The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประกันคุณภาพทางการศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaras atiwitthayaporn, 2020-04-08 07:13:31

การประกันคุณภาพ

การประกันคุณภาพทางการศึกษา

Keywords: ประกัน

การประกนั คุณภาพการศึกษา

การศึกษาคือเครื่องมือเดยี ว
ในการเปลย่ี นคน

แนวคิดการประกนั คุณภาพ

Deming นิยามวา่ คุณภาพ คือ
ระดบั ท่ีสามารถทานายไดข้ อง
ความเหมือนและความไวว้ างใจ

Juran นิยาม คุณภาพ คือ
ความเหมาะสมสาหรับการใช้

Crosby นิยามวา่ คุณภาพ คือ
ความตรงตามขอ้ กาหนด ไม่ใช่
ความดีหรือความสวยงาม

Hutchins (1991 : 1-2) สรุปวา่ คณุ ภาพ สามารถ
นิยามไดห้ ลายประการขนึ้ อยกู่ บั พืน้ ฐานของแนวคดิ คือ

คุณภาพ หมายถงึ ความตรงตามลกั ษณะเฉพาะ
และมาตรฐานในการใชป้ ระโยชนข์ ององคก์ รเป็น
นิยามทถี่ ือองคก์ รเป็นพืน้ ฐาน

คุณภาพ หมายถงึ ความเหมาะสมกบั การใชข้ อง

สินคา้ หรอื บรกิ ารเป็นนยิ ามที่ถือเอาความพงึ พอใจ
ของลกู คา้ เป็นพืน้ ฐาน

จงสรุปความหมายของคาวา่ “คุณภาพ”
ดว้ ยความคิดเห็นของตนเอง แลว้ บนั ทึกลง

ใน Google Classroom

ทาไมตอ้ งประกนั ?



ความเสี่ยง : หมายถึงโอกาสท่ีจะเกิดความ
ผดิ พลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญ
เปล่า หรือเหตุการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ ท่ีทาให้
งานไม่ประสบความสาเร็จ

แหล่งทมี่ าของความเสี่ยง

ปัจจัยภายนอก ไดแ้ ก่ เศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง
กฎหมาย คู่แข่งพฤตกิ รรม ผู้บริโภค เทคโนโลยี ภยั
ธรรมชาติ

ปัจจัยภายใน ไดแ้ ก่ วัฒนธรรมองคก์ ร ความรู้
ความสามารถของบุคลากร กระบวนการทางานระบบ
ข้อมูลสารสนเทศ

8

แหล่งท่ีมาของความเส่ียง

ภายในองค์การ เช่น ภายนอกองคก์ าร เช่น
• การเปล่ยี นแปลงในกฎหมาย
• สถานที่ทางานทไี่ ม่ปลอดภัย • การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกจิ
• กระแสโลกาภวิ ัตน์
• ระบบบญั ชีที่ไม่น่าเช่ือถือ • เสถยี รภาพทางการเมอื ง
• ความไมแ่ น่นอนทางเศรษฐกจิ
• วฒั นธรรมองค์กรทไ่ี ม่เอือ้ ต่อ • การเปล่ียนแปลงในพฤตกิ รรม
การสร้างประสิทธิภาพการ
ทางาน ผู้บริโภค
• กระแสสังคม สงิ่ แวดล้อม
• การฝึ กอบรมพนักงานทไ่ี ม่ • การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
เพยี งพอ

• ความขดั แย้งทางผลประโยชน์
(Conflict of Interest)

ความเส่ียงและความไม่แน่นอนตามปริมาณข้อมูลความสูญเสีย

ไม่มขี ้อมูล ข้อมูลทส่ี มบูรณ์
ความไม่แน่นอน ความเสี่ยง

ทฤษฎีบริหารความเส่ียง 4 Ts

• การยอมรับความเสีย่ ง (Take Risk)
• การควบคุมความเส่ียง (Treat Risk)
• การถ่ายโอนความเส่ยี ง (Transfer Risk)
• การกาจัดความเสยี่ ง (Terminate Risk)

การควบคุมความเสี่ยง

• แบบป้องกนั (Preventive Control)
• แบบคน้ พบ (Detective Control)
• แบบแก้ไข (Corrective Control)
• แบบส่งเสริม (Directive Control)

ข้นั ตอนในการประเมินความเส่ียง

• การระบุปัจจัยเส่ียง (Risk Identification)
• การวเิ คราะหค์ วามเส่ียง (Risk Analysis)
• การบริหารความเสี่ยง (Risk

Management)



วตั ถุประสงคข์ องการบริหารความเสีย่ ง



➅ ป้ องกันความเสี่ยงที่ไม่ได้ ➁
เพอื่ ส่งเสริมธรรมาภิบาล คาดคิด/ลดความเสีย่ ง ช่วยให้องค์กรบรรลุ
ภายในองคก์ ร เป้ าหมาย
ทาไมตอ้ ง
บริหารความเสยี่ ง ➂
เพิม่ ประสิทธิภาพการ
ทางานภายในองคก์ ร



แกไ้ ขปัญหาระยะส้นั และ ➃
ระยะยาวไดท้ นั ช่ ว ย ว า ง แ ผ น
สถานการณ์ ภายในองคก์ ร

ประโยชนข์ องการบริหารความเสีย่ ง



ช่วยในการกาหนดกลยุทธ์

➃ องคก์ ร

ช่วยในการติดตามผล



ช่วยลดความเสี่ยงใหอ้ ยู่ในระดบั

➁ ที่ยอมรบั ได้

ช่ ว ย ใ น ก า ร ตัด สิ น ใ จ

➀ ของผูบ้ ริหาร

ช่วยช้ ีให้เห็นถึงปั ญหา
ขององคก์ ร

1. ผลกระทบจากการ
เกดิ ความเส่ียงที่

หน่วยงานยอมรับได้

(impact)

4. ความเร่งดว่ น การประเมิน 2. โอกาส
ทจ่ี ะต้องปรับปรุง ความเสี่ยง ทจ่ี ะเกดิ ขึน้
(likelihood)
(timescales)

3. ความสามารถ
ทจี่ ะปรับปรุงใหด้ ขี นึ้
(ability to improve)

บริหารความเส่ียงดว้ ยการ
ประกนั คุณภาพ

การประกนั คุณภาพคืออะไร

• Sallis (2002:17) นิยามว่า การประกนั คุณภาพ

คือ การออกแบบคุณภาพมุ่งสู่กระบวนการสร้าง
ความตระหนักและความมัน่ ใจในผลผลติ

การประกนั คุณภาพคืออะไร

Hoy, Bayne-Jardine and Wood (2000 : 11) นิยามการ
ประกนั คุณภาพไว้ดงั นี้

• 1. เป็ นข้อกาหนดมาตรฐานโดยผู้เช่ียวชาญ

• 2. มาตรฐานคุณภาพการจัดการเป็ นการสร้างข้อตกลง ของ
ความจาเป็ นในการจัดหาคุณภาพตามความคาดหวังและ
ความต้องการของลูกค้า

การประกนั คุณภาพคืออะไร

• การประกันคุณภาพ คือ กลยุทธ์ที่ได้วางแผน
ไว้อย่างเป็ นระบบและการปฏิบัติงานที่ได้มีการ
ออกแบบไว้ โดยเฉพาะ เพ่ือรั บประกันว่ า
กระบวนการได้ รั บการดู แล รวมถึงการ
ปฏิบัติงานน้ันมุ่งไปสู่ เป้ าหมายที่ต้ังไว้ อยู่
ตลอดเวลา (Cuttance ,1994:5)

การประกนั คุณภาพคืออะไร

• การประกันคุณภาพ คือ เป็ นระบบการ
ควบคุมตรวจสอบ และตดั สินคุณภาพตามเกณฑ์
ที่กาหนด มีการควบคุมให้เกิดการปฏิบัติตาม
เกณฑ์ มีการตรวจสอบการปฏิบัติ และตัดสินว่า
งานน้ันบรรลุตามเกณฑ์หรือไม่(สมคิด พรมจุ้ย
และสุพกั ตร์ พบิ ูลย์ ,2545)

.....................(2561) สรุปไดว้ ่า การประกนั คุณภาพ
หมายถึง

บริหารความเส่ียง
ดว้ ย

การควบคุมภายใน (Internal Control)

การควบคุมภายใน: เป็นกระบวนการท่ีผกู้ ากบั ดูแล
ฝ่ ายบริหารและบุคลากรของหน่วยรับตรวจ
กาหนดใหม้ ีข้ึน เพ่อื ใหเ้ กิดความมนั่ ใจอยา่ งสม

เหตุผล วา่ การดาเนินงานของหน่วยรับตรวจจะบรรลุ
วตั ถุประสงค์

วตั ถุประสงคข์ องการควบคุมภายใน

• คณุ ภาพของการดาเนนิ งาน
• ปอ้ งกนั การร่วั ไหล สญู เสีย ทจุ รติ
• ความเชื่อถือของการรายงาน
• ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และระเบยี บท่เี ก่ียวขอ้ ง

การควบคุมภายในงานวิชาการ

• การควบคุมภายใน: จดั ใหม้ ีขอบข่ายงานท่ีชดั เจน
มีดชั นีชีว้ ดั เกณฑป์ ระเมิน

• การตรวจสอบภายใน: จดั ใหม้ ีการประกนั
คณุ ภาพภายใน

หนา้ ที่ของผบู้ ริหาร

• จดั ใหม้ ีหนว่ ยตรวจสอบการควบคมุ ภายใน
• ประเมนิ การควบคมุ ภายในทกุ หนว่ ยงาน
• นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงพฒั นา

ลกั ษณะระบบคุณภาพ

• 1. มีการออกแบบโครงสร้างความรับผดิ ชอบ
ข้นั ตอน กระบวนการ และแหล่งทรัพยากรของ
องคก์ ร เพือ่ นามาใชก้ บั การบริหารเพอื่ คุณภาพ

• 2. ฝ่ ายบริหารไดพ้ ฒั นาจดั ต้งั และนาระบบคุณภาพ
ไปใชเ้ ป็นเครื่องมือ เพื่อใหน้ โยบายวตั ถุประสงคท์ ี่
กาหนดไวบ้ รรลุผลสาเร็จ

ลกั ษณะระบบคุณภาพ

• 3. ระบบคุณภาพตอ้ งมีรายการองคป์ ระกอบต่างๆ ตามท่ีกาหนด
ไวใ้ นมาตรฐานนานาชาติอยา่ งเหมาะสม

• 4. ภารกิจของระบบคุณภาพ คือ การใหค้ วามเชื่อมน่ั วา่
- ทุกคนเขา้ ใจระบบเป็นอยา่ งดี และระบบน้นั มี

ประสิทธิผล
- สินคา้ หรือบริการ สามารถตอบสนองความคาดหวงั ของ

ลูกคา้ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง
- เนน้ ท่ีการป้องกนั ปัญหามากกวา่ การแกไ้ ขหลงั จากเกิด

ปัญหา

Hutchins (1991 : 3-4) แบ่งการสร้างคุณภาพไดเ้ ป็น 4 ข้นั

• ข้นั ท่ี 1 การตรวจสอบ (Inspection) โดย
หน่วยตรวจสอบ ตรวจผลิตภณั ฑเ์ ทียบ
กบั ขอ้ กาหนด การแบ่งกลุ่มสินคา้ การ
ตดั เกรด และรายงานไปยงั หน่วยผลิต
เพ่อื แกไ้ ข

ข้นั ที่ 2 การควบคุมคุณภาพ(Quality Control)
โดยหน่วยตรวจสอบหรอื หนว่ ยควบคมุ คณุ ภาพ

มีจดุ เนน้ ในการควบคุมกระบวนการผลิตใหม้ ี
ความสญู เสียนอ้ ยท่ีสดุ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานจะตอ้ งมี

การตรวจสอบตนเอง มีการทดสอบสนิ คา้ การ

ใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลบั และการแกไ้ ข

ข้นั ที่ 3 การประกนั คุณภาพ (Quality
Assurance) มีหนว่ ยประกนั คณุ ภาพท่ีใหก้ าร
ฝึกอบรมและใหค้ าแนะนาแกผ่ ปู้ ฏบิ ตั ิงาน โดย
มีจดุ เนน้ การประกนั กระบวนการ และ
คุณภาพสินคา้ มีทงั้ ตรวจสอบจากภายนอก
และภายในองคก์ ร มีเกณฑม์ าตรฐานท่ีเป็น

สากล เช่น ISO 9000

ข้นั ที่ 4 การบริหารคุณภาพท้งั องค์กร (Total
Quality Management) เป็นการใหค้ วามสาคญั
กบั คุณภาพมากข้ึน จุดเนน้ คือการพฒั นา
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในทุกกระบวนการทางาน
โดยมีกล่มุ งานและทุกคนในองค์กรเป็ น

ผู้รับผดิ ชอบ

สรุป

การประกนั คุณภาพ หมายถึง การประกนั
คุณภาพกระบวนการผลิต แบ่งออกเป็น 3 ระบบยอ่ ย
คือ การวางแผนเกี่ยวกบั คุณภาพ การควบคุม
คุณภาพ และการทบทวนระบบเพื่อปรับปรุง
คุณภาพ ซ่ึงท้งั 3 ระบบน้ีใชใ้ นกระบวนการ
ปฏิบตั ิงานทุกดา้ นขององคก์ ร

การประกนั คุณภาพการศึกษา คืออะไร

• การประกนั คุณภาพทางการศึกษา เกิดจาก
การรวมแนวคิด 2 อยา่ งเขา้ ดว้ ยกนั คือ
แนวคิดเก่ียวกบั การประกนั คุณภาพ (Quality
Assurance) และแนวคิดเก่ียวกบั คุณภาพ
การศึกษา

การประกนั คุณภาพการศึกษา (Quality Assurance)
หมายถึง การทากิจกรรมหรือการปฏิบตั ิภารกิจหลกั อยา่ ง

เป็นระบบตามแบบแผนท่ีกาหนดไว้ โดยมีการควบคุม

คุณภาพ (Quality Control) การตรวจสอบคุณภาพ

(Quality Auditing) และการประเมินคุณภาพ (Quality
Assessment) จนทาใหเ้ กิดความมนั่ ใจในคุณภาพ และ
มาตรฐานของดชั นีช้ีวดั ระบบและกระบวนการผลิต

ผลผลิตและผลลพั ธ์ของการจดั การศึกษา

ขอบข่ายการประกนั คุณภาพการศึกษา

• 1.
• 2.
• 3.
• 4.
• 5.

ระบบประกนั คุณภาพภายใน กบั PDCA

P
AD

C


Click to View FlipBook Version