The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaras atiwitthayaporn, 2020-05-25 20:16:03

THAI MANAUL

THAI Manaul

Keywords: THAI

ดนิ + -  ดิ๊น (เสยี งตรี)

ดนิ + -  ดิ๋น (เสยี งจตั วา)

จากนั้น จึงสอนให้ผันเสียงแบบแจกลูก โดยยึดพยัญชนะต้น สระ ตัวสะกด

และวรรณยกุ ต์ เชน่

กาง กา่ ง ก้าง ก๊าง กา๋ ง

จาม จ่าม จ้าม จ๊าม จ๋าม

ดอย ดอ่ ย ดอ้ ย ด๊อย ดอ๋ ย

ตอน ตอ่ น ตอ้ น ต๊อน ตอ๋ น

บวิ บว่ิ บิ้ว บ๊วิ บิว๋

อดู อู่ด อูด้ อ๊ดู อู๋ด

ครูออกเสียงอ่านนำ� แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงตามครูช้าๆ พร้อมกันเป็นกลุ่ม

และเปน็ รายบคุ คลใหช้ ัดเจน ควรฝกึ ซํา้ ๆ เพ่ือให้เกดิ ความแมน่ ย�ำ โดยใช้สอ่ื ประกอบ

๒.๒ ครูยกตัวอย่างฝึกออกเสียงผันคำ�โดยการแจกลูกและสะกดคำ�ท่ีมีพยัญชนะต้น

อกั ษรกลาง ประสมสระเสยี งยาว และสระเสยี งสนั้ ตวั สะกดตรงตามมาตรา และวรรณยกุ ต์ ยกตวั อยา่ ง

การผันวรรณยกุ ตท์ ่ีมตี ัวสะกดตรงมาตราในแม่กก แม่กบ แมก่ ด เช่น

๑) พยญั ชนะตน้ อักษรกลาง + สระเสียงยาว + ตัวสะกด + วรรณยกุ ต์

จาก จ + า + ก จาก (เสยี งเอก)

จาก + -  จ้าก (เสยี งโท)

จาก + -  จ๊าก (เสียงตร)ี

จาก + -  จา๋ ก (เสยี งจัตวา)

๒) พยญั ชนะต้นอกั ษรกลาง+ สระเสยี งสน้ั + ตัวสะกด + วรรณยุกต์

กบ ก + โ-ะ + บ กบ (เสียงเอก)

กบ + - ก้บ (เสียงโท)

กบ + - กบ๊ (เสียงตร)ี

กบ + - ก๋บ (เสียงจตั วา)

คู่มือการสอนอ่านเขียน 195 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

๒.๓ ครูสอนการผันเสียงวรรณยุกต์แบบแจกลูกและสะกดคำ� โดยเริ่มที่การสอนผัน
พยัญชนะต้นอักษรกลาง โดยครูนำ�ตารางการผันติดไว้บนกระดานดำ� ครูอ่านนำ�และให้นักเรียน
อ่านตาม (ครูให้นักเรียนฝึกอ่านพร้อมกัน อ่านเป็นรายกลุ่ม และอ่านเป็นรายบุคคล) จากน้ัน
ครูหาค�ำ ท่เี ปน็ เสยี งสามัญใหน้ กั เรียนฝึกอา่ นตามตาราง
ตารางการฝกึ ผันวรรณยุกต์

ค�ำ สามัญ เอก เสียงวรรณยุกต์ ตรี จตั วา
กาง กาง กา่ ง โท กา๊ ง ก๋าง
จาม จาม จา่ ม จา๊ ม จ๋าม
ดอย ดอย ด่อย กา้ ง ด๊อย ดอ๋ ย
ตอน ตอน ตอ่ น จา้ ม ต๊อน ต๋อน
บวิ บวิ บวิ่ ด้อย บิว๊ บิว๋
ต้อน
บ้วิ

๒.๔ ให้นักเรยี นฝกึ ผนั ทีละคน ถ้าผันไม่ถูกต้อง ครูแนะนำ�แก้ไข
๒.๕ ครูแจกบตั รคำ�ให้นักเรียนทุกคน แลว้ ส่มุ นักเรียนผันคำ�ทลี ะคนให้เพ่ือนฟัง
๒.๖ ให้นักเรียนทำ�แบบฝึกการผันวรรณยุกต์คำ�ที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
โดยให้นักเรียนออกเสียงการผันคำ�เป็นรายบุคคล หากพบว่านักเรียนคนใดยังเขียนไม่ได้หรือเขียน
ไม่ถูกต้อง ต้องแก้ไขทันที โดยให้ทำ�แบบฝึกซ้ํา ๆ หรือถ้านักเรียนคนใดเข้าใจดีแล้ว ให้นักเรียนทำ�
แบบฝกึ เสริมอน่ื ๆ
หมายเหตุ ครูเตรียมเอกสารหรือหนังสือไว้ให้นักเรียนค้นหาคำ� เม่ือนักเรียนทำ�
แบบฝกึ อ่านได้ประมาณ ๓ ข้อ สมุ่ นักเรียนน�ำ เสนอรายบคุ คล

๓. ขั้นสรุป

ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ การผนั วรรณยกุ ตแ์ ละเขยี นแจกลกู ค�ำ ทม่ี ตี วั สะกดตรงมาตรา
ในกลุม่ พยญั ชนะต้นอกั ษรกลาง

ค่มู ือการสอนอา่ นเขยี น 196 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

ส่ือการสอน

๑. บัตรค�ำ
๒. บตั รภาพ
๓. เกม/เพลง
๔. ตารางผนั วรรณยกุ ต์
๕. แบบฝกึ

การวดั และประเมนิ ผล

การตรวจแบบฝึก

คมู่ อื การสอนอ่านเขยี น 197 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

แบบฝึกการผนั วรรณยุกตค์ ำ�ทม่ี ีตวั สะกดตรงตามมาตรา

คำ�ช้ีแจง
ให้นักเรียนผันวรรณยุกตค์ ำ�ตอ่ ไปนใ้ี หค้ รฟู ังเป็นรายบคุ คล ใช้เวลา ๑๐ นาที

ข้อท ี่ คำ� เอก โท ตรี จตั วา

๑. กาน ก่าน ก้าน ก๊าน ก๋าน

๒. ตัง ตัง่ ตั้ง ต๊ัง ตั๋ง

๓. บน บ่น บ้น บน๊ บน๋

๔. กม ก่ม กม้ ก๊ม ก๋ม

๕. เดิม เด่มิ เด้ิม เด๊มิ เดม๋ิ

๖. ดาว ดา่ ว ด้าว ดา๊ ว ด๋าว

๗. ปวย ป่วย ปว้ ย ปว๊ ย ปว๋ ย

๘. ตนู ต่นู ตนู้ ตู๊น ตนู๋

๙. แปง แป่ง แป้ง แปง๊ แป๋ง

๑๐. จอง จอ่ ง จ้อง จ๊อง จอ๋ ง

ค่มู ือการสอนอา่ นเขยี น 198 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

แบบบนั ทึกผลการผนั วรรณยุกต์ค�ำ ที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา

ท ่ี ชอ่ื -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข ้อ ท่ี ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไรา่ินมน่

คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้

ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรียน
๒. วิธีการบันทึก ถ้าทำ�ถูกต้องให้ใส่เครื่องหมาย √ ถ้าทำ�ผิดให้ใส่เครื่องหมาย X (เครื่องหมาย √ เท่ากับ

๑ คะแนน เครื่องหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้

ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน

เพื่อน�ำ ไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก

จนนักเรยี นผนั วรรณยุกต์ได้
คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 199 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

สว่ นท่ี ๓ แนวทางการวดั และประเมินผลประจำ�หน่วย

ฉบบั ท่ี ๑ การผนั วรรณยุกตค์ �ำ ทีม่ ตี วั สะกดตรงตามมาตรา

ค�ำ ช้ีแจง
ใหน้ ักเรยี นเขยี นเสยี งและรปู วรรณยกุ ต์ของคำ�ใหถ้ กู ตอ้ ง

ขอ้ ท ี่ คำ� เสยี งวรรณยกุ ต ์ รปู วรรณยกุ ต์
โท -
ตัวอย่าง บ้าน

๑. ด้ิน

๒. ย่อง

๓. หอ้ ง

๔. ข้าว

๕. กอด

๖. เล้ียว

๗. เจยี๊ บ

๘. ซ้าย

๙. ส้ม

๑๐. อา่ ง

คู่มือการสอนอ่านเขยี น 200 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

เฉลยค�ำ ตอบ ค�ำ เสยี งวรรณยุกต์ รปู วรรณยุกต์

ขอ้ ท่ ี ดิน้ เสียงโท -
๑ ย่อง เสียงโท -
๒ ห้อง เสียงโท -
๓ ข้าว เสียงโท -
๔ กอด เสียงเอก -
๕ เลีย้ ว เสยี งตร ี -
๖ เจี๊ยบ เสยี งตร ี -๊
๗ ซา้ ย เสยี งตรี -
๘ สม้ เสยี งโท -
๙ อ่าง เสียงเอก -
๑๐

คู่มอื การสอนอ่านเขยี น 201 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

แบบบนั ทกึ ผลการผันวรรณยกุ ตค์ ำ�ทม่ี ีตัวสะกดตรงตามมาตรา

ที่ ช่อื -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข อ้ ท่ี ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไรา่ินมน่

คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้

ในการปรบั ปรุงและพฒั นานกั เรยี น
๒. วธิ กี ารบนั ทึก ถา้ ทำ�ถูกต้องให้ใส่เครื่องหมาย √ ถ้าทำ�ผิดใหใ้ ส่เครือ่ งหมาย X (เครือ่ งหมาย √ เทา่ กับ

๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้

ในการปรับปรงุ และพฒั นานักเรยี นเป็นรายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน

เพือ่ น�ำ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก

จนนกั เรียนเขยี นได้
คูม่ ือการสอนอา่ นเขียน 202 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

ฉบบั ท่ี ๒ การอ่านสะกดค�ำ ท่ีมวี รรณยกุ ต์และมีตวั สะกดตรงตามมาตรา

ค�ำ ชแี้ จง
๑. ใหน้ ักเรยี นอ่านสะกดค�ำ ให้ ภายในเวลา ๕ นาที
๒. ครูยกตัวอย่างการอา่ นสะกดค�ำ ว่า “บ้าน” ก่อนจบั เวลา

ตัวอย่างการอ่านสะกดค�ำ
บ้าน สะกดวา่ บอ - อา - บา - บา - นอ - บาน - บาน - โท บา้ น
บอ - อา - นอ - บาน - บาน - โท บา้ น
หรือ บอ - อา - นอ - บาน - บาน - ไม้โท บ้าน

๑. กา้ น ๖. อ้อย
๒. จอ๋ ม ๗. เล้ยี ง
๓. ข้าว ๘. เชา้
๔. ทา้ ย ๙. จิ้งจอก
๕. ปีบ๊ ๑๐. เร่ืองราว

คมู่ ือการสอนอ่านเขียน 203 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

เฉลยคำ�ตอบ

ข้อท่ี คำ� อ่านสะกดค�ำ

๑. กา้ น กอ - อา - กา - กา - นอ - กาน - กาน - โท ก้าน
กอ - อา - นอ - กาน - กาน - โท กา้ น
หรอื กอ - อา - นอ - กาน - กาน - ไม้โท ก้าน

๒. จ๋อม จอ - ออ - จอ - จอ - มอ - จอม - จอม - จตั วา จ๋อม
จอ - ออ - มอ - จอม - จอม - จตั วา จ๋อม
หรอื จอ - ออ - มอ - จอม - จอม - ไม้จัตวา จอ๋ ม

๓. ข้าว ขอ - อา - ขา - ขา - วอ - ขาว - ขาว - โท ข้าว
ขอ - อา - วอ - ขาว - ขาว - โท ขา้ ว
หรอื ขอ - อา - วอ - ขาว - ขาว - ไม้โท ข้าว

๔. ท้าย ทอ - อา - ทา - ทา - ยอ - ทาย - ทาย - โท ท้าย
ทอ - อา - ยอ - ทาย - ทาย - โท ท้าย
หรือ ทอ - อา - ยอ - ทาย - ทาย - ไม้โท ทา้ ย

๕. ปบี๊ ปอ - อี - ปี - ปี - บอ - ปีบ - ปีบ - ตร ี ป๊ีบ
ปอ - อี - บอ - ปีบ - ปบี - ตรี ป๊ีบ
หรอื ปอ - อี - บอ - ปีบ - ปบี - ไม้ตร ี ปี๊บ

๖. อ้อย ออ - ออ - ออ - ออ - ยอ - ออย - ออย - โท ออ้ ย
ออ - ออ - ยอ - ออย - ออย - โท อ้อย
หรือ ออ - ออ - ยอ - ออย - ออย - ไมโ้ ท ออ้ ย

๗. เลี้ยง ลอ - เอีย - เลยี - เลยี - งอ - เลียง - เลียง - โท เลย้ี ง
ลอ - เอีย - งอ - เลียง - เลยี ง - โท เล้ียง
หรอื ลอ - เอีย - งอ - เลียง - เลียง - ไมโ้ ท เลี้ยง

คู่มือการสอนอ่านเขียน 204 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

ขอ้ ท่ี คำ� อา่ นสะกดคำ�

๘. เช้า ชอ - เอา - เชา - เชา - โท เชา้
หรอื ชอ - เอา - เชา - ไม้โท เช้า

๙. จ้ิงจอก จอ - อิ - จิ - จิ - งอ - จงิ - จิง - โท จง้ิ
จอ - ออ - จอ - จอ -กอ จอก จิ้งจอก
จอ - อิ - งอ - จงิ - จงิ - โท จิ้ง จอ - ออ - กอ จอก จิ้งจอก
หรอื จอ - อิ - งอ - จิง - จงิ - ไมโ้ ท จ้ิง จอ - ออ - กอ จอก จ้ิงจอก

๑๐. เรอ่ื งราว รอ - เอือ - เรือ - เรือ - งอ - เรือง - เรอื ง - เอก เรือ่ ง
รอ - อา - รา - รา - วอ ราว เรอ่ื งราว
รอ - เอือ - งอ - เรือง - เรือง - เอก เร่อื ง
รอ - อา - วอ ราว เร่อื งราว
หรือ รอ - เออื - งอ - เรอื ง - ไมเ้ อก เรื่อง
รอ - อา - วอ ราว เร่อื งราว

คู่มือการสอนอา่ นเขียน 205 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

แบบบนั ทกึ ผลการอ่านสะกดค�ำ ที่มวี รรณยุกตแ์ ละมีตัวสะกดตรงตามมาตรา

ท ี่ ชือ่ -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข อ้ ท ี่๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผปา่ผนรละกเผมาไรา่ินมน ่

คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้

ในการปรบั ปรุงและพฒั นานักเรียน
๒. วิธีการบนั ทึก ถ้าอ่านถูกต้องใหใ้ ส่เครอ่ื งหมาย √ ถา้ อ่านผดิ ให้ใสเ่ ครอื่ งหมาย X (เครื่องหมาย √ เทา่ กับ

๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เทา่ กบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้

ในการปรบั ปรุงและพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน

เพือ่ นำ�ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก

จนนักเรยี นอ่านได้
คูม่ อื การสอนอา่ นเขยี น 206 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

ฉบับท่ี ๓ การเขียนค�ำ ที่มีวรรณยกุ ตแ์ ละตวั สะกดตรงตามมาตรา

คำ�ชีแ้ จง
๑. ใหน้ กั เรียนเขียนตามคำ�บอก โดยใช้เวลา ๒๐ นาที
๒. ให้ครูอ่านค�ำ ใหน้ ักเรียนฟังคำ�ละ ๒ ครง้ั โดยเว้นเวลาให้นักเรียนเขียนก่อนบอกคำ�ในข้อ
ต่อไป

ค�ำ ท่กี ำ�หนดใหเ้ ขยี น
๑. แมว
๒. ช้าง
๓. ฉิ่ง
๔. โอ่ง
๕. น้วิ มอื
๖. ตุก๊ แก
๗. กว๋ ยเตยี๋ ว
๘. ตั๊กแตน
๙. บ้าน
๑๐. มะม่วง

คู่มอื การสอนอา่ นเขียน 207 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

แบบบันทกึ ผลการเขยี นค�ำ ท่มี ีวรรณยุกตแ์ ละตัวสะกดตรงตามมาตรา

ท ี่ ช่อื -สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข ้อ ท่ ี๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไรา่ินมน่

คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ในการ

ปรบั ปรุงและพัฒนานกั เรยี น
๒. วธิ ีการบันทึก ถา้ เขียนถูกตอ้ งใหใ้ ส่เคร่ืองหมาย √ ถ้าเขยี นผดิ ใหใ้ ส่เครอ่ื งหมาย X (เครือ่ งหมาย √ เทา่ กับ

๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั ขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล และนำ�ไปใชใ้ นการ

ปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรียนเปน็ รายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน

เพื่อนำ�ไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก

จนนกั เรียนเขียนได้
คู่มือการสอนอา่ นเขียน 208 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

ตัวอยา่ งสรปุ ผลการประเมนิ การผันวรรณยกุ ต์คำ�ทีม่ ตี วั สะกดตรงตามมาตรา

ที ่ ชือ่ - ส กุล (๑ ฉ๐บคับะทแ่ี น๑น ) ผ (ล๑กฉ๐าบรคับปะทรแ่ีะน๒ เ นม )นิ (๑ฉ๐ บคับะทแี่ น๓น ) (๓๐คะรคแวะ นมแ นน น) สรผปุ ่าผนล การปไมร่ผะเ่ามนนิ

หมายเหตุ
๑. ถ้ารวมคะแนนไดร้ ้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป และคะแนนรายแบบประเมนิ ไดร้ ้อยละ ๘๐ ข้ึนไป ทุกแบบประเมนิ

ถือว่าผา่ นเกณฑ์
๒. ถ้ารวมคะแนนได้ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป แต่คะแนนรายแบบประเมินบางแบบประเมินได้ไม่ถึงร้อยละ ๘๐

ถือว่าผา่ นเกณฑ์ แต่ให้ซ่อมเสรมิ ส่วนที่ไม่ถงึ ร้อยละ ๘๐
๓. ถ้ารวมคะแนนได้ไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ให้สอนซ่อมเสริม ในกรณีที่นักเรียนได้คะแนน

บางแบบประเมินร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป ไมต่ อ้ งซ่อมเสริมส่วนนนั้

ค่มู ือการสอนอ่านเขียน 209 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

หนว่ ยท่ี ๘ การแจกลกู สะกดค�ำ ทีม่ ตี ัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา

สว่ นที่ ๑ ความร้สู ำ�หรบั ครู

มาตรา คือ แม่บทแจกลูกอักษรตามหมวดคำ�ท่ีมีตัวสะกดหรือออกเสียงอย่างเดียวกัน
แบง่ ออกเป็น ๘ มาตรา หรือ ๘ แม่ คือ แมก่ ก แมก่ ด แมก่ บ แม่กม แมเ่ กย แมเ่ กอว แมก่ ง และแม่กน
แบง่ ไดเ้ ป็น ๒ กลุม่ ดงั นี้
๑. มาตราทม่ี พี ยัญชนะเปน็ ตัวสะกดเพียงตวั เดยี ว ๔ มาตรา คือ

แม่กง ใช้ ง สะกด เช่น หาง ปลิง สอง แรง ฯลฯ
แม่กม ใช ้ ม สะกด เช่น สม แต้ม โสม สนาม งอมฯลฯ
แม่เกย ใช ้ ย สะกด เช่น สาย โปรย เฉย ปุ๋ย ฯลฯ
แมเ่ กอว ใช้ ว สะกด เชน่ แหว้ กาว เปลว เปร้ียว ฯลฯ

๒. มาตราที่มีพยัญชนะเป็นตัวสะกดในแต่ละมาตราหลายตัว แต่ออกเสียงเพียงเสียงเดียว
มี ๔ มาตรา คือ

แม่กก มพี ยัญชนะ ก ข ค ฆ สะกด แลว้ ออกเสยี งเป็นเสียง /ก/ เช่น เลข
โรค เมฆ ฯลฯ
แมก่ ด มีพยญั ชนะ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด
แลว้ ออกเสียงเป็นเสียง /ด/ เชน่ กจิ ราช กฎ ปรากฏ อิฐ ครุฑ พฒั นา
ทตู รถ บาท พธุ อากาศ พษิ ทาส ฯลฯ
แมก่ บ มีพยัญชนะ บ ป พ ฟ ภ สะกด แลว้ ออกเสยี งเป็นเสียง /บ/ เช่น บาป
ภาพ ยรี าฟ ลาภ ฯลฯ
แมก่ น มีพยญั ชนะ น ญ ณ ร ล ฬ สะกด แล้วออกเสียงเป็นเสียง /น/ เช่น
เชิญ คูณ หาร ศีล วาฬ ฯลฯ

คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 210 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

การอา่ นสะกดคำ�ทมี่ ตี วั สะกดไมต่ รงตามมาตรา

การอ่านออกเสียงคำ� โดยใหน้ ักเรียนรจู้ กั เสียงพยัญชนะตน้ สระ ตวั สะกด และวรรณยุกต์
ตามลำ�ดบั เช่น
กรณเี ป็นคำ�พยางคเ์ ดยี วใหอ้ ่านสะกดคำ� ดังนี้
เขต แบบที่ ๑ ขอ - เอ - ตอ เขด
แบบท่ี ๒ ขอ - เอ - เข - เข - ตอ เขด
บาป แบบที่ ๑ บอ - อา - ปอ บาบ
แบบที่ ๒ บอ - อา - บา - บา - ปอ บาบ
เลข แบบที่ ๑ ลอ - เอ - ขอ เลก
แบบท่ี ๒ ลอ - เอ - เล - เล - ขอ เลก
เชิญ* แบบท่ี ๑ ชอ - เออ - ญอ เชนิ
แบบที่ ๒ ชอ - เออ - เชอ - เชอ - ญอ เชิน

*ถ้าใช้ ย แทน ญ ในการอ่านสะกดค�ำ จะท�ำ ให้สับสนกับแมเ่ กยได้ จงึ คงรูปพยัญชนะ ญ ไว้

กรณีท่คี ำ�มมี ากกวา่ ๑ พยางคใ์ ห้อา่ นสะกดคำ� ดังนี้
สุนัข แบบท่ี ๑ สอ - อุ สุ นอ - อะ - ขอ นกั สุ - นกั
แบบที่ ๒ สอ - อ ุ สุ นอ - อะ - นะ - นะ - ขอ นัก สุ - นกั
เคารพ แบบที่ ๑ คอ - เอา เคา รอ - โอะ - พอ รบ เคา - รบ
แบบท่ี ๒ คอ - เอา เคา รอ - โอะ - โระ - โระ - พอ รบ เคา - รบ
อาหาร แบบที่ ๑ ออ - อา อา หอ - อา - รอ หาน อา - หาน
แบบที่ ๒ ออ - อา อา หอ - อา - หา - หา - รอ หาน อา - หาน
โอกาส แบบท่ี ๑ ออ - โอ โอ กอ - อา - สอ กาด โอ - กาด
แบบท่ี ๒ ออ - โอ โอ กอ - อา - กา - กา - สอ กาด โอ - กาด

อา้ งอิงเพ่มิ เติม : ก�ำ ชัย ทองหล่อ. (๒๕๓๗). หลกั ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น.

คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 211 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

การเขียนสะกดคำ�ท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา

การเขยี นสะกดค�ำ ใหถ้ กู ตอ้ งจะสะกดค�ำ ตามรปู ตวั อกั ษรทปี่ ระกอบกนั เปน็ ค�ำ โดยสะกดเรยี ง
จากรูปตวั อักษรท่ปี รากฏอยู่ในค�ำ นนั้ ๆ ซ่งึ แตกตา่ งจากการอ่านสะกดค�ำ เช่น
กรณีเปน็ คำ�พยางคเ์ ดยี วใหเ้ ขยี นสะกดค�ำ ดังน้ี
เลข เขียนสะกดวา่ สระเอ - ลอ ลิง - ขอ ไข่
บาป เขียนสะกดว่า บอ ใบไม้ - สระอา - ปอ ปลา
เชิญ เขียนสะกดว่า สระเอ - ชอ ช้าง - สระอิ - ญอ หญิง
เขต เขียนสะกดวา่ สระเอ - ขอ ไข่ - ตอ เต่า
กรณีเปน็ คำ�ท่มี ีมากกว่า ๑ พยางคใ์ ห้เขยี นสะกดคำ� ดงั น้ี
สนุ ัข เขยี นสะกดวา่ สอ เสือ สระอุ นอ หนู ไม้หันอากาศ ขอ ไข่
เคารพ เขยี นสะกดวา่ สระเอ คอ ควาย สระอา รอ เรือ พอ พาน
อาหาร เขียนสะกดวา่ ออ อ่าง สระอา หอ หีบ สระอา รอ เรอื
โอกาส เขยี นสะกดวา่ สระโอ ออ อ่าง กอ ไก่ สระอา สอ เสือ

หมายเหตุ

ความแตกตา่ งระหวา่ งการอ่านสะกดค�ำ กบั การเขยี นสะกดค�ำ มดี ังต่อไปน้ี
การอ่านสะกดคำ� เน้นที่เสียงตัวอักษรของพยัญชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต์
ที่ประกอบกนั เป็นค�ำ
การเขียนสะกดคำ� เน้นเรียงตามรูปตัวอักษรท่ีปรากฎท้ังพยัญชนะ สระ ตัวสะกด
และวรรณยุกต์ทีป่ ระกอบกันเป็นคำ�นั้น

คู่มือการสอนอ่านเขยี น 212 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

สว่ นที่ ๒ แนวทางการจดั การเรียนรู้

การแจกลูกสะกดคำ�ท่มี ีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา มีขั้นตอนการจดั การเรียนรู้ ดงั น้ี

ขั้นที่ ๑ ขน้ั นำ� (แนะน�ำ ตวั สะกด)

๑. เช่ือมโยงความรู้คำ�ท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตรากับคำ�ที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
โดยครูเขียนคำ�ท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตรา ให้นักเรียนอ่านออกเสียงคำ�พร้อมกัน เป็นการทบทวน
เร่ืองตัวสะกดท่ีตรงตามมาตรา เช่ือมโยงไปยังตัวสะกดท่ีไม่ตรงมาตรา อธิบายว่านอกจากพยัญชนะ
ที่เป็นตัวสะกดตามมาตราแล้ว ยังมีพยัญชนะอื่นท่ีนำ�มาเป็นคำ�สะกดแล้วออกเสียงเหมือนตัวสะกด
เดยี วกนั
๒. ครนู �ำ ค�ำ ในมาตราทมี่ ตี วั สะกดไมต่ รงตามมาตราใหน้ กั เรยี นเหน็ รปู คำ�และอา่ นออกเสยี ง
โดยอธิบายเสยี งพยัญชนะทเ่ี ป็นตวั สะกด
๓. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจถึงตัวสะกดที่ออกเสียงเหมือนพยัญชนะที่สะกดตรงตาม
มาตรา เชน่ มาตราในแม่กด มี “ด” สะกด จากคำ�ตา่ ง ๆ โดยใชค้ �ำ ที่นกั เรียนพบเห็นในชวี ิตประจ�ำ วนั
เชน่ รถ รส ตรวจ เปน็ ตน้ หลงั จากนน้ั ครอู าจใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั คน้ หาค�ำ ทมี่ อี า่ นออกเสยี งเหมอื น “ด”
สะกด มาใหไ้ ด้มากท่สี ดุ แลว้ นำ�มาจัดหมวดหมู่ตามตวั สะกด
๔. ครูตรวจสอบจนแน่ใจว่านักเรียนรู้จักคำ�ตัวสะกดท่ีไม่ตรงตามมาตราถูกต้องหรือไม่
ทั้งนี้อาจไม่จ�ำ เป็นต้องครบถ้วนทุกตัว แต่อาจเป็นตัวสะกดท่ีใช้บ่อย พบในคำ�จำ�นวนมาก หรือคำ�ใน
บัญชีคำ�พนื้ ฐาน เชน่ จ ช ต ท ธ เปน็ ต้น เนอ่ื งจากตัวสะกดบางตัวมีคำ�ทพ่ี บนอ้ ยมาก เชน่ ซ ฐ เป็นตน้

คูม่ ือการสอนอ่านเขยี น 213 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

ขน้ั ที่ ๒ ขั้นสอนการสะกดเพอื่ อา่ นคำ�

๑. ครูเขียนคำ�ในมาตราท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงมาตราลงบนกระดานดำ� แล้วอ่านออกเสียง

จนแนใ่ จว่านักเรียนอ่านถกู ตอ้ ง

๒. ครูเขียนคำ�ท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราให้นักเรียนสังเกตตัวสะกด แล้วจึงให้อ่านคำ�

พร้อมอธิบายเรอ่ื งรูปและเสียงของตัวสะกด เชน่

เลข สะกดว่า สระเอ ลอ ลิง ขอ ไข่ อ่านว่า เลก รปู ข

ออกเสียงเปน็ ก

๓. ครนู �ำ ค�ำ ทีม่ ีตัวสะกดไมต่ รงตามมาตราให้นักเรยี นอ่านออกเสยี งคำ� จนแนใ่ จวา่ นกั เรยี น

อา่ นถกู ต้องทกุ ค�ำ เมื่อพบวา่ มนี ักเรยี นอา่ นสะกดค�ำ ไมถ่ กู ตอ้ ง ครูตอ้ งแก้ไขทันที


ข้นั ที่ ๓ ขน้ั สอนสะกดเพื่อเขียนค�ำ

๑. ให้นักเรียนเขียนสะกดคำ�ท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา อาจแข่งขันเป็นกลุ่มหรือเด่ียว
โดยใช้คำ�ตามระดบั ชน้ั โดยตรวจสอบจากบัญชคี ำ�พนื้ ฐานหรือหนงั สอื เรียน
๒. ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ งจนแน่ใจวา่ นักเรยี นเขียนสะกดค�ำ ไดถ้ กู ตอ้ งทุกคน เมือ่ พบว่า
มนี กั เรยี นเขยี นสะกดค�ำ ไม่ถูกต้องครูต้องแก้ไขทันที

ขนั้ ท่ี ๔ ขน้ั สรปุ (ฝกึ ทกั ษะ)

ขั้นตอนน้ีครูอาจใช้กิจกรรมหรือแบบฝึกทักษะ โดยให้อ่านประโยคและเรื่องราว
ท่ีเหมาะสมกับวัยและความสามารถของนักเรียนอย่างหลากหลาย เพ่ือฝึกทักษะการอ่าน
และเขยี นค�ำ จนแน่ใจว่า นักเรียนอา่ นและเขยี นค�ำ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องคลอ่ งแคลว่

คมู่ ือการสอนอา่ นเขียน 214 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

ข้อเสนอแนะ

๑. ครคู วรจดั กิจกรรมตามลำ�ดบั ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ ขน้ั รู้จกั ตวั สะกด ข้นั เชอื่ มโยงเสยี งตวั สะกด
ข้ันอ่านสะกดคำ�และอ่านคำ� ข้ันเขียนสะกดคำ�และเขียนคำ� โดยไม่รีบร้อนและไม่ข้ามข้ันตอน
จนแน่ใจว่านักเรียนประสบผลส�ำ เร็จตามขั้นตอน แล้วจึงฝึกทักษะให้เกิดความคล่องแคล่วในการอ่าน
และเขียนค�ำ
๒. การสอนแตล่ ะขนั้ ตอน ครคู วรหากจิ กรรมน�ำ ทสี่ นกุ สนานเหมาะสมกบั วยั และสถานการณ์
ของการเรียนรู้ ให้นกั เรยี นมสี ว่ นร่วมในกิจกรรม สร้างแรงจงู ใจใหน้ ักเรียนสนใจเรยี น เชน่ การใช้เกม
เพลง กิจกรรมต่าง ๆ ควรหลกี เล่ียงการสอนท่ใี ห้นักเรยี นเป็นผู้ฟังหรือผูร้ บั ความรเู้ พยี งฝ่ายเดยี ว
๓. ครูควรจัดกิจกรรมที่ทำ�ให้นักเรียนเกิดความชัดเจนระหว่างเสียงตัวสะกดกับรูปตัว
สะกด เชน่ การทำ�ซ้าํ การเขียนค�ำ อา่ น การใช้รูปคำ� เป็นตน้ เนือ่ งจากค�ำ ท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
เปน็ คำ�ทไ่ี ม่ใชค่ ำ�ไทยแท้ แต่เปน็ ค�ำ ทม่ี าจากภาษาอื่น จึงมคี วามแตกตา่ งระหวา่ งเสยี งทา้ ยค�ำ กบั รูปค�ำ
เช่น คำ�วา่ “สุข” อ่านออกเสียง “ก” เป็นตัวสะกด แตใ่ ช้ “ข” ในการเขยี นเป็นตัวสะกด หากพบว่า
นักเรียนบางคนยังไม่เข้าใจ ครูควรใส่ใจดูแลเป็นพิเศษและต้องทำ�ให้นักเรียนเข้าใจความหมายของ
ค�ำ น้ัน ๆ
๔. การใช้แบบฝึกทักษะหรือกิจกรรมฝึกทักษะท่ีมีอยู่อย่างหลากหลาย ครูควรเลือกและ
ประยกุ ต์ใช้อยา่ งเหมาะสม โดยเลือกใหส้ อดคล้องกับขน้ั ตอนการสอน สภาพปญั หาและความต้องการ
ในการฝกึ ทกั ษะ
๕. ครคู วรตรวจงานทค่ี รมู อบหมายใหน้ กั เรยี นไดฝ้ กึ ทกั ษะ และมกี ารแกไ้ ขใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ
ได้ถูกต้องทุกครง้ั เมือ่ พบวา่ นกั เรยี นปฏบิ ัติไมถ่ ูกต้อง
๖. สำ�หรับเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละขั้นตอน ครูผู้สอนอาจปรับเปล่ียนเวลาตามความ
เหมาะสม

คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 215 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

ตวั อยา่ งการนำ�แนวทางการจัดการเรียนร้ไู ปใช้ในห้องเรียน
หนว่ ยท่ี ๘ การแจกลูกสะกดคำ�ท่ีมีตวั สะกดไม่ตรงมาตรา

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ของหนว่ ย (๔ ชั่วโมง)
เพื่อให้นักเรยี นอ่านและเขียนคำ�ท่มี ีตวั สะกดไมต่ รงตามมาตราได้ (๑ ชว่ั โมง)
แนวทางการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑ (๑ ชว่ั โมง)
การอ่านเขียนสะกดค�ำ ท่ีมีตัวสะกดแม่กก ไม่ตรงตามมาตรา (๑ ชว่ั โมง)
แนวทางการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ (๑ ชั่วโมง)
การอา่ นเขียนสะกดคำ�ทมี่ ตี วั สะกดแม่กบ ไมต่ รงตามมาตรา
แนวทางการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๓
การอา่ นเขยี นสะกดคำ�ทมี่ ีตวั สะกดแม่กด ไม่ตรงตามมาตรา
แนวทางการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๔
การอ่านเขยี นสะกดคำ�ทีม่ ีตัวสะกดแม่กน ไมต่ รงตามมาตรา

คูม่ อื การสอนอา่ นเขยี น 216 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

แนวการจดั การเรียนรู้ ที่ ๑ การอ่านเขียนสะกดคำ�ทม่ี ตี วั สะกดแม่กก (๑ ชั่วโมง)
ไมต่ รงตามมาตรา
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

เพ่อื ให้นักเรียนอ่านและเขียนคำ�ที่มตี วั สะกดแมก่ ก ไมต่ รงตามมาตราได้

ข้นั ตอนการจดั การเรยี นรู้

๑. ขัน้ นำ� (แนะนำ�ตวั สะกด)

๑.๑ เชื่อมโยงความรู้เร่ืองคำ�ที่มีตัวสะกดแม่กก ตรงตามมาตรา โดยครูเขียนคำ�
แผนภูมิ หรือบัตรคำ� คำ�ท่ีมีตัวสะกดแม่กกตรงตามมาตรา เช่น สุก นาก จิก เสก บนกระดานดำ�
ให้นักเรียนอ่านออกเสียงค�ำ พร้อมกัน เป็นการทบทวนเสียงตัวสะกดแม่กก ตรงตามมาตราเช่ือมโยง
ไปยงั ตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตรา โดยอธิบายวา่ พยัญชนะตัว ก เป็นตวั สะกดแล้ว ยงั มีพยญั ชนะอกี ๓ ตวั
ท่อี อกเสียงเหมอื น ก เปน็ ตัวสะกด ไดแ้ ก่ ข ค ฆ
๑.๒ ครูเขียนคำ�ท่ีมี ข ค ฆ เป็นตัวสะกดบนกระดานดำ� เช่น สุข นาค เลข โชค
ภาค เมฆ ครอู า่ นใหน้ ักเรยี นฟงั และใหน้ ักเรยี นอา่ นออกเสยี งพร้อมกัน

๒. ข้ันสอนการสะกดเพื่ออ่านค�ำ

๒.๑ ครูนำ�บัตรคำ�หรือเขียนคำ�ว่า นาก และ นาค ให้นักเรียนสังเกตและบอกความ
แตกต่าง โดยครใู ชค้ ำ�ถามนำ� เพือ่ ให้นักเรียนตอบคำ�ถาม เช่น
นาก และ นาค เขียนเหมือนกันหรือไม่ แตกตา่ งกันอย่างไร
นาก และ นาค อ่านออกเสียงเหมอื นกันหรอื ไม่ เพราะอะไร
นาก หมายถงึ อะไร และ นาค หมายถึงอะไร
๒.๒ ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรุปความแตกตา่ งของค�ำ ทง้ั สองค�ำ เช่น ตัวอย่างการสรปุ
คอื “นาก” หมายถึง โลหะผสมชนิดหนง่ึ โดยนำ�ทองคำ� เงิน กบั ทองแดงผสมเข้าด้วยกัน นิยมใชท้ ำ�
รปู พรรณตา่ ง ๆ หรอื ชอื่ สตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนม ขนล�ำ ตวั สนี า้ํ ตาลอมเทามี ๒ ชน้ั ชน้ั ในละเอยี ด ชนั้ นอกหยาบ
หวั กวา้ ง และแบน ระหว่างนิว้ มแี ผ่นพังผืดขึงอยคู่ ลา้ ยตนี เปด็ หางแบน ขาหลังใหญแ่ ละแขง็ แรงกวา่

คู่มอื การสอนอา่ นเขียน 217 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

ขาหน้า ใช้ว่ายนํ้าร่วมกับหาง ไล่จับปลาและสัตว์น้ําเล็ก ๆ ครูอาจนำ�ของจริงมาให้นักเรียนดู
และ “นาค” หมายถงึ คนที่เตรียมบวช
๒.๓ ครูนำ�บัตรคำ� คำ�ว่า “สุข” ให้นักเรียนอ่านออกเสียงและอ่านสะกดคำ�
และยกตวั อยา่ งคำ�อ่ืน ๆ เพ่มิ เติมอีก เชน่ มาก เลข นาค เมฆ แลว้ ให้นักเรียนอา่ นและสะกดคำ�
สขุ สะกดวา่ สอ - อุ - ขอ สุก
เลข สะกดว่า ลอ - เอ - ขอ เลก
มาก สะกดว่า มอ - อา - กอ มาก
นาค สะกดวา่ นอ - อา - คอ นาก
เมฆ สะกดว่า มอ - เอ - ฆอ เมก
๒.๔ ให้นักเรียนสังเกตคำ�ท่ีอ่านว่า แต่ละคำ�มีพยัญชนะตัวใดเป็นตัวสะกด เช่น สุข
เลข มี ข เปน็ ตวั สะกด มาก มี ก เปน็ ตัวสะกด นาค มี ค เปน็ ตวั สะกด และเมฆ มี ฆ เปน็ ตัวสะกด
๒.๕ รว่ มกันสรปุ “ค�ำ ทม่ี ตี วั สะกดแมก่ ก ไม่ตรงตามมาตรา” คือ คำ�ที่มี ข ค ฆ เปน็
ตวั สะกด แตอ่ อกเสียง ก
๒.๖ ครูให้นักเรียนฝึกอ่านและเขียนคำ�ท่ีมีตัวสะกดแม่กก ไม่ตรงตามมาตราจาก
แบบฝึกท่ี ๑

๓. ขั้นสอนการสะกดเพือ่ เขียนค�ำ
ครูให้นักเรียนเขียนคำ�ท่ีมีตัวสะกดแม่กก ไม่ตรงตามมาตราลงในสมุดงานของนักเรียน
โดยครูอ่านออกเสียงค�ำ ให้ถูกต้องและชัดเจน คำ�ละ ๒ คร้ัง แล้วให้นักเรียนเขียนลงในสมุด จำ�นวน
๑๐ ค�ำ คอื สุข เลข ประมขุ โชค ภาค เทคนคิ วหิ ค นาค บริจาค เมฆ เป็นตน้

๔. ข้ันสรปุ (ฝกึ ทกั ษะ)
ครูให้นักเรียนฝึกอ่านคำ�จากแบบฝึกที่ ๑ จากน้ันให้นักเรียนอ่านให้ครูฟังเป็น
รายบุคคล โดยเลอื กอา่ นคำ�ครัง้ ละ ๕ ค�ำ ขณะท่นี ักเรยี นอ่าน ครูบนั ทกึ ข้อมลู การอ่านลงในแบบบันทึก
นอกจากน้ีครูอาจใช้แบบฝึกท่ีเหมาะสมกับวัยและความสามารถของนักเรียนได้อย่างหลากหลาย
เพื่อฝึกทักษะการอ่านและเขียนคำ� จนแน่ใจว่านักเรียนอ่านและเขียนคำ�ได้อย่างถูกต้องคล่องแคล่ว
ตามแบบฝกึ ท่ี ๒

คูม่ อื การสอนอา่ นเขียน 218 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

สอ่ื การสอน

๑. บตั รคำ�
๒. แบบฝกึ

การวดั และประเมนิ ผล

การตรวจแบบฝกึ

คมู่ ือการสอนอ่านเขยี น 219 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

แบบฝึกท่ี ๑ การอา่ นคำ�ท่ีมีตวั สะกดไมต่ รงตามมาตราในแม่กก

คำ�ช้แี จง
ให้นกั เรียนอา่ นค�ำ ท่ีกำ�หนดให้ภายในเวลา ๕ นาที

ค�ำ ทีก่ ำ�หนดให้
๑. เลข
๒. นาค
๓. สนุ ัข
๔. สุข
๕. โชค
๖. โรค
๗. ภาค
๘. วหิ ค
๙. เมฆ
๑๐. โชค

เฉลยคำ�ตอบ ขอ้ ท ่ี คำ� อา่ นวา่
๑. เลข เลก
๒. นาค นาก
๓. สนุ ขั สุ - นกั
๔. สุข สุก
๕. โชค โชก
๖. โรค โรก
๗. ภาค พาก
๘. วิหค วิ - หก
๙. เมฆ เมก
๑๐. ประมขุ ปฺระ - มุก



คู่มือการสอนอ่านเขียน 220 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

แบบบันทกึ ผลการอา่ นค�ำ ท่ีมตี ัวสะกดแม่กก ไมต่ รงตามมาตรา

ที ่ ชื่อ -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข ้อ ท ี่๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผปา่ผนรละกเผมาไรา่ินมน่

คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้

ในการปรับปรงุ และพัฒนานักเรยี น
๒. วธิ กี ารบนั ทกึ ถา้ อา่ นถูกต้องให้ใส่เคร่ืองหมาย √ ถา้ อ่านผดิ ใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย X (เคร่อื งหมาย √ เทา่ กับ

๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้

ในการปรบั ปรุงและพัฒนานกั เรียนเปน็ รายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน

เพือ่ น�ำ ไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจัดการเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก

จนนกั เรยี นอ่านได้
คู่มอื การสอนอา่ นเขียน 221 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

แบบฝกึ ท่ี ๒ การเขียนคำ�ทม่ี ตี วั สะกดแม่กก ไมต่ รงตามมาตรา

ค�ำ ช้ีแจง
๑. ให้นักเรียนเขียนตามคำ�บอก โดยใช้เวลา ๕ นาที
๒. ให้ครูอ่านคำ�ให้นักเรียนฟัง คำ�ละ ๒ ครั้ง โดยเว้นเวลาให้นักเรียนเขียนก่อนบอกคำ�
ในขอ้ ตอ่ ไป

คำ�ที่ให้เขยี น
๑. เลข
๒. นาค
๓. สุนัข
๔. สุข
๕. โชค
๖. โรค
๗. ภาค
๘. วหิ ค
๙. เมฆ
๑๐. ประมขุ

คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 222 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

แบบบันทึกผลการเขยี นคำ�ท่มี ีตวั สะกดในแม่กก

ที่ ชอื่ -ส กลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ข ้อ ท๖ ี่ ๗ ๘ ๙ ๑๐ คะรแวนมน * ผ ป่าผนรละกเผมาไรา่นิมน่

คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้

ในการปรับปรงุ และพฒั นานักเรยี น
๒. วธิ กี ารบนั ทึก ถา้ เขียนถูกตอ้ งใหใ้ ส่เครือ่ งหมาย √ ถ้าเขียนผิดให้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย X (เคร่ืองหมาย √ เทา่ กับ

๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้

ในการปรบั ปรุงและพฒั นานักเรียนเปน็ รายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน

เพอ่ื น�ำ ไปใช้ในการปรับปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก

จนนักเรยี นอ่านได้
คู่มอื การสอนอ่านเขียน 223 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

แนวการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ การอ่านเขยี นสะกดค�ำ ทม่ี ตี วั สะกดแมก่ บ (๑ ช่วั โมง)
ไม่ตรงตามมาตรา
จุดประสงค์การเรียนรู้

อ่านและเขยี นค�ำ ท่มี ีตัวสะกดแมก่ บ ไม่ตรงมาตราได้

ข้ันตอนการจดั การเรยี นรู้

๑. ข้นั น�ำ (แนะนำ�ตัวสะกด)

๑.๑ เช่ือมโยงและทบทวนก่อนเริ่มต้นจัดกิจกรรมเรียนรู้เรื่องใหม่ เสนอแนะให้ครู
มีการตรวจแก้ไขผลงานของนักเรียนจากช่ัวโมงท่ีผ่านมา เพราะการตรวจแก้ไขผลงานหรือการบ้าน
ของนักเรียน เป็นสิ่งสำ�คัญและจำ�เป็นอย่างยิ่งในการปลูกฝังอุปนิสัยที่ดีแก่นักเรียนในด้านความ
รับผิดชอบ และความใส่ใจตอ่ สิง่ ทน่ี กั เรียนได้เรยี นร้ไู ปแลว้ รวมท้งั เป็นการตรวจสอบว่า นักเรยี นเข้าใจ
เนอื้ หาหรือสงิ่ ท่ีเรียนรู้หรือไม่ อยา่ งไร
๑.๒ เชื่อมโยงความรู้ค�ำ ทม่ี ตี ัวสะกดแมก่ บ ตรงตามมาตรา โดยครูเขยี นค�ำ ทีม่ ตี ัวสะกด
ตรงมาตรา เช่น ทาบ แบบ โอบ บนกระดานด�ำ ใหน้ ักเรียนอ่านออกเสยี งคำ�พร้อมกนั เป็นการทบทวน
เสียงตัวสะกดแม่กบ เช่ือมโยงไปยังตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตรา โดยอธิบายให้กับนักเรียนว่านอกจาก
พยญั ชนะตวั บ เป็นตวั สะกดแลว้ ยงั มพี ยัญชนะอีก ๔ ตัว ทอ่ี อกเสียงเหมอื น บ เปน็ ตัวสะกด ไดแ้ ก่
ปพฟภ
๑.๓ ครูเขียนคำ�ท่ีมี ป พ ฟ ภ เป็นตัวสะกดบนกระดานดำ� เช่น สรุป ยุโรป ภาพ
เคารพ ยีราฟ ลาภ ครูอ่านให้นักเรียนฟงั และให้นักเรยี นอ่านออกเสยี งพร้อมกัน

๒. ข้นั สอนการสะกดเพ่ืออ่านคำ�

๒.๑ ครูนำ�บัตรคำ� คำ�ว่า “ลาภ” ให้นักเรียนอ่านออกเสียงและอ่านสะกดคำ�
และยกตัวอย่างคำ�อน่ื ๆ เพิ่มเตมิ อีก เชน่ ธปู ภาพ กาบ แล้วให้นักเรยี นอ่านและสะกดค�ำ
ลาภ สะกดวา่ ลอ - อา - ภอ ลาบ
ธูป สะกดวา่ ธอ - อู - ปอ ทบู
กาบ สะกดว่า กอ - อา - บอ กาบ

ค่มู อื การสอนอา่ นเขียน 224 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

๒.๒ ให้นักเรียนสังเกตคำ�ท่ีอ่านว่าแต่ละคำ�มีพยัญชนะตัวใดเป็นตัวสะกด เช่น ลาภ
มี ภ เปน็ ตวั สะกด ธปู มี ป เป็นตวั สะกด และกาบ มี บ เปน็ ตัวสะกด
๒.๓ ร่วมกันสรุป “คำ�ท่ีมีตัวสะกดแม่กบ ไม่ตรงตามมาตรา” คือ คำ�ท่ีมี พ ฟ ภ ป
เป็นตวั สะกดแต่ออกเสยี ง บ
๒.๔ ครูให้นักเรียนฝึกอ่านและเขยี นคำ�ทม่ี ีตวั สะกดแมก่ บไมต่ รงตามมาตรา แล้วเลือก
และเขยี นค�ำ โดยแยกตามตวั สะกด ป พ ฟ ภ ตามแบบฝกึ หดั ท่ี ๑

๓. ขั้นสอนสะกดเพื่อเขียนคำ�
ให้นักเรียนฝึกเขียนคำ�ที่มีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา โดยครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม
ตามความเหมาะสม หลังจากนั้นครูให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาครั้งละ ๑ คน เพื่อเขียนคำ�ท่ีมี
ตัวสะกดแม่กบ ตรงตามมาตราและไม่ตรงมาตราตามที่ครูบอก เมื่อนักเรียนเขียนเสร็จ ๑ คำ�
ครตู รวจสอบความถูกตอ้ งและให้คะแนนทนั ที ถา้ พบวา่ กลุม่ ไหนเขยี นผดิ ให้แกไ้ ขทนั ที

๔. ข้นั สรุป (ฝึกทกั ษะ)
ครูให้นักเรียนฝึกอ่านคำ�จากแบบฝึกท่ี ๒ หลังจากนั้นให้นักเรียนอ่านให้ครูฟังเป็น
รายบุคคล เลือกอ่านคำ�ครั้งละ ๕ คำ� ขณะท่ีนักเรียนอ่านครูบันทึกข้อมูลการอ่านลงในแบบบันทึก
ทั้งนี้ครูอาจใช้แบบฝึกที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของนักเรียนได้อย่างหลากหลาย
เพื่อฝกึ ทกั ษะการอ่านและเขียนค�ำ จนแน่ใจวา่ นักเรยี นอ่านและเขียนคำ�ได้อย่างถูกตอ้ งคล่องแคลว่

สอื่ การสอน

๑. บัตรคำ�
๒. แบบฝึก

การวดั และประเมินผล

การตรวจแบบฝกึ

คู่มอื การสอนอา่ นเขียน 225 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

แบบฝกึ ที่ ๑ การอา่ นคำ�ที่มตี ัวสะกดแมก่ บ ไม่ตรงตามมาตรา

ค�ำ ชีแ้ จง
ใหน้ กั เรยี นอา่ นสะกดค�ำ ทก่ี ำ�หนดให้ ภายในเวลา ๓ นาที

๑. ภาพ
๒. รปู
๓. บาป
๔. ธูป
๕. โลภ

เฉลยค�ำ ตอบ สะกดว่า

ขอ้ ท ี่
๑. ภอ - อา - บอ พาบ
๒. รอ - อู - ปอ รปู
๓. บอ - อา - นอ บาน
๔. ทอ - อู - ปอ ทูบ
๕. ลอ – โอ - ภอ โลบ

คูม่ อื การสอนอ่านเขียน 226 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

แบบบันทกึ ผลการอา่ นคำ�ทม่ี ีตวั สะกดแมก่ บ ไม่ตรงตามมาตรา

ท ี่ ชอ่ื - สกลุ ๑ ๒ ข๓ อ้ ท ่ ี ๔ ๕ คะรแวน มน * ผ ผล่ากนา รป ระผ ไเ่ามมนิน่

คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้

ในการปรับปรุงและพัฒนานกั เรียน
๒. วธิ ีการบันทกึ ถา้ อ่านถูกต้องใหใ้ ส่เครอื่ งหมาย √ ถ้าอ่านผิดใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย X (เคร่อื งหมาย √ เทา่ กบั

๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้

ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานักเรยี นเป็นรายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน

เพื่อน�ำ ไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก

จนนกั เรียนอ่านได้
คูม่ อื การสอนอา่ นเขียน 227 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

แบบฝกึ ท่ี ๒ การเขยี นคำ�ทมี่ ตี วั สะกดแมก่ บ ไมต่ รงตามมาตรา

คำ�ช้แี จง
๑. ให้นกั เรยี นเขียนตามคำ�บอก โดยใช้เวลา ๕ นาที
๒. ใหค้ รอู ่านค�ำ ใหน้ กั เรยี นฟงั คำ�ละ ๒ คร้ัง โดยเวน้ เวลาให้นกั เรยี นเขยี นกอ่ นบอกค�ำ ในขอ้
ตอ่ ไป

ค�ำ ที่ก�ำ หนดให้เขยี น
๑. บาป
๒. รปู
๓. สภุ าพ
๔. ลาภ
๕. เคารพ
๖. อาชพี
๗. โลภ
๘. ยีราฟ
๙. รปู รา่ ง
๑๐. ธปู

คูม่ ือการสอนอ่านเขียน 228 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

แบบบันทกึ ผลการเขียนค�ำ ที่มตี วั สะกดแมก่ บ ไม่ตรงตามมาตรา

ท ่ี ชื่อ -สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข ้อ ที่ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผปา่ผนรละกเผมาไร่าินมน่

คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้

ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรยี น
๒. วธิ ีการบันทกึ ถา้ เขยี นถกู ตอ้ งให้ใส่เครอ่ื งหมาย √ ถา้ เขียนผิดใหใ้ ส่เครอื่ งหมาย X (เคร่ืองหมาย √ เทา่ กับ

๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เทา่ กบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้

ในการปรับปรงุ และพัฒนานกั เรียนเป็นรายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน

เพื่อน�ำ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก

จนนกั เรยี นเขยี นได้
คู่มอื การสอนอ่านเขยี น 229 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

ส่วนท่ี ๓ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลประจ�ำ หนว่ ย

ฉบบั ท่ี ๑ การอา่ นคำ�ท่ีมีตวั สะกดไมต่ รงตามมาตรา

คำ�ช้แี จง

ใหน้ กั เรยี นอ่านคำ�ท่ีก�ำ หนดให้ โดยใชเ้ วลา ๕ นาที



๑. ความสุข ๑๑. รปู ภาพ

๒. ประมุข ๑๒. โลภมาก

๓. โชคดี ๑๓. เคารพ

๔. โอกาส ๑๔. คูณ

๕. กฎ ๑๕. ทาส

๖. ฟุตบอล ๑๖. กุญแจ
๗. ตำ�รวจ ๑๗. อาหาร
๘. อากาศ ๑๘. วาฬ

๙. วเิ ศษ ๑๙. ลกู บอล

๑๐. ครุฑ ๒๐. โบราณ

คูม่ อื การสอนอา่ นเขยี น 230 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

เฉลยคำ�ตอบ

ขอ้ ท ่ี ค�ำ อา่ นว่า
๑. คฺวาม - สกุ
๒. ความสุข ปฺระ - มุก
๓. ประมุข โชก - ดี
๔. โชคดี โอ - กาด
๕. โอกาส กด
๖. กฎ ฟุด - บอน
๗. ฟตุ บอล ตำ� - หรฺ วด
๘. ต�ำ รวจ อา - กาด
๙. อากาศ วิ - เสด
๑๐. วิเศษ ครฺ ดุ
๑๑. ครุฑ รูบ - พาบ
๑๒. รูปภาพ โลบ
๑๓. โลภ เคา - รบ
๑๔. เคารพ คนู
๑๕. คูณ ทาด
๑๖. ทาส กนุ - แจ
๑๗. กญุ แจ อา - หาน
๑๘. อาหาร วาน
๑๙. วาฬ ลกู - บอน
๒๐. ลกู บอล โบ - ราน
โบราณ

คมู่ อื การสอนอ่านเขยี น 231 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

แบบบนั ทึกผลการอ่านค�ำ ทม่ี ีตวั สะกดไมต่ รงตามมาตรา

ท ่ี ช ่ือ -ส ก ลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ข๐ อ้ ท๑๑ ่ี ๑๒ ๑ ๓ ๑ ๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒ ๐ ค ะรแวนมน * ผ ป่าผนรละกเมผาไร่านิมน่

คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้

ในการปรับปรุงและพัฒนานักเรยี น
๒. วธิ ีการบันทกึ ถ้าอ่านถูกตอ้ งใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย √ ถา้ อา่ นผดิ ให้ใสเ่ ครอื่ งหมาย X (เครือ่ งหมาย √ เทา่ กบั

๑ คะแนน เครื่องหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้

ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานักเรียนเป็นรายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน

เพ่ือนำ�ไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก

จนนักเรยี นอ่านได้
คู่มือการสอนอา่ นเขียน 232 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

ฉบบั ท่ี ๒ การเขียนคำ�ทม่ี ตี วั สะกดไม่ตรงตามมาตรา

ค�ำ ชี้แจง

๑. ใหน้ กั เรียนเขียนตามคำ�บอก โดยใช้เวลา ๕ นาที
๒. ให้ครูอา่ นคำ�ให้นกั เรยี นฟังค�ำ ละ ๒ ครง้ั โดยเว้นเวลาให้นกั เรียนเขียนกอ่ นบอกค�ำ ในขอ้
ต่อไป

ค�ำ ทใ่ี หเ้ ขยี น ๑๑. ยาเสพติด
๑๒. ถ่ายรูป
๑. นาค ๑๓. โชคลาภ
๒. บวช ๑๔. เชญิ ธง
๓. ความสุข ๑๕. กนั ดาร
๔. ประมาท ๑๖. ถือศีล
๕. พิเศษ ๑๗. ขอบคุณ
๖. โอรส ๑๘. วาฬ
๗. สัญญา ๑๙. อุทศิ
๘. ฟตุ บอล ๒๐. บ�ำ เพ็ญ
๙. จติ ใจ
๑๐. รถไฟ

คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 233 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

แบบบันทกึ ฉบับที่ ๒ ผลการเขยี นค�ำ ท่ีมีตวั สะกดไมต่ รงตามมาตรา

ท ่ี ช อื่ -ส ก ุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ข๐ อ้ ท๑๑่ี ๑๒ ๑ ๓ ๑ ๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒ ๐ ค ะรแวนมน * ผ ปา่ผนรละกเมผาไรา่ินมน ่

คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้

ในการปรบั ปรุงและพัฒนานักเรยี น
๒. วธิ กี ารบันทกึ ถ้าเขยี นถกู ตอ้ งให้ใส่เครื่องหมาย √ ถ้าเขยี นผิดให้ใสเ่ ครอื่ งหมาย X (เครื่องหมาย √ เทา่ กบั

๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เทา่ กบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้

ในการปรับปรุงและพฒั นานกั เรยี นเป็นรายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน

เพื่อนำ�ไปใช้ในการปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก

จนนกั เรียนเขียนได้
คูม่ ือการสอนอ่านเขียน 234 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

ตัวอย่างสรปุ ผลการประเมนิ การแจกลูกสะกดค�ำ ทีม่ ีตวั สะกดไม่ตรงตามมาตรา

ที ่ ชื่อ - ส ก ลุ ( ๒ฉ๐บ คบั ะทแผ่ี น๑ลน ก)า ร ประเม(๒ินฉ๐ บคับะทแ ่ี น๒น ) (๔ค๐ระควแ ะมนแนน น) สผร่าุปนผ ลการปรไมะเผ่ ม่านิ น

หมายเหตุ
๑. ถา้ รวมคะแนนไดร้ อ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป และคะแนนรายแบบประเมินไดร้ ้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ทกุ แบบประเมนิ

ถือว่าผ่านเกณฑ์
๒. ถ้ารวมคะแนนได้ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป แต่คะแนนรายแบบประเมินบางแบบประเมินได้ไม่ถึง

ร้อยละ ๘๐ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ แตใ่ ห้ซ่อมเสริมส่วนทีไ่ ม่ถงึ รอ้ ยละ ๘๐
๓. ถา้ รวมคะแนนไดไ้ มถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ ถอื วา่ ไมผ่ า่ นเกณฑใ์ หส้ อนซอ่ มเสรมิ ในกรณที นี่ กั เรยี นไดค้ ะแนน

บางแบบประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป ไมต่ ้องซอ่ มเสริมส่วนนนั้

คู่มอื การสอนอ่านเขียน 235 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

หนว่ ยท่ี ๙ การแจกลูกสะกดคำ�ที่มอี ักษรควบ

สว่ นที่ ๑ ความรู้ส�ำ หรบั ครู

คำ�ควบกล้ํา แบ่งตามลักษณะการออกเสียงได้ ๒ ประเภท คือ อักษรควบแท้ และอักษร
ควบไม่แท้

๑. อกั ษรควบแท้ คอื อกั ษรควบทอี่ อกเสยี งพยญั ชนะทงั้ ๒ ตวั ควบกลาํ้ กนั มี ๑๕ ลกั ษณะ
คือ พยัญชนะต้นตัวแรกเปน็ ก ข ค ต ป ผ พ ควบกับ ร หรอื ล หรือ ว ดังต่อไปนี้

พยัญชนะต้นตวั แรก ก ข ค ต ป พ ผ
พยัญชนะควบ ร ร ร ร ร ร ร -
พยญั ชนะควบ ล ล ล ล - ล ล ล
พยญั ชนะควบ ว ว ว ว - - - -

คำ�ที่พยญั ชนะตน้ ควบกับ ร มี ๖ ลกั ษณะ คือ กร ขร คร ตร ปร และ พร ดงั น้ี
กร เช่น ไกร กรอง กราย กรดี แกรง่
ขร เชน่ ขรวั ขรุขระ ขรบิ
คร เชน่ ใคร ครบ ครัน คร้าม ครวั ครอง ครอบ
ตร เช่น ตรอง ตริ ตรี ตรง ตรงึ ตระ
ปร เชน่ ปราณ เปรม เปราะ ประปราย
พร เช่น พรวน พรง้ิ พรุง่ พราย เพรง พรกิ

คมู่ อื การสอนอ่านเขยี น 236 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

ค�ำ ทพ่ี ยญั ชนะต้นควบกับ ล มี ๕ ลกั ษณะ คือ กล ขล คล ปล และ ผล ดังนี้
กล เช่น กลํา้ กลนื กลม กลอง กลอ่ ม กลาด เกลา เกลยี ว เกล่อื น
ขล เชน่ ขลาด เขลา โขลง โขลน ขลงั ขลิบ
คล เช่น คลํา้ คลาด คลาย คล้อย คลงั
ปล เช่น ปลา เปลยี้ ปลืม้ ปลัก ปลวก ปลอบ
ผล เช่น ผลาญ ผลงุ ผลุบ เผลอ เผล่ เผล้

ค�ำ ท่ีพยญั ชนะตน้ ควบกบั ว มี ๓ ลกั ษณะ คอื กว ขว และ คว ดงั นี้
กว เช่น กวาด กวัก ไกว แกวง่ กวาง เกวยี น
ขว เชน่ ขวา ขวาน ขวิด ขวกั ไขว่ ขวนขวาย
คว เชน่ ควาน ความ ควาย ควัก ควา้ ง ควัน

๒. อักษรควบไม่แท้ คือ อักษรควบท่ีออกเสียงแต่พยัญชนะต้นตัวหน้าตัวเดียวบ้าง
ออกเสียงกลายเปน็ ตวั อ่ืนไปบา้ ง มี ๒ ลกั ษณะ ดงั น้ี
๒.๑ คำ�ที่มพี ยญั ชนะตน้ ควบกบั ร แต่ไม่ออกเสียง /ร/ ได้แก่ พยญั ชนะ จร ซร ศร สร
เช่น
จรงิ อา่ นวา่ จงิ
เศรา้ อา่ นว่า เสา้
สร้อย อ่านว่า สอ้ ย
ศร ี อ่านวา่ สี
ศรทั ธา อ่านวา่ สดั - ทา
เศรษฐี อ่านว่า เสด - ถี
อาศรม อ่านวา่ อา - สม
เสรมิ อา่ นวา่ เสมิ
สร้าง อา่ นว่า ส้าง
สระ อ่านว่า สะ
สรง อา่ นว่า สง

ค่มู อื การสอนอา่ นเขยี น 237 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

สร่าง อา่ นว่า สา่ ง
เสรจ็ อ่านวา่ เส็ด
ประเสริฐ อา่ นวา่ ปฺระ - เสดิ
ก�ำ สรวล อา่ นวา่ ก�ำ - สวน

๒.๒ คำ�ท่ีมีพยัญชนะต้น ท ควบกับ ร แล้วออกเสียงเป็น /ซ/ มีท้ังหมด ๑๘ คำ�
นอกเหนือจากน้ี คำ� ทร ควบกลํ้ากันท่ีเป็นคำ�ยืมจากภาษาบาลีสันสกฤต จะออกเสียง /ทร/
เชน่ อินทรา จันทรา นทิ รา เปน็ ต้น
ทรง อา่ นว่า ซง
ทราบ อ่านว่า ซาบ
ทราม อา่ นว่า ซาม
ทราย อา่ นวา่ ซาย
แทรก อา่ นวา่ แซก
ทรุด อา่ นว่า ซดุ
โทรม อ่านวา่ โซม
ทรวง อ่านวา่ ซวง
ทรัพย์ อ่านว่า ซับ
ไทร อ่านว่า ไซ
มัทร ี อ่านว่า มดั - ซี
อนิ ทรี อ่านวา่ อิน - ซี
อินทรีย์ อา่ นว่า อิน - ซี
นนทรี อ่านว่า นน - ซี
พทุ รา อา่ นวา่ พุด - ซา
ฉะเชงิ เทรา อา่ นวา่ ฉะ - เชงิ - เซา
เทริด อา่ นวา่ เซดิ
ทรวด อา่ นวา่ ซวด

คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 238 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

หรืออาจใช้บทร้อยกรอง กาพย์ยานี ๑๑ คำ�ควบกลํ้าไม่แท้ ให้นักเรียนฝึกอ่านและเขียน
เพื่อช่วยจ�ำ ดงั นี้

ทรวดทรงทราบทรามทราย ทรุดโทรมหมายนกอนิ ทรี

มัทรอี นิ ทรียม์ ี เทริดนนทรพี ุทราเพรา

ทรวงไทรทรัพยแ์ ทรกวดั โทรมนัสย*์ ฉะเชงิ เทรา

ตวั ทร เหลา่ น้ีเรา ออกส�ำ เนียงเป็นเสยี ง ซ

(ก�ำ ชยั ทองหลอ่ )

* คำ�น้ี ไม่มีใช้ในภาษาไทยแล้ว

การสอนอา่ นสะกดคำ�ที่มีอกั ษรควบ

การสอนอ่านสะกดคำ�ท่ีมีอักษรควบมีหลายวิธี ครูควรเลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่งในการสอน
เมื่อนักเรียนจดจำ�รูปและเสียงของตัวอักษรได้แล้ว นักเรียนสามารถเรียนรู้การอ่านและการเขียน
ไปพร้อม ๆ กันได้ แตค่ รคู วรสอนใหน้ กั เรยี นอา่ นก่อน แล้วจงึ เรม่ิ ฝกึ การเขยี นสะกดคำ�
๑. การสอนอ่านและเขยี นคำ�ทมี่ ีอักษรควบแท้ สอนอา่ นได้ ๒ แบบ คอื อา่ นเรียงตวั อักษร
ที่ปรากฏ และอา่ นออกเสยี งตัวควบพร้อมกนั ดังน้ี
๑.๑ การสอนอา่ นค�ำ ทมี่ อี ักษรควบแท้
สอนอ่านเรียงตัวอกั ษรทปี่ รากฏ แลว้ ให้อา่ นเปน็ เสยี งเดยี ว ดังตวั อย่าง

ตวั อยา่ งท่ี ๑ การอา่ นค�ำ ทพี่ ยญั ชนะต้นควบกับ ร และไม่มตี ัวสะกด
ไกร สะกดว่า กอ - รอ - ไอ ไกรฺ
ขรัว สะกดว่า ขอ - รอ - อวั ขรฺ ัว
คร ู สะกดว่า คอ - รอ - อู คฺรู
ตรี สะกดว่า ตอ - รอ - อี ตรฺ ี
ประ สะกดวา่ ปอ - รอ - อะ ปรฺ ะ
พระ สะกดวา่ พอ - รอ - อะ พฺระ

คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 239 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

ตวั อยา่ งท่ี ๒ การอา่ นคำ�ทพ่ี ยัญชนะตน้ ควบกบั ร และมีตัวสะกด
กราบ สะกดวา่ กอ - รอ - อา - บอ กรฺ าบ
ขรมึ สะกดว่า ขอ - รอ - อึ - มอ ขฺรมึ
เครียด สะกดว่า คอ - รอ - เอยี - ดอ เครฺ ยี ด
ตรวจ สะกดว่า ตอ - รอ - อวั - จอ ตรฺ วจ

ตวั อยา่ งท่ี ๓ การอ่านคำ�ทพ่ี ยัญชนะต้นควบกบั ล และไม่มตี ัวสะกด

ไกล สะกดวา่ กอ - ลอ - ไอ ไกฺล

คละ สะกดว่า คอ - ลอ - อะ คฺละ

ปลา สะกดว่า ปอ - ลอ - อา ปลฺ า

พล ุ สะกดวา่ พอ - ลอ - อุ พลฺ ุ

ตัวอยา่ งที่ ๔ การอ่านคำ�ทพี่ ยัญชนะต้นควบกับ ล และมีตวั สะกด
กลอง สะกดว่า กอ - ลอ - ออ - งอ กฺลอง
โขลง สะกดว่า ขอ - ลอ - โอ - งอ โขลฺ ง
คลาน สะกดว่า คอ - ลอ - อา - นอ คฺลาน
ปลวก สะกดวา่ ปอ - ลอ - อวั - กอ ปลฺ วก
เพลิน สะกดว่า พอ - ลอ - เออ - นอ เพลฺ นิ
ผลัก สะกดวา่ ผอ - ลอ - อะ - กอ ผลฺ ัก

ตวั อย่างที่ ๕ การอ่านคำ�ทพ่ี ยัญชนะตน้ ควบกับ ว และไม่มตี วั สะกด

กวา สะกดว่า กอ - วอ - อา กวฺ า

ขวา สะกดว่า ขอ - วอ - อา ขฺวา

คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 240 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

ตวั อย่างที่ ๖ การอา่ นคำ�ท่พี ยัญชนะตน้ ควบกบั ว และมีตวั สะกด
กวาง สะกดว่า กอ - วอ - อา - งอ กฺวาง
แขวน สะกดว่า ขอ - วอ - แอ - นอ แขวฺ น
ควาย สะกดวา่ คอ - วอ - อา - ยอ ควฺ าย

๑.๒ การสอนอา่ นคำ�ที่มีอกั ษรควบแทโ้ ดยการแจกลูก
เม่ือนักเรียนฝึกอ่านคำ�ที่มีอักษรควบจนเข้าใจแล้ว ครูควรให้นักเรียนฝึกอ่าน
เพ่มิ เติม โดยการแจกลูก ดงั นี้

ตัวอย่างที่ ๑ การอา่ นแจกลูกค�ำ ท่มี อี กั ษรควบแท้แบบไมม่ ตี วั สะกด

สระ อา (-า) สระ อี ( -ี ) สระอู ( -ู )

กร กรา กรี กรฺ ู

ขร ขรา ขร ี ขรฺ ู

คร ครา ครี ครฺ ู

ตร ตรา ตรี ตฺรู

ปร ปรา ปรี ปฺรู

พร พรา พร ี พฺรู

ตวั อย่างท่ี ๒ การอ่านแจกลกู ค�ำ ทม่ี อี ักษรควบแทแ้ บบมีตวั สะกด

อักษรควบ สระ ตวั สะกด อ่านวา่

อา ง ปรฺ าง

ป ร อา บ ปฺราบ
เอยี บ เปฺรยี บ

โอ ด โปฺรด

แอ ง แปรฺ ง

คู่มอื การสอนอ่านเขยี น 241 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

๑.๓ การเขยี นสะกดค�ำ ทมี่ ีอักษรควบแท้
การสอนเขียนสะกดคำ�ที่มีอักษรควบแท้ครูจะต้องฝึกให้นักเรียนสะกดคำ�
ใหค้ ล่องกอ่ น โดยใชว้ ธิ กี ารสะกดแบบเรียงตามล�ำ ดับตัวอกั ษร ดังนี้

ตัวอย่างท่ี ๑ การเขียนสะกดค�ำ ทีม่ ีอักษรควบแทแ้ บบไม่มีตัวสะกด
ไกร เขยี นสะกดวา่ สระไอไมม้ ลาย กอ ไก่ รอ เรอื
ขรวั เขยี นสะกดว่า ขอ ไข่ รอ เรอื สระอวั
คร ู เขยี นสะกดวา่ คอ ควาย รอ เรอื สระอู
ตร ี เขยี นสะกดว่า ตอ เตา่ รอ เรือ สระอี
ประ เขยี นสะกดว่า ปอ ปลา รอ เรอื สระอะ
พระ เขยี นสะกดว่า พอ พาน รอ เรอื สระอะ

ตัวอยา่ งที่ ๒ การเขยี นสะกดคำ�ทมี่ ีอักษรควบแท้แบบมตี วั สะกด
พราว เขียนสะกดวา่ พอ พาน รอ เรือ สระอา วอ แหวน
กราบ เขยี นสะกดวา่ กอ ไก่ รอ เรือ สระอา บอ ใบไม้
กรวย เขียนสะกดวา่ กอ ไก่ รอ เรอื วอ แหวน ยอ ยักษ์
คราด เขียนสะกดว่า คอ ควาย รอ เรอื สระอา ดอ เดก็
กรีด เขยี นสะกดวา่ กอ ไก่ รอ เรอื สระอี ดอ เด็ก

คู่มอื การสอนอ่านเขยี น 242 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

๑.๔ การผนั วรรณยุกต์
การผันเสียงวรรณยุกต์คำ�ท่ีมีอักษรควบแท้ใช้หลักการเดียวกันกับการผันเสียง
วรรณยุกต์ของคำ�ท่ีมีพยัญชนะต้นตัวเดียว โดยยึดกฎการผันวรรณยุกต์ของพยัญชนะต้นตัวแรก
ไม่ใชต่ วั ทม่ี าควบ ดังตาราง

คำ� สามัญ เอก ( -่ เสยี งวรรณยุกต์ ตรี ( -๊ ) จตั วา ( -๋ )
) โท ( -้ )

พยัญชนะตน้ อักษรกลาง กรา กรา่ กร้า กรา๊ กร๋า

พยญั ชนะตน้ อกั ษรตาํ่ เครือง - เครื่อง เคร้อื ง -

พยญั ชนะต้นอักษรสงู - ขวา่ ง ขว้าง ขวาง

๒. การสอนอา่ นและเขยี นค�ำ ทมี่ ีอักษรควบไม่แท้

๒.๑ การสะกดคำ�เพอื่ อ่านค�ำ ท่มี ีอักษรควบไมแ่ ท้
๒.๑.๑ การสะกดคำ�ทีค่ วบกบั ร แต่ไมอ่ อกเสยี ง /ร/
จรงิ สะกดว่า จอ - รอ - อิ - งอ จิง
ไซร้ สะกดวา่ ซอ - รอ - ไอ - ไม้โท ไซ้
หรือ ซอ - รอ - ไอ - ไซ - ไมโ้ ท ไซ้
เศรา้ สะกดว่า สอ - รอ - เอา - ไมโ้ ท เส้า
หรือ สอ - รอ - เอา - เสา - ไม้โท เส้า
สร้อย สะกดว่า สอ - รอ - ออ - ยอ - สอย - ไมโ้ ท ส้อย
๒.๑.๒ การสอนอ่านและเขียนคำ�ที่มีพยัญชนะ ท ควบกับ ร แล้วออกเสียง
เปน็ /ซ/ ให้นักเรียนทอ่ งจำ�คำ�ทงั้ ๑๘ ค�ำ
๒.๒ การสะกดค�ำ เพ่ือเขยี นให้สะกดแบบเรยี งตามลำ�ดับตัวอักษร ดงั นี้
จรงิ เขียนสะกดวา่ จอ จาน รอ เรอื สระอิ งอ งู
ศร ี เขียนสะกดวา่ สอ ศาลา รอ เรอื สระอี
สร้าง เขียนสะกดว่า สอ เสือ รอ เรือ สระอา งอ งู ไม้โท

คูม่ อื การสอนอา่ นเขยี น 243 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

ส่วนท่ี ๒ แนวทางการจัดการเรยี นรู้

การสอนอ่านเขียนสะกดคำ�ที่มีอักษรควบควรแยกอธิบายคำ�ที่มีอักษรควบแท้ที่พยัญชนะต้น
ควบกับ ร ล ว ควบ และคำ�ควบกล้ําไม่แท้ เม่ือนักเรียนจดจำ�รูปและเสียงของตัวอักษรได้แล้ว
นักเรียนสามารถเรียนรกู้ ารอ่านและการเขียนไปพรอ้ มกันได้ แตค่ รกู ็ควรสอนใหน้ ักเรยี นอา่ นออกเสียง
ใหค้ ลอ่ งก่อน แล้วจงึ เริ่มฝึกการเขียนสะกดคำ� ดงั น้ี

ขัน้ ท่ี ๑ การอา่ นเขยี นโดยการแจกลกู สะกดค�ำ ทมี่ อี กั ษรควบทพี่ ยญั ชนะตน้ ควบกบั ร
แบบไม่มตี วั สะกด

๑.๑ ครูให้นักเรียนสงั เกตการออกเสียงค�ำ ทมี่ ีพยญั ชนะต้น ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร คือ กร
ขร คร ตร ปร พร แล้วฝกึ ให้นกั เรียนออกเสยี งใหถ้ ูกตอ้ ง
๑.๒ ให้นักเรียนฝึกอ่านคำ�ท่ีมีอักษรควบที่มีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกลํ้ากับ ร
แบบไมม่ ตี ัวสะกด โดยการสะกดคำ� เชน่ คำ�ว่า ไกร ขรัว ครู ตรี เปน็ ตน้ โดยครอู า่ นน�ำ ใหน้ ักเรียนอ่าน
ตามพร้อม ๆ กัน และอา่ นเป็นรายบุคคล
๑.๓ ครูฝึกให้นักเรียนอ่านโดยการแจกลูกคำ�ที่มีอักษรควบท่ีมีพยัญชนะ ก ข ค ต
ป พ ควบกบั ร แบบไมต่ วั สะกด
๑.๔ ครฝู กึ ให้นกั เรยี นผนั วรรณยกุ ตค์ �ำ ท่มี อี ักษรควบ
๑.๕ ครูฝึกให้นักเรียนเขียนโดยการสะกดคำ�ท่ีมีอักษรควบกับ ร แบบไม่มีตัวสะกด
ให้เขยี นเรียงตามตัวอกั ษร เช่น คำ�ว่า ไกร เขียนสะกดคำ�วา่ สระไอ ไม้มลาย กอ ไก่ รอ เรอื

ค่มู อื การสอนอา่ นเขยี น 244 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ


Click to View FlipBook Version