจายไปทวั่ กวา่ โรคซาร์ (SARS) และเมอรส์ (MERS)3 และสามารถแพรก่ ระจายได้
โลกอยา่ งรวดเรว็ จนองคก์ ารอนามยั โรคประกาศยกระดบั ดมี ากกวา่ เชอ้ื กอ่ โรคซาร์ (SARS) และเมอรส์ (MERS) ซงึ่ เปน็ เชอื้ ไวรสั
เป็นการระบาดใหญ่ท่ัวโลก (pandemic) และตั้งชื่อว่าโรค ในกลมุ่ เดยี วกนั 4 จากการศกึ ษาลำ� ดบั เบสในยโี นมของเชอื้ จากทวั่ โลก
โควดิ -19 (COVID-19) อาการของโรคมคี วามหลากหลาย พบวา่ มกี ารกลายพนั ธ์ุ (mutation) ของเชอ้ื เกดิ ขนึ้ ในระดบั ตำ�่ ๆ คอื
และมีความรุนแรงแตกต่างกันในแต่ละราย ต้ังแต่คล้ายไข้ นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 1 ของลำ� ดบั เบสในจโี นม จงึ คาดวา่ การกลายพนั ธ์ุ
หวดั ธรรมดา ไปจนถงึ โรคปอดอกั เสบรนุ แรง ไดแ้ ก่ ไข้ ไอ ไม่น่าส่งผลกระทบต่อการพัฒนาวัคซีนและยาในปัจจุบัน และความ
อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ หายใจถี่ หายใจล�ำบาก หอบ แตกตา่ งของลำ� ดบั เบสในยโี นมของเชอ้ื ทำ� ใหม้ กี ารแบง่ สายพนั ธอ์ุ อก
เหนื่อย ในบางรายอาจพบการสูญเสียการรับรสและกลิ่น เปน็ 6 สายพนั ธ์ุ (strain) เรม่ิ จาก สายพนั ธ์ุ L ทพี่ บในเมอื่ งอฮู่ นั่ เมอื่
ชว่ั คราว ทอ้ งเสยี มผี น่ื และในบางรายอาจพฒั นาเปน็ โรค เรม่ิ การระบาด ในเดอื นธนั วาคม ค.ศ. 2019 สายพนั ธ์ุ S ซงึ่ พบในระยะ
ทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง ไตวาย และเสียชีวิต แรกของการระบาด ในตน้ ปี ค.ศ. 2020 จากนน้ั กพ็ บสายพนั ธ์ุ V และ
โดยเฉพาะในผสู้ งู อายุ และผทู้ ม่ี โี รคประจำ� ตวั ไดแ้ ก่ โรคเบา G ในปจั จบุ นั สายพนั ธ์ุ G เปน็ สายพนั ธท์ุ กี่ ระจายอยมู่ ากทสี่ ดุ ซงึ่ ตอ่
หวาน และโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ การตรวจสอบเบอื้ งตน้ วา่ มามกี ารกลายพนั ธเ์ุ ปน็ สายพนั ธ์ุ GR และ GH5 ในขณะนขี้ อ้ มลู การ
เราติดโรคหรือไม่ นอกจากจะสังเกตอาการแล้ว ยังต้อง วิจัยยังไม่พบว่า มีการกลายพันธุ์ใดที่ส่งผลกระทบต่อความรุนแรง
ประเมินจากปัจจัยเส่ียงที่ทราบกัน ได้แก่ การเดินทางไป ของการเกดิ โรค รวมทง้ั การกลายพนั ธช์ุ นดิ D614G ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ การ
ยังหรือมาจากต่างประเทศที่เป็นพื้นท่ีระบาด การประกอบ เปลย่ี นแปลงทโ่ี ปรตนี Spike แตย่ งั ไมท่ ราบวา่ จะสง่ ผลในระดบั ฟโี นไทป์
อาชีพที่เกี่ยวกับการท่องเท่ียวและท�ำงานในสถานท่ีแออัด หรือไม่ และจากรายงานการวิจยั กไ็ มพ่ บความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งการก
การไปในสถานท่ีชุมนุมชนที่มีการรวมกลุ่มคนจ�ำนวนมาก ลายพนั ธช์ุ นดิ นก้ี บั การเขา้ รบั การรกั ษาตวั ในโรงพยาบาลของผปู้ ว่ ย6
การเจบ็ ปว่ ยกนั เปน็ กลมุ่ กอ้ นในบคุ คลจากสถานทเี่ ดยี วกนั การจดั แบง่ ชนดิ หรอื สายพนั ธข์ุ องเชอ้ื ซาร์โควที ตู ามลกั ษณะของจโี นม
และการเปน็ บคุ คลากรทางการแพทย์ การประมนิ อาการดว้ ย (genotyping) น้ี มปี ระโยชนม์ ากในการตดิ ตามการระบาดของเชอื้ และ
ตนเองนนั้ สามารถทำ� ได้โดยแบบประเมนิ จากหลายหนว่ ยงาน ณ ขณะนก้ี ย็ งั ไมม่ ขี อ้ มลู ความแตกตา่ งของสายพนั ธเ์ุ หลา่ นี้ในระดบั ฟี
โดยเฉพาะจากกรมควบคมุ โรค1 https://covid19.th-stat.com/ โนไทป์ โดยยังเชื่อว่าเชื้อไวรัสซาร์โควีทูน่าจะมีอยู่แค่ชนิด (subtype)
เดยี ว เพยี งแตม่ อี ยหู่ ลายจโี นไทปด์ งั กลา่ วขา้ งตน้
th/self_screening Q4: การพฒั นาวคั ซนี โรคโควดิ -19 จะสำ� เรจ็ เมอื่ ไหร่ วคั ซนี เปน็ วธิ ี
เดยี วทจ่ี ะหยดุ หยง้ั การระบาดใชห่ รอื ไม่
Q2: เชอื้ กอ่ โควดิ -19 ตดิ ตอ่ กนั ไดอ้ ยา่ งไร เชอื้ สามารถ A: การพฒั นาวคั ซนี ปอ้ งกนั โรคโควดิ 19 เปน็ ความหวงั สำ� คญั ในการ
ลอ่ งลอยอยู่ในอากาศไดจ้ รงิ หรอื ไม่ รับมือกับการระบาดของโรคน้ี อย่างไรก็ตาม กระบวนการพัฒนา
A: ข้อมูลการวิจัยในระยะแรกของการระบาด คือในช่วง วคั ซนี โดยปกตเิ ปน็ กระบวนการทตี่ อ้ งอาศยั เวลา และมหี ลายขน้ั ตอน
เดือนมีนาคมของปีน้ีระบุว่า เชื้อไวรัสชนิดนี้สามารถแพร่ ต้ังแต่ระดับพรีคลินิกซึ่งเป็นการศึกษาประสิทธิภาพของวัคซีนใน
กระจายไปกบั ละอองฝอยขนาดใหญม่ ากกวา่ 5-10 ไมครอน หอ้ งทดลอง และระดบั การทดลองในคนทแี่ บง่ ออกเปน็ 3 เฟส โดย
(droplets) เมอ่ื ผปู้ ว่ ยไอและจาม และการสมั ผสั (contact) เฟสหนึ่ง (phase I) เป็นการทดสอบปริมาณหรือโด๊สวัคซีนที่ใช้และ
สารคัดหลั่งของผู้ป่วย โดยปกติแล้ว การติดต่อโดยทาง ความปลอดภัยของวัคซีน เฟสสอง (phase II) เป็นการทดสอบ
ละอองฝอยขนาดใหญ่จะเกิดขึ้น เมื่อมีระยะใกล้ชิดผู้ป่วย ความปลอดภัยของวัคซีนในขนาดกลุ่มตัวอย่างท่ีใหญ่ข้ึน และเฟส
นอ้ ยกวา่ 1 เมตร อยา่ งไรกต็ าม ในระยะตอ่ มาไดเ้ รม่ิ มกี าร สาม (phase III) เป็นการทดสอบประสิทธิภาพในการป้องกันโรค

2 AHS TU

ของวัคซีนในแหล่งระบาดในกลุ่มประชากร
ขนาดใหญ่ จากน้ัน จึงเข้าสู่ขั้นตอนการ
รับรองเพ่ือใช้งาน ในปัจจุบันมีวัคซีนที่
กำ� ลงั พฒั นาในระยะพรคี ลนิ กิ มากกวา่ 160
ชนดิ อยู่ในระยะทดลองในคน 27 ชนดิ ซงึ่
ถือว่าเป็นการพัฒนาวัคซีนท่ีรวดเร็วเป็น
ประวัติการณ์7 เครื่องมืออีกชนิดหนึ่งที่
กำ� ลงั พฒั นาขนึ้ รบั มอื กบั โรคอบุ ตั ิใหมน่ ้ี คอื
ยา ในปัจจุบันยังไม่มียาที่ได้รับการรับรอง
ให้รักษาโรคโควิด 19 โดยเฉพาะ แต่มียาที่
ไดร้ บั ความสนใจและกำ� ลงั อยู่ในการวจิ ยั อยู่
ประมาณ 19 ชนิด8 (เราสามารถติดตาม
ความก้าวหน้าการพัฒนาวัคซีนและยาได้
ตามลงิ ค์ 4 และ 5) ในขณะนี้ ทว่ั โลกมกี าร
ควบคุมการระบาดในประเทศด้วยแนวทาง
ท่ีอาจแตกต่างกัน แต่มักมุ่งเน้นมาตรการ
ทางสาธารณสุขเพื่อชะลอการระบาดให้อยู่
ในระดับที่ระบบสาธารณสุขของประเทศยัง
รองรบั ได้ จนกวา่ จะเกดิ ภมู คิ มุ้ กนั หมู่ (Herd
immunity) ทเี่ ชอ่ื วา่ จะหยุดยง้ั การระบาดได้
โดยภมู คิ มุ้ กนั หมนู่ ส้ี ามารถเกดิ ขนึ้ ไดจ้ ากการ
ตดิ เชอื้ ธรรมชาติ และการไดร้ บั วคั ซนี

Q5: เราตอ้ งปฏบิ ตั ติ วั อยา่ งไร หากจะตอ้ ง 1. https://covid19.th-stat.com/th/self_screening
อยกู่ บั โควดิ 19 ไปอกี นาน 2. https://www.who.int/news-room/commentaries/detail/modes-of-transmission-of-virus-causing-covid-19-implica-
A: ถงึ แมว้ า่ ประเทศไทยเราจะผา่ นการระบาด tions-for-ipc-precaution-recommendations
ของโรคในชว่ งทผ่ี า่ นมา โดยสามารถควบคมุ 3. https://www.clinicalmicrobiologyandinfection.com/article/S1198-743X(20)30171-3/pdf
สถานการณก์ ารระบาดไดด้ ี แตจ่ ากการทเี่ รา 4. https://app.biorender.com/biorender-templates/t-5e6c044375555600a89026d1-epidemiolog-
ยังไม่มีวัคซีนและยารักษาท่ีมีประสิทธิภาพ ical-comparison-of-respiratory-viral-infections
จำ� เพาะตอ่ โรคโควดิ 19 รวมทง้ั สถานการณ์ 5. https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fmicb.2020.01800/full
การระบาดทว่ั โลกยงั คงไมด่ ขี นึ้ ในขณะน้ี จงึ 6. https://www.biorxiv.org/content/10.1101/2020.04.29.069054v2.full
ยังต้องคงมาตรการทางสาธารณสุขเพื่อ 7. https://www.nytimes.com/interactive/2020/science/coronavirus-vaccine-tracker.html
ควบคมุ การระบาดของโรค ทส่ี ำ� คญั คอื การ 8. https://www.nytimes.com/interactive/2020/science/coronavirus-drugs-treatments.html
ค้นหา คัดกรอง กักกันหรือคุมไว้สังเกต 9. https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/im_commands.php
รวมทง้ั รณรงค์ให้ประชาชนมคี วามรู้ในการ
ปอ้ งกนั ตนเอง และการใชม้ าตรการเวน้ ระยะ AHS TU 3
หา่ งทางสงั คม การปฏบิ ตั ติ นของประชาชน
ในแต่ละสถานการณ์สามารถติดตามจาก
ประกาศของกรมควบคมุ โรคตดิ ตอ่ 9 และใน
ส่วนการปฏิบัติตัวโดยทั่วไปของประชาชน
สรปุ โดยยอ่ ตามภาพ

วธิ กี ารตรวจวนิ จิ ฉยั โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนาสายพนั ธ์ใุ หม่ 2019 (COVID-19)

(real-time RT-PCR)โดยวธิ ี real-time reverse transcription polymerase-chain reaction
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จีระพงษ์ ทะนงศักดิ์ศรกี ลุ
หัวหนา้ หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารตรวจวนิ จิ ฉัยระดบั โมเลกลุ
ศนู ย์บรกิ ารสขุ ภาพคณะสหเวชศาสตร์

มรี ายงานผ้ปู ่วยรายแรกทม่ี อี าการปอดอักเสบ pneumonia (quencher) ตดิ อยู่ ตอ่ มานำ� หลอดทดลองดงั กลา่ วไปใส่ในเครอื่ ง
ไมท่ ราบสาเหตใุ นมณฑลอฮู่ นั่ ประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจนี เพมิ่ ปรมิ าณสารพันธกุ รรมที่เรยี กวา่ เครือ่ ง real-time PCR โดย
เมอ่ื วนั ท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2562 ตอ่ มาวนั ท่ี 3 มกราคม 2563 เครื่องดังกล่าวจะถูกต้ังโปรแกรมให้เปล่ียนแปลงอุณหภูมิในขั้น
ทางการประเทศจนี แจง้ เหตกุ ารณก์ ารระบาดของโรคปอดอกั เสบ ตอนแรกให้เหมาะสมกับการท�ำงานของเอนไซม์ชนิด reverse
pneumonia ไมท่ ราบสาเหตนุ ซี้ ง่ึ มลี กั ษณะการตดิ ตอ่ จากคนสคู่ น transcriptase เพ่ือเปล่ียนสารพันธุกรรมจาก RNA ไปเป็น
แบบ cluster ไปยังองค์การอนามัยโลก (WHO) ซง่ึ เบอ้ื งตน้ จาก complimentary DNA (cDNA) ต่อมาเครื่อง real-time PCR
การแยกเชื้อจากคนไข้และน�ำไปตรวจสอบด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะถูกต้ังโปรแกรมให้เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเพื่อกระตุ้นปฏิกิริยา
อิเล็กตรอนท�ำให้ทราบว่าเชื้อก่อโรคคือไวรัสที่มีรูปร่างเหมือน ลกู โซ่ (polymerase-chain reaction) ให้เกดิ ข้นึ วนซ�้ำ 45 รอบ
กับไวรสั ในกล่มุ coronavirus จนกระท่งั วันที่ 9 มกราคม 2563 (cycles) ส�ำหรับเพม่ิ ปรมิ าณสารพนั ธุกรรม cDNA โดย 1 รอบ
องค์การอนามัยโลกได้ประกาศการค้นพบไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ ของปฏิกริ ยิ าลูกโซ่ประกอบด้วย 3 ขัน้ ตอนยอ่ ยได้แก่ ข้นั ตอนที่
ใหม่ 2019 (2019-nCoV) ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคปอดอักเสบ หนึง่ คือ denaturation เปน็ ข้นั ตอนทเ่ี กิดข้ึนท่อี ณุ หภมู ิ 90-95
pneumonia ในมณฑลอู่ฮ่ัน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน องศาเซลเซยี ส เพอื่ แยกสายคขู่ อง cDNA ออกจากกนั ขน้ั ตอนที่
ตอ่ มาเม่ือวนั ท่ี 11 มกราคม 2563 นกั วิทยาศาสตรช์ าวจีนได้ สองคอื annealing เปน็ ขน้ั ตอนทเี่ กดิ ขน้ึ ทอี่ ณุ หภมู ิ 50-65 องศา
เผยแพรร่ หสั พนั ธกุ รรมของเชอื้ ไวรสั กอ่ โรค COVID-19 ใหท้ วั่ โลก เซลเซยี ส เป็นการลดอุณหภูมิลงมาจากขน้ั ตอน denaturation
ได้ทราบเป็นครั้งแรก และจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทาง เพื่อให้ ไพรเ์ มอร์ (primers) และ โพรบ (probes) สามารถเข้าไป
พันธกุ รรมกับไวรัส coronavirus สายพันธุ์ต่างๆ ทำ� ใหท้ ราบว่า จับกับลำ� ดับนิวคลโิ อไทดจ์ ำ� เพาะของไวรัส SARS-CoV-2 บนสาย
เป็นเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ท่ีไม่เคยมีรายงานมาก่อนและมี cDNA ขั้นตอนท่ีสามคอื extension เปน็ ขน้ั ตอนทีเ่ พมิ่ อณุ หภูมิ
ความใกล้เคียงกบั ไวรัส SARS-CoV จงึ เปล่ียนชื่อไวรัสสายพันธ์ุ ขน้ึ ไปเปน็ 72 องศาเซลเซยี ส เพอ่ื กระตนุ้ ใหเ้ อนไซมช์ นดิ TaqDNA
ใหม่นจ้ี าก 2019-nCoV เป็น SARS-CoV-2 และตั้งชื่อโรคว่าโรค polymerase ทำ� งานโดยการน�ำโมเลกลุ นิวคลิโอไทด์ (ATP, TTP,
ตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนาสายพนั ธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) CTP, GTP) มาต่อยังปลายสายไพร์เมอร์ (primers) ให้ยาวข้ึน
ขณะที่เอนไซมเ์ คลื่อนทไี่ ปตามสาย cDNA โดยล�ำดบั นิวคลโิ อไทด์
ภายหลังจากถอดรหัสพันธุกรรมของไวรัส SARS-CoV-2 ได้มี ที่น�ำมาต่อจะเป็นคู่สมกับล�ำดับเบสบนเส้น cDNA ที่เป็นต้นแบบ
การพฒั นาวธิ กี ารตรวจวนิ จิ ฉยั โรค COVID-19 โดยวธิ ี real-time และเมื่อ TaqDNA polymerase เคลื่อนมาเจอโพรบ (probes)
reverse transcription polymerase-chain reaction (real-time TaqDNA polymerase จะตดั โพรบโดยปฏิกิรยิ า 5’-3’ exonu-
RT-PCR) เพื่อหาสารพันธุกรรมของไวรัส SARS-CoV-2 ในสิ่ง clease ทำ� ใหส้ ารเรอื งแสงหลดุ ออกหา่ งมาจาก quencher ทำ� ให้
สง่ ตรวจท่เี ก็บจากผปู้ ่วยเชน่ nasopharyngeal หรือ oropha- สญั ญาณสารเรอื งแสงปลอ่ ยออกมา ซงึ่ ใชส้ ำ� หรบั เปน็ ตวั ตดิ ตาม
ryngeal swab เสมหะ น�้ำล้างปอด และ น้�ำลายที่ขากมาจาก (reporter) การเพม่ิ ปรมิ าณสารพนั ธกุ รรมของไวรสั ในแตล่ ะรอบ
posterior pharynx เป็นตน้ โดยมขี น้ั ตอนเร่มิ ต้นจากการสกดั ของปฏกิ ริ ยิ าลกู โซ่ เมอ่ื สนิ้ สดุ การตอ่ สายไพรเ์ มอรจ์ ะทำ� ให้ไดส้ าร
สารพันธกุ รรมชนิด RNA จากสงิ่ ส่งตรวจ จากนน้ั นำ� RNA ไป พันธุกรรมเพิม่ ข้ึนเป็น 2 เทา่ ของปรมิ าณ cDNA เร่มิ ต้น (copy
ใส่ในหลอดทดลองซง่ึ มอี งค์ประกอบหลักไดแ้ ก่ เอนไซม์ (ทัง้ ชนดิ numbers) ดังน้ันหากวนซ้ำ� ปฏิกิรยิ าลกู โซ่ 45 รอบ จะได้ปริมาณ
reverse transcriptase และ TaqDNA polymerase) นวิ คลโิ อไทด์ สารพนั ธกุ รรมไวรสั เพมิ่ ขน้ึ เปน็ 245 (35,184,372,088,832 copy
(ATP, TTP, CTP, GTP) ไพรเ์ มอร์ (primers) และ โพรบ (probes) numbers) เท่าของปริมาณ cDNA เร่ิมต้น โดยตรวจวัดจาก
ที่มโี มเลกลุ สารเรืองแสง (fluorescent dye) และตวั ดดู กลนื แสง ปริมาณสารเรอื งแสงทเี่ พิม่ ขนึ้

4 AHS TU

ณ ช่วงเวลาจริงที่เกิดในแต่ละรอบของปฏิกิริยาลูกโซ่ ซึ่งสัญญาณสาร
เรอื งแสงจะถกู ตรวจจบั โดยอปุ กรณภ์ ายในเครอ่ื ง real-time PCR และแปลง
สญั ญาณเปน็ เส้นกราฟ amplification graph ท่ีลกั ษณะเหมอื นรปู ตวั เอส
(S) เรยี กวา่ sigmoidal curve (รูปที่ 1)

รอบของปฏิกิริยาลูกโซ่ท่ีสามารถตรวจวัดสัญญาณสารเรืองแสงเหนือ
คา่ พนื้ ฐาน (threshold) ได้ครงั้ แรกเรยี กวา่ cycle of threshold (CT) โดย
ในปฏิกิริยาลูกโซ่ที่มีปริมาณสารพันธุกรรมไวรัสต้ังต้นอยู่สูงจะให้ CT ที่มี
ค่าน้อยกว่าปฏิกิริยาลูกโซ่ท่ีมีสารพันธุกรรมไวรัสปริมาณตั้งต้นท่ีต่�ำกว่า
เน่ืองจากปริมาณสารพันธุกรรมไวรัสตั้งต้นที่สูงกว่าจะใช้จ�ำนวนรอบของ
ปฏกิ ริ ยิ าลกู โซท่ นี่ อ้ ยกวา่ ในการเพมิ่ ปรมิ าณสารพนั ธกุ รรมไวรสั จนถงึ ระดบั
ท่ีตรวจวัดได้ หากในปฏกิ ริ ยิ าลูกโซ่ไมม่ ีสารพันธุกรรมไวรัสอยู่หรือมอี ยู่ใน
ปรมิ าณทตี่ ำ�่ กวา่ ระดบั limit of detection ของนำ�้ ยา real-time RT-PCR ที่ใช้
ทำ� ให้ไมพ่ บ amplification graph อกี กรณคี อื มี amplification graph แตค่ า่
CT สงู เกนิ 40 และไม่มลี กั ษณะ sigmoidal curve บง่ ชวี้ า่ ในปฏกิ ิริยาลูกโซ่มี
สารพนั ธกุ รรมไวรัสต่�ำกว่าระดับ limit of detection ของนำ้� ยา real-time
RT-PCR ที่ใชห้ รอื อาจมกี ารปนเปอ้ื นมาจากตวั อยา่ งทมี่ ไี วรสั ซงึ่ ควรขอเกบ็
ตัวอย่างใหมเ่ พือ่ ตรวจซำ�้

แหล่งอ้างองิ ขอ้ มูล
1. https://www.who.int/news-room/detail/29-06-2020-covidtimeline
2. https://www.ncbi.nlm.nih.gov/probe/docs/techqpcr/
3. Guglielmi G. The explosion of new coronavirus tests that could help to end the pandemic.
Nature. 2020;583(7817):506-509. doi:10.1038/d41586-020-02140-8

(แหล่งทม่ี าของภาพ: หอ้ งปฏิบตั ิการตรวจวนิ ิจฉัยระดับโมเลกลุ ศูนยบ์ ริการสุขภาพคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร)์
รูปท่ี 1 แสดง amplification curve การตรวจหารสารพนั ธกุ รรมไวรัส SARS-CoV-2 โดยวธิ ี real-time RT-PCR โดยใช้ primers และ
probes ทจี่ บั จำ� เพาะกบั ลำ� ดบั เบสบนตำ� แหนง่ ยนี E RdRd และ N สว่ น internal gene control เปน็ ชน้ิ สว่ น cDNA ทเ่ี ตมิ เขา้ ไปในปฏกิ ริ ยิ า
ลกู โซส่ ำ� หรับใชเ้ ป็นตัวควบคุมบวกของปฏกิ ริ ิยาลูกโซ่ ลูกศรระบคุ า่ CT ได้จากปฏิกริ ยิ าลกู โซ่จำ� เพาะตอ่ ยีนต่างๆ

AHS TU 5

รังสเี ทคนคิ กับ ไวรสั โคโรนา 2019

ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา 2019 กระบวนการตรวจ การวนิ จิ ฉยั โรค ในบรรดาบคุ ลากรทางการแพทย์ นกั รงั สี
ถอื เป็นตวั แปรหน่ึง ในการลดโอกาสการแพร่กระจายของโรค ย่ิงตรวจพบไดเ้ รว็ จำ� กดั เทคนิคถือเป็นหนึ่งในบุคคลท่ีมีโอกาส
ขอบเขตการแพรร่ ะบาดของโรคได้เร็ว และทำ� ใหร้ ักษาไดเ้ รว็ การใชร้ ังสีในการเอกซเรย์ สัมผัส และใกล้ชิดผู้ติดเช้ือไวรัสโคโรนา
ทรวงอกถือเป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ประเมินความรุนแรง (severity) และการด�ำเนินไป เร็วที่สุด เนื่องจากความรวดเร็วของ
ของโรค (disease progression) เครอื่ งมอื ทางรังสีในการสรา้ งภาพ ทำ� ให้
มีการใช้เคร่ืองเอกซเรย์เคลื่อนที่ และเคร่ืองเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ถ่ายภาพเอกซเรย์ การใช้รังสีเป็นวิธีท่ีถูกเลือกเพื่อวินิจฉัย
ทรวงอกมากขน้ึ เพอื่ คดั กรองกลมุ่ ทเ่ี สยี่ งตอ่ การตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา และเพอ่ื ใชป้ ระเมนิ และประเมินผ้ปู ว่ ยเปน็ อันดบั แรกๆ ดังนั้น
อาการของผู้ที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ซ่ึงการใช้เครื่องมือท่ีมีรังสีน้ัน ต้องอยู่ภายใต้การ การป้องกันและการควบคุมการติดเช้ือ
ควบคุม ดแู ลโดยบุคลากรทางการแพทย์ ท่ีเรยี กวา่ “นักรังสเี ทคนิค” ของนักรังสีเทคนิค จงึ มคี วามส�ำคัญเปน็
อย่างย่งิ

แนวปฏบิ ตั ิงานในการถา่ ยภาพเอกซเรย์ทรวงอก
สถานทสี่ ำ� หรับการถ่ายภาพเอกซเรย์
o ถา่ ยภาพเอกซเรย์ทรวงอกในห้องผปู้ ่วยท่ีเป็นห้องแยก
โดยใชเ้ ครอ่ื งเอกซเรยเ์ คลือ่ นที่และฉากตะกว่ั เคล่ือนท่ี
o ปิดประตูหอ้ งขณะเอกซเรยท์ รวงอก
เจ้าหน้าท่นี กั รังสีเทคนคิ
o ใส่ชุดป้องกนั ร่างกายสว่ นบคุ คล
(Personal Protective Equipment: PPE)
o กรณที ่ไี ม่มฉี ากตะก่ัว ให้สวมเส้อื ตะก่ัว
และ thyroid shield กอ่ นสวมชดุ PPE
o เฝา้ ระวัง อาการไข้ และเจ็บปว่ ยของเจา้ หน้าท่ผี ้ปู ฏิบตั ิงาน
เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการถ่ายภาพเอกซเรย์ทรวงอก
o เคร่อื งเอกซเรย์เคลือ่ นที่
o เคร่อื งเอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์

เคร่อื งมือที่ใช้ในการถ่ายภาพเอกซเรย์ทรวงอก

o เคร่อื งเอกซเรยเ์ คลอื่ นที่ o เครอ่ื งเอกซเรย์คอมพิวเตอร์

6 AHS TU

ผปู้ ว่ ยสว่ นใหญจ่ ะมรี อยโรคบรเิ วณปอด ดงั ภาพเอกซเรยค์ อมพวิ เตอรท์ แี่ สดงดา้ นบน ซง่ึ ถา่ ยจากผปู้ ว่ ย อายุ 30 ปี
หลงั จากแสดงอาการผดิ ปกติ 5 วนั (ภาพ D) 10 วนั (ภาพ E) และ 13 วนั (ภาพ F) ตามลำ� ดบั

ไวรสั โคโรนา ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่นเดียวกับรังสี ดังน้ันแนวทางท่ีผู้ปฏิบัติงานทาง
ด้านรังสีใช้ในการป้องกัน และลดความเสี่ยงจากรังสี จึงสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ใน
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนาได้เช่นกนั

รังสี ไวรัสโคโรนา

1. ระยะเวลา (Time) เช่นเดยี วกนั เพอื่ ให้โอกาสไดร้ ับเช้ือไวรัสนอ้ ยที่สดุ หรอื ไมไ่ ดร้ บั
การปฏบิ ัติงานทางดา้ นรังสีตอ้ งใชเ้ วลานอ้ ยทีส่ ดุ เพื่อป้องกัน เลย ในกรณที ่ตี ้องไปอยู่ในทช่ี ุมชน ควรรีบปฏบิ ตั ิภารกจิ อย่าง
ไม่ใหร้ ่างกายได้รับรังสเี กนิ มาตรฐานท่ีก�ำหนดไว้ส�ำหรับบคุ คล รวดเร็ว ไม่ควรใช้เวลานานเกนิ ไป

2. ระยะทาง (Distance) เชน่ เดยี วกนั เพอ่ื ลดโอกาสการรับเชอ้ื ไวรสั เราต้องยดึ หลกั
ความเข้มของรังสีหรอื ปรมิ าณรงั สีจะลดลง ตามระยะทางท่ีไกล Social Distancing
จากตน้ ก�ำเนดิ รงั สี

3. เคร่อื งกำ� บัง (Shielding) เช่นเดียวกัน การใสห่ นา้ กากอนามัย และ Face Shield ทุกครัง้
เครื่องก�ำบงั ทางรังสี เชน่ ฉากตะก่ัว เสือ้ ตะกว่ั สามารถป้องกัน ทต่ี อ้ งออกจากบา้ น หรือไปปฏิบัติภารกิจในทสี่ าธารณะ เครอื่ ง
ลดทอนความเขม้ ของรังสีหรอื ปริมาณรงั สีได้ ก�ำบังเหลา่ นีก้ ็สามารถปอ้ งกันการรบั เชอ้ื ไวรสั ได้เชน่ กนั

Time Distance Shielding ท่มี า

o https://www.fujifilm.eu/eu/covid-19
(23 กรกฏาคม 2563)

o https://sourceray.com/
(23 กรกฏาคม 2563)

o สมาคมรังสีเทคนิคแห่งประเทศไทยร่วมกับ
คณะกรรมการวชิ าชพี รงั สเี ทคนคิ

o ราชวทิ ยาลยั รงั สแี พทยแ์ หง่ ประเทศไทย
และรงั สวี ทิ ยาสมาคมแหง่ ประเทศไทย

o สถาบนั เทคโนโลยนี วิ เคลยี รแ์ หง่ ชาติ (สทน.)

AHS TU 7

ขผลอกรงะทบCขอOงกVารIรDะบา-ด1ให9ญ่

ต่อการจัดหาและการใช้เลือด
และส่วนประกอบของเลือด

การระบาดใหญ่ของ COVID-19 มีความ ผศ. ดร.กมั พล อินทรนชุ
ส�ำคัญอย่างมากต่อการให้เลือดและ
ส่วนประกอบของเลือด ในด้านของความ หอ้ งปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์การบรกิ ารโลหิต
ต้องการใช้เลือดและส่วนประกอบของเลือด บณั ฑติ ศึกษา สาขาชีวเวชศาสตร์
ของผู้ป่วยท่ีไม่แน่นอน ห้องปฏิบัติการ คณะสหเวชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
ธนาคารเลอื ดตอ้ งวางแผนลดการรบั บรจิ าค
การสูญเสียบุคลากรเนื่องจากความเจ็บ
ป่วยและข้อจ�ำกัดด้านสาธารณสุขในขณะท่ี
มีการระบาด ด้วยเหตุนี้จึงมีการรวบรวม
บทความท่ีเก่ียวข้องเพื่อใช้เป็นข้อแนะน�ำใน
ชว่ งเวลาของการขาดแคลนทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ โดย
การลดลงของผบู้ รจิ าคจำ� นวนมากนนั้ จะถกู
วางแผนคู่กับการลดลงของการใช้เลือดและ
สว่ นประกอบของเลอื ด มกี ารวางแผนฉกุ เฉนิ
รวมถึงนโยบายการจัดล�ำดับความส�ำคัญ
ส�ำหรับผู้ป่วยในกรณีท่ีมีการขาดแคลนตาม
ที่คาดการณ์ไว้ตัวอย่างดังแสดงในตาราง
ที่ 1 วางกลยุทธ์หลายอย่างชว่ ยใหส้ ามารถ
เขา้ ถงึ การใชเ้ ลอื ดและสว่ นประกอบของเลอื ด
อย่างสม�่ำเสมอในช่วงท่ีมีการระบาด และ
เตรียมพร้อมส�ำหรับการให้การรักษาแบบ
ใหม่เช่น การใช้พลาสมาที่มีโปรตีนภูมิคุ้มกัน
ตอ่ SARS-CoV-2 (convalescent plasma)
ส�ำหรับประเทศไทยมีการประกาศรับบริจาค
พลาสมาดงั กลา่ วอยา่ งเปน็ ทางการ ณ ศนู ย์
บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยโดย
ต้องมีคุณสมบัติเบื้องต้น ได้แก่ เป็นผู้ป่วย
โรค COVID-19 ท่ีรักษาหายแล้ว ไม่มอี าการ
ออกจากโรงพยาบาลและกกั ตัวครบ 14 วัน
สุขภาพร่างกายแข็งแรงดีแล้ว อายุ 17 ปี
บรบิ ูรณ์ ถงึ 60 ปี และมนี ้�ำหนักตวั ไมต่ �่ำกวา่
50 กโิ ลกรมั จากขอ้ แนะนำ� ขา้ งตน้ จะชว่ ยงาน
เวชศาสตร์การบริการโลหิตในโรงพยาบาล
ของประเทศตา่ ง ๆ ในระยะแพรร่ ะบาดได้

8 AHS TU

ตารางท่ี 1 กลยทุ ธ์ในการจดั ลำ� ดบั ความสำ� คัญการใช้เลือดและสว่ นประกอบของเลือด
สำ� หรับผู้ป่วยในโรงพยาบาลกรณีทีค่ าดการณป์ ัญหาการขาดแคลน

การใช้เมด็ เลือดแดง การพจิ ารณา ขอ้ แนะน�ำ
การขาดแคลนเมด็ เลอื ดแดง
– ทบทวนเกณฑก์ ารให้เลือดสำ� หรับผปู้ ่วยท่ีอาการ
คงทแ่ี ละมีความเส่ยี งต�่ำ (เชน่ ผู้ใหญ่และเดก็ ทมี่ อี าการ
เลก็ นอ้ ย แต่ไม่ใช่ภาวะโลหติ จางทีเ่ ป็นอนั ตรายต่อชีวติ )

การใชเ้ กลด็ เลอื ด การขาดแคลนเกล็ดเลือดส�ำหรบั – ทบทวนการใช้เกล็ดเลือดส�ำหรบั ปอ้ งกนั ภาวะเลือด
ปอ้ งกนั ภาวะเลือดออก ออกควรจำ� กดั ในผู้ป่วยท่มี ีภาวะเกล็ดเลอื ดต�่ำแตไ่ ม่มี
(prophylaxis transfusion) อาการเลอื ดออก รวมไปถึงผู้ป่วยปลูกถา่ ยเซลลต์ น้
ก�ำเนิดตนเอง

ภาวะเลือดออกชนดิ รนุ แรง การขาดแคลนเลือดสำ� หรับ – ทบทวนนโยบายการใช้สว่ นประกอบของเลือดที่
ผูป้ ่วยทมี่ ภี าวะเลอื ดออก ก�ำหนดดว้ ยการรักษาแบบใช้อตั ราสว่ น 1:1:1 สำ� หรบั
เซลล์เม็ดเลือดแดง:พลาสมา:เกล็ดเลือดหรอื 1:1
ทางเลือกอน่ื ๆ สำ� หรับการ เน้นการใชท้ างเลือกอน่ื ๆ สำ� หรบั ส�ำหรับเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง:พลาสมา กรณเี กล็ดเลอื ด
ไมเ่ พียงพอใช้งาน
ใหเ้ ลือดและส่วนประกอบ การให้เลือดและสว่ นประกอบของ – กรณเี มด็ เลอื ดแดงขาดแคลนให้พิจารณาให้
พลาสมาหรอื ส่วนประกอบของเลอื ดกอ่ นท่ีอตั ราส่วน
ของเลอื ด เลือดในกรณีขาดแคลน 1:2:1 (เม็ดเลือดแดง:พลาสมา:เกล็ดเลือด)
– กรณที ี่พลาสมาหรือ cryoprecipitate ขาดแคลนให้
พจิ ารณา prothrombin complex concentrate และ
fibrinogen concentrate
– กรณที ่ไี ม่มพี ลาสมาหมู่ AB ให้พิจารณาให้พลาสมา
เข้ากนั ไดห้ ม่อู นื่ ส�ำหรบั massive transfusion

– เสนอมาตรการทางเลือกอื่นเพือ่ เพ่ิมฮโี มโกลบนิ
ตามความเหมาะสม (เชน่ การให้ parenteral iron และ
erythropoietin)
– ยา tranexamic acid ควรจะนำ� เสนอใหก้ ับผปู้ ว่ ยท่ี
มีภาวะเกล็ดเลือดต�ำ่ อย่างรนุ แรง หรือผูป้ ่วยนอกทม่ี ี
ภาวะเกลด็ เลือดต�่ำเรอ้ื รงั

เอกสารอ้างองิ

1. Stanworth SJ, et al. Effects of the COVID-19 pandemic on supply and use of blood for transfusion. Lancet Haematol. 2020:S2352-
3026(20):30186-1.

2. Maitland K, et al. Immediate transfusion in African children with uncomplicated severe anemia. N Engl J Med. 2019;381(5):407-19.
3. Stanworth SJ, et al. A no-prophylaxis platelet-transfusion strategy for hematologic cancers. N Engl J Med. 2013;368(19):1771-80.
4. Sperry JL, et al. Prehospital plasma during air medical transport in trauma patients at risk for hemorrhagic shock. N Engl J Med.

2018;379(4):315-26.
5. Fabes J, et al. Pro-coagulant haemostatic factors for the prevention and treatment of bleeding in people

without haemophilia. Cochrane Database Syst Rev. 2018;12(12):CD010649.
6. Dunbar NM, et al. Safety of the use of group A plasma in trauma: the STAT study. Transfusion.

2017;57(8):1879-84.

AHS TU 9

สวสั ดคี รบั จากสถานการณ์ “โควดิ -19” กายภาพบำ� บดั กบั
ที่ยังมองไม่เห็นตอนอวสาน หลาย ๆ
ทา่ น นา่ จะไดร้ บั ผลกระทบทง้ั ทางตรงและทาง OFFICE & OFF-FIT syndrome
ออ้ ม ส่ิงหน่ึงท่ีเปลี่ยนแปลงไปคือ การ
เกิด social distancing ซงึ่ สามารถปฏบิ ัติ ไหลห่ อ่ ยกไหล่ ก้มคอ ซง่ึ ท�ำให้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อโดยเฉพาะบริเวณ คอ-บ่า
ได้เป็นอย่างดีในปัจจุบัน เน่ืองจากเรามี แขน และหลังส่วนล่าง กลุ่มอาการที่พบได้บ่อยได้แก่ กล้ามเนื้อคอบ่าอักเสบ
เทคโนโลยีในการส่ือสารที่ดีพอ เรามี เรอื้ รงั เอน็ รดั ขอ้ มอื อกั เสบกดทบั เสน้ ประสาท กลา้ มเนอื้ และเอน็ กลา้ มเนอ้ื หรอื
โทรศัพท์เคล่ือนที่แทบจะทุกคนเสมือน ปลอกเอ็นอกั เสบบรเิ วณแขน ความผิดปกติของความตึงตวั ของเส้นประสาท
เปน็ ผู้ช่วยสว่ นตัว เราใชม้ นั ในการส่ือสาร นวิ้ ล็อก ปวดหลังจากท่าทางผิดปรกติ
ซ้ือของ ท�ำธุรกรรม บางครั้งเราใช้
แทปเลตหรือโน๊ตบุ๊กในการท�ำงานและ จากท่ีกลา่ วมาจะเหน็ ได้วา่ แมเ้ ราสามารถป้องกนั การระบาดของโรคติดเชือ้ ได้
หลาย ๆ ครง้ั เรากใ็ ช้ในการเอนเตอร์เทน แต่อาจเกิดโรคอื่นจากพฤติกรรมใหม่ๆ
ตัวเองอีกด้วย ไม่ใช่แค่วิธีชีวิตส่วนตัวท่ี ฉะนน้ั การทำ� ให้ “be fit” เปน็ หนทาง
เปลี่ยนแปลงไป วิถีการท�ำงานของหลาย ในการป้องกัน “off fit” ได้เป็น
ๆ ท่านก็เปล่ียนไปเช่นกัน การยอมรับ อย่างดี โดยเราอาจหากิจกรรม
การท�ำงานในลักษณะ “Work From ภายในครอบครวั เชน่ การทำ� ความ
Home” หรือ “WFH” อาจไม่ใชแ่ คเ่ ทรนด์ สะอาดบ้านร่วมกัน การท�ำสวน
การท�ำงานท่ีเกิดข้ึนตามสมัยนิยม หรือ หรือการออกก�ำลังภายในบ้าน
“ทางเลือก” ในการท�ำงานเท่านั้น แต่ เช่น โยคะ การเต้นแอโรบิก หรือ
มันก�ำลังจะกลายเป็น “ทางรอด” การออกก�ำลังเพ่ือเสริมสร้าง
ของมวลมนุษยชาติ ขณะเกิดวิกฤต กล้ามเน้ือ (Weight training)
โรคระบาด ซ่ึงอาจจะเปล่ียน แปลง ภายในที่พักอาศัย ทานอาหารให้
เราตลอดไป อีกทั้งในอนาคตเราก็ ถูกสุขลักษณะ ไม่มากเกินไปหรือ
ไม่รู้ว่าจะมีโรคอะไรตามมาอีกหรือไม่ น้อยเกินไป ลดพฤติกรรมการ
ตดิ หนา้ จอ เทา่ นเ้ี รากจ็ ะปลอดภยั
จากสถานการณ์ดังกล่าวเราใช้เวลากับ จ า ก เ ชื้ อ โ ร ค แ ล ะ ยั ง ป ล อ ด ภั ย
หน้าจอมากขึ้นซึ่งเป็น พฤติกรรมเนือย จากภาวะ off fit ด้วยครบั
น่ิง หรือเราอาจเรียกง่าย ๆ ว่า Off fit
syndrome (ร่างกายไม่ฟิต) อันเป็น
สาเหตุของโรคหลายโรค ส�ำหรับในผู้ที่
มีอายุ 18 ขึ้นไป “พฤติกรรมเนือยน่ิง”
มีความสัมพันธ์กับอัตราการตายจาก
โรคหัวใจหลอดเลือด โรคเบาหวาน และ
ภาวะโรคอ้วนลงพุง ส่วนในเด็กจะท�ำให้
เสย่ี งตอ่ โรคอว้ น ความแขง็ แรงของกลา้ ม
เนอื้ พฤตกิ รรมการและการเขา้ สงั คม และ
อาจส่งกระทบผลการเรียน นอกจากนี้
พฤติกรรม “หน้าติดจอ” ซ่ึงอาจท�ำให้
เกิดโรค “Office syndrome”ตามมาได้
โดยมกั เกดิ จากลกั ษณะงานทต่ี อ้ งนงั่ หนา้
คอมพิวเตอร์ ท�ำงานอย่างใดอย่างหน่ึง
ด้วยท่าทางซ�้ำๆ ต่อเน่ืองเป็นระยะเวลา
หลายช่ัวโมง หรืออยู่ในท่าทางท่ีไม่เหมาะ
สมนาน ๆ เช่น การนัง่ หรือยืนหลังคอ่ ม

10 AHS TU

Setxreetrcchiisneg

เนื่องด้วยสถานการณ์โควิด 19 ส่งผลให้ ประโยชน์ของการยดื กลา้ มเน้อื
คนสว่ นใหญ่ ตอ้ งทำ� งานผา่ นระบบออนไลน์ 1. ชว่ ยเพ่มิ ความยดื หยนุ่ ตัวของกล้ามเนือ้ และขอ้ ตอ่
กันมากขึ้น ท�ำให้พบว่ามักจะประสบปัญหา 2. ช่วยลดความตงึ เครียดของกลา้ มเนือ้ และข้อต่อ
“ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome)” 3. ชว่ ยใหร้ ่างกายผอ่ นคลาย หรอื ลดอาการปวดเม่ือยตามร่างกาย
กันมากข้ึน ซึ่งเป็นกลุ่มของโรคท่ีพบบ่อยใน 4. ช่วยปอ้ งกันการบาดเจ็บจากการยดึ ของเอ็น ข้อต่อ และ กลา้ มเนอ้ื
กลุ่มนักเรียนนักศึกษาและกลุ่มคนท�ำงานที่ 5. ชว่ ยปอ้ งกันอาการของโรคขอ้ ตดิ และข้อเสื่อม
ต้องน่ังทำ� งานหรอื เรียนนาน ๆ ใช้งานกล้าม หลักปฏิบตั ิทว่ั ไปในการยืดกล้ามเนือ้
เนอ้ื ซำ้� ๆ รวมทง้ั อาจมกี ารจดั ระเบยี บรา่ งกาย 1. ควรท�ำการยดื กล้ามเนอ้ื เปน็ ประจ�ำทุกวัน หรอื อยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 3 คร้ัง
ที่ไม่ถูกต้องและเหมาะสม มักมีอาการปวด 2. ควรทำ� การยืดกลา้ มเนอ้ื กอ่ นและหลังท�ำการออกก�ำลังกายทุกครั้ง
เมอ่ื ยกล้ามเน้ือบริเวณคอ บา่ ไหล่ ดงั นั้นวัน 3. ควรทำ� การผ่อนคลายส่วนท่ีกำ� ลงั ยดื
นเ้ี ราจะมาอธบิ ายวธิ กี ารปอ้ งกนั ภาวะออฟฟศิ 4. ควรทำ� การยดื กลา้ มเน้อื จนกระทงั่ ถงึ จดุ ทร่ี สู้ ึกตึง แล้วหยุดนิง่ ค้างไวป้ ระมาณ
ซนิ โดรมในชว่ ง Work From Home ซง่ึ สามารถ 10 - 15 วนิ าที
ท�ำได้อย่างง่าย ๆ ซึ่งเราจะยกตัวอย่างการ 5. ไม่กล้นั ลมหายใจในขณะทำ� การยดื กลา้ มเน้อื
บรหิ ารร่างกายเป็นประจำ� เนน้ การยดื เหยียด 6. ไมค่ วรเคลอื่ นไหวในลักษณะกระตุก กระชาก ในขณะทำ� การยดื กล้ามเน้ือ
กล้ามเน้ือให้เกิดความยืดหยุ่นเพื่อเสริมความ 7. ควรจดั ทา่ ทางในการยดื กลา้ มเนอื้ ในแตล่ ะทา่ ใหถ้ กู ตอ้ ง เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ
แขง็ แรงใหร้ า่ งกายและกลา้ มเนอื้ มคี วามพรอ้ ม ในการยืดกล้ามเน้ือสงู สูด
ในการท�ำงาน **การยืดกล้ามเนื้อจะไม่ท�ำให้เกิดอาการปวดหรือเจ็บ หากมีอาการดังกล่าว
แสดงว่ายืดมากเกนิ ไป **
1
ท่าที่ 1 ท่ายืดกล้ามเนื้อคอด้านขา้ ง
o เอาฝา่ มอื วางบนศรี ษะ ใชม้ อื ดงึ คอใหเ้ อยี งไปดา้ นขวาจนเกดิ

แรงตงึ ที่ล�ำคอด้านขา้ ง
o จากนนั้ เปลีย่ นไปปฏบิ ตั อิ กี ขา้ งในลักษณะเดยี วกัน
o ทำ� คา้ งไว้คร้งั ละ 10-15 วินาที
o ทำ� รอบละ 10-15 คร้งั วันละ 2-3 รอบ

ทา่ ท่ี 2 ยืดกล้ามเนอ้ื คอด้านหลงั
o ประสานฝ่ามอื วางไว้ดา้ นหลงั ของศีรษะ กดศีรษะลง

จนเกิดแรงตงึ ท่ลี ำ� คอด้านหลงั

Str2etchinexgerciseo ท�ำคา้งไว้ครง้ั ละ10-15วินาที
o ฝกึ ทำ� รอบละ 10-15 คร้งั วนั ละ 2-3 รอบ
AHS TU 11

3 Stretchiexnercgise

ทา่ ที่ 3 ยดึ กลา้ มเนอื้ แขนทอ่ นบน
o ยกแขนขา้ งขวาขนึ้ เหนือศีรษะงอศอกให้อยเู่ หนอื ศีรษะ
o ใช้มือขา้ งซา้ ยจบั ข้อศอกขวาออกแรงดงึ โนม้ ไปดา้ นซา้ ย

จนรูส้ กึ ถึงทีต่ ้นแขนขา้ งขวา
o จากน้นั เปลย่ี นไปปฏิบัตอิ กี ข้างในลกั ษณะเดยี วกนั
o ทำ� คา้ งไว้ครั้งละ 10-15 วนิ าทีฝกึ ทำ� รอบละ 10-15 ครง้ั

วนั ละ 2-3 รอบ

4

ท่าที่ 4 ยืดกล้ามเน้อื ไหล่และสะบกั สว่ นบน
o ยืน่ แขนขา้ งขวาออกไปด้านหน้าแล้วใชแ้ ขนข้างซา้ ย วางทาบท่ีขอ้ ศอก

ข้างขวา
o ใชแ้ ขนข้างซา้ ยดึงโนม้ แขนข้างขวาเขา้ มาจนตงึ ถ้าทำ� ถกู จะตงึ ท่ไี หล่และ

สะบกั สว่ นบนขา้ งขวา
o จากน้นั เปล่ียนไปปฏบิ ตั ิอกี ขา้ งในลักษณะเดียวกัน
o ท�ำค้างไว้ครั้งละ 10-15 วินาที
o ฝึกท�ำรอบละ 10-15 คร้งั วนั ละ 3 รอบ

5 ทา่ ที่ 5 ยดื กล้ามเน้อื ด้านขา้ งล�ำตวั ชูมอื ท้ังสองข้าง
ขนึ้ เหนือศีรษะ

o มือท้งั สองข้างประสานกนั ไว้แขนท้ังสองเหยียดตรง
แล้วเอยี งตัวไปขา้ งดา้ นซ้ายจนรสู้ กึ ถงึ บรเิ วณกล้าม
เนื้อด้านขา้ งล�ำตัวขา้ งขวา

o จากน้ันเปลย่ี นไปปฏบิ ตั อิ ีกขา้ งในลักษณะเดียวกนั
o ท�ำค้างไวค้ รง้ั ละ 10-15 วนิ าที
o ฝึกทำ� รอบละ 10-15 ครง้ั วันละ 2-3 รอบ

12 AHS TU

ทา่ ท่ี 6 ยดื กลา้ มเน้อื สะโพกด้านหลงั และกลา้ มเนื้อหลงั สว่ นลา่ ง

AB

6
รูป A สองข้างพร้อมกนั รปู B ทา่ ทีละขา้ ง
o นอนหงายงอเขา่ งอสะโพกสองขา้ งขน้ึ o นอนหงายงอเขางอสะโพกขา้ งขวา
o ใชม้ อื ทงั้ สองขา้ งดงึ เขา่ ขา้ งขวาเขา้ มาชดิ หนา้ อกใหม้ ากทสี่ ดุ จนรสู้ กึ ตงึ บรเิ วณกลา้ ม
พร้อมกัน
o ใชม้ อื ทง้ั สองขา้ งดงึ เชา่ สองขา้ งเขา้ มา เน้ือสะโพกและกลา้ มเนื้อหลงั สว่ นลา่ ง
o จากน้ันเปลย่ี นไปปฏบิ ัตอิ ีกขา้ งในลักษณะเดียวกนั
ชดิ หนา้ อกใหม้ ากท่ีสดุ จนรู้สกึ ถึง o ทำ� คา้ งไว้ครงั้ ละ 10-15 วินาที ฝึกรอบละ 10-15 ครง้ั วันละ 2-3 รอบ
บรเิ วณกลา้ มเน้ือสะโพกและกล้ามเน้อื
หลงั สว่ นลา่ ง แต่ต้องไม่มอี าการปวด

7 ทา่ ท่ี 7 ยดึ กลา้ มเนอื้ สะโพกดา้ นขา้ งและกลา้ มเนอื้ หลงั สว่ นลา่ ง
o นอนหงายงอเข่างอสะโพกข้างขวาแลว้ ยกขาขา้ งขวาวางไขว้

ไปขาขา้ งซา้ ย

o ใชม้ อื ขา้ งซา้ ยดงึ เขา่ ขา้ งขวาลงไปทางดา้ นซา้ ยจนรสู้ กึ ถงึ บรเิ วณ
กล้ามเนือ้ สะโพกและกล้ามเนือ้ หลังสว่ นล่างดา้ นขา้ งขวา

o จากน้ันเปลีย่ นไปปฏบิ ัติอีกข้างในลักษณะเดยี วกนั

o ทำ� คา้ งไว้คร้ังละ 10-15 วนิ าที

o ฝกึ ทำ� รอบละ 10-15 ครัง้ วันละ 2-3 รอบ

การยดื เหยยี ดกลา้ มเนอื้ นนั้ จะเปน็ วธิ กี ารเพมิ่ มมุ การเคลอ่ื นไหวของ
ข้อต่อ เพิ่มความยืดหยุ่นของเนื้อเยื่ออ่อนต่าง ๆ ซึ่งอาจเกิดจาก
การหดสน้ั ขอ้ ฝดื หรอื ขอ้ ตดิ ทำ� ใหม้ มุ การเคลอ่ื นไหวของขอ้ ลดลง
สาเหตมุ าจากการไม่ไดข้ ยบั ขอ้ นนั้ เปน็ เวลานาน มอี าการปวด กลา้ ม
เนอื้ ไมส่ มดลุ หรอื มภี าวะออ่ นแรง เปน็ ตน้ ดงั นน้ั การยดื เหยยี ดอยา่ ง
ถูกต้อง ต้องกระท�ำอย่างต่อเน่ือง และถูกวิธี ก็จะสามารถช่วย
บรรเทา และลดการเจบ็ ปวดจากภาวะออฟฟิศซนิ โดรมลงได้

แหลง่ ขอ้ มลู อ้างอิง
https://www.thonburihospital.com/Stretching_exercise.html
https://w1.med.cmu.ac.th/rehab/images/Study_guide/08_1MSKExercise_JR.pdf
https://www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/work-from-home-and-office-syndrome

AHS TU 13

แศนพวทผางู้เกสาียรจชัดีวกาิตร เปน็ ทท่ี ราบกันโดยทว่ั ไปวา่ โรคโควดิ 19 (COVID-19) อันเกดิ จากการ
ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (severe respiratory syn-
ทต่ี ดิ เชอื้ โคโรนา 2019 drome coronavirus-2 หรอื SARS-CoV-2) ไดค้ รา่ ชีวิตประชากรทั่วโลก
มากกว่าลา้ นคนนับตั้งแตช่ ว่ งตน้ ปี 2563 ทผ่ี า่ นมา และเน่อื งจากยังไม่มี
ในประเทศไทย ยาหรือวัคซีนท่ีใช้รักษาและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ท�ำให้ท่ัวโลก
ตา่ งเฝา้ ระวงั การแพรร่ ะบาดตลอดจนยกระดบั มาตรการการปอ้ งกนั การ
เรยี บเรบี งโดย อาจารย์ ดร.ภญิ ญาพัชญ์ ค�ำพิคำ� แพรร่ ะบาดขนั้ สงู สดุ การจดั การศพของผเู้ สยี ชวี ติ ทตี่ ดิ เชอื้ โคโรนา 2019
สาขาวิชานิติวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ อย่างเหมาะสมจึงจ�ำเป็นอย่างย่ิงเพ่ือเพ่ิมความปลอดภัยให้กับผู้ปฏิบัติ
งานตลอดจนลดความวติ กกังวลของสังคมได้

ในประเทศไทย กองบรหิ ารการสาธารณสุข (กบรส.) สาํ นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ได้เผยแพร่แนวทางการจัดการศพ
ทต่ี ิดเชือ้ หรอื สงสยั วา่ ติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 เม่อื วนั ที่ 1 เมษายน 2563 โดยมแี นวปฏบิ ตั ิโดยสรปุ พอสงั เขปดงั น้ี

เมอ่ื มผี ู้เสยี ชวี ติ ที่ไดร้ ับการ กรณเี สยี ชวี ติ นอกโรงพยาบาล ก่อนการเขา้ ไปในพนื้ ที่ท่ีศพ

1 ยืนยันว่าติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2 ให้แจ้งแพทย์เวรชันสูตร 3 อยู่ให้ผปู้ ฏิบัติงานใส่ชดุ PPE

2019 ให้แจง้ แพทยป์ ระจ�ำ พลิกศพเพ่ือท�ำการเก็บ ตามทีก่ ําหนดและให้หวั หน้าทมี
โรงพยาบาล หรือ สำ� นักงานสาธารณสุข ตัวอย่างจากทางเดินหายใจสว่ นบนด้วย ตรวจสอบความเรยี บร้อยของชดุ PPE
จงั หวดั วธิ ี nasopharyngeal swab เพือ่ สง่ อกี คร้ังก่อนเข้าพืน้ ที่
ตรวจยนื ยนั การติดเช้อื และให้บันทึก
นำ� ศพใส่ถงุ บรรจุศพมาตรฐาน ภาพศพจากระยะไกล หากจำ� เปน็ ต้องผ่า ดันรถเข็นศพผ่านพ้ืนท่ี
พสิ ูจนเ์ พื่อระบสุ าเหตกุ ารตายให้สวมชุด
4 OSHA (ถุงศพทว่ั ไปใช้ 2 ถุง) PPE ชนดิ coverall ร่วมกบั การใส่ face 6 decontamination มาท่ี
shield with particulate mask
โดยใช้ผา้ ปเู ตียงข้ึนมาพนั หอ่ พ้ืนท่สี ะอาดให้ผู้ปฏบิ ตั งิ าน
ศพ ผกู คลอ้ งซิปดว้ ยสายเคเบล้ิ และป้าย 5 ระหว่างการปฏิบัติงานให้ ภายนอกห้องเขน็ รับศพออกไป หรอื ยก
ช่ือศพ ตดิ ปา้ ยสัญลักษณว์ ัตถอุ นั ตราย หมั่นล้างมอื ทง้ั ถงุ มือด้วย ศพข้ึนรถโดยจับบริเวณหจู บั
ทางชีวภาพ เชด็ น้�ำยาฆา่ เช้ือดา้ นนอกถุง แอลกอฮอล์
ศพ และเตยี งรถเข็นศพ สามารถใช้วธิ ีการเผาศพหรือ
หา้ มเปิดถงุ บรรจุศพ เพื่อดูศพ
ญาติผูเ้ สียชวี ิตและผ้ปู ฏิบตั ิงาน 9 การฝงั ศพสาํ หรบั ผูเ้ สยี ชวี ติ
8 รดนำ้� ศพ ทาํ ความสะอาดศพ
7 ในการประกอบพธิ ีทางศาสนา ท่ีตรวจพบการตดิ เชือ้ ไวรสั
เปลี่ยนเส้ือผา้ ฉดี นำ�้ ยารกั ษา โคโรนา 2019 ก็ได้ ทง้ั น้ีให้คํานึงถึงความ
สามารถสมั ผสั ถงุ ศพภายนอก สภาพศพ หรอื ประกอบพิธีทางศาสนา เชอื่ และประเพณีตามศาสนาของผู้เสยี
ทผี่ า่ นการทาํ ความ สะอาดฆ่าเชอื้ มาแลว้ อ่นื ๆ ชวี ติ การเก็บเถ้ากระดกู สามารถกระทํา
โดยใสถ่ ุงมือยางแบบใช้แล้วท้งิ ช้ันเดียว ไดต้ ามปกติ เนื่องจากเชอื้ ไวรัสถูกทาํ ลาย
ดว้ ยอุณหภมู ิทีส่ งู ไปหมดแล้ว อยา่ งไร
กต็ ามญาตคิ วรปฏิบตั ติ ามคําแนะนาํ ของ

เจ้าพนกั งานควบคุมโรคตดิ ตอ่ หรือเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ ในพืน้ ทอี่ ย่างเคร่งครดั ไม่ควรสมั ผัสถงุ ศพของผเู้ สียชวี ติ โดย
ไมจ่ �ำเป็น และใหเ้ ผาศพหรือฝงั ศพโดยเรว็ เนือ่ งจากศพไมไ่ ด้ผา่ นการฉดี น�้ำยารกั ษาสภาพศพ ทําให้ศพมีการเปลี่ยนแปลง
สภาพไดเ้ รว็ และอาจทาํ ใหเ้ กิดการรั่วซึมของของเหลวทเ่ี กดิ จากการเนา่ ได้ ทัง้ น้ผี สู้ นใจสามารถดาวน์โหลดหรือศึกษา
เพ่มิ เติม แนวทางการจัดการศพท่ตี ดิ เชอ้ื หรือสงสยั วา่ ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Guidance for Handling of Human Remains of Confirmed or
Suspected COVID 2019) ของกองบรหิ ารการสาธารณสขุ (กบรส.)
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ไดท้ ่ี
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/g_health_care/
g04_cremation_020463.pdf

14 AHS TU


Click to View FlipBook Version