The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jao.wikrom25, 2022-03-28 03:50:32

treditoanal

treditoanal

TREDITOANAL

THATLAND

ประเพณีภาคเหนือ

ประเพณี ของภาคเหนื อ มี ลั กษณะเป็ นพิ ธี กรรมที่ เกี่ ยวข้ องกั บวิ ถี การดำรงชี วิ ต ที่ เกิ ดจากการ
ผสมผสาน ระหว่ างพุ ทธศาสนากั บความเชื่ อ ในเรื่ องการนั บถื อผี ทำให้ มี ประเพณี ที่ เป็ นเอกลั กษณ์
และลั กษณะของ ประเพณี จะแตกต่ างกั นไปตามฤดู กาล

ประเพณี ปอยส่างลองหรื อบวชลูกแก้ว

จ . แ ม่ ฮ่ อ ง ส อ น

ป ร ะ เ พ ณี ป อ ย ส่ า ง ล อ ง จ ะ จั ด ร ะ ห ว่ า ง เ ดื อ น มี น า ค ม ถึ ง
เมษายน ระยะเวลา ๓-๗ วัน โดยทั่วไปนิยมจัดงาน
๓ วัน

"ปอยส่างลอง" เป็นงานประเพณีบวชลูกแก้วของไทย
ใหญ่ เป็นการบรรพชาสามเณรให้สืบทอดพระพุทธศาสนา
แ ล ะ เ พื่ อ เ รี ย น รู้ พ ร ะ ธ ร ร ม คำ สั่ ง ส อ น ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า

ประเพณี ยี่เป็ง

จ.เชียงใหม่

"ยี่เป็ง" หรือวันเพ็ญเดือนยี่ของชาวล้านนา ตรงกับ
วันเพ็ญเดือน 12 อันเป็นช่วงปลายฤดูฝน ต้นฤดูหนาว
อากาศปลอดโปร่งท้องฟ้าแจ่มใส ธรรมเนียมปฎิบัติของ
ช า ว ล้ า น น า อ ย่ า ง ห นึ่ ง น อ ก เ ห นื อ จ า ก ก า ร ล อ ย ก ร ะ ท ง
ในแม่น้ำก็คือ การจุดประทีปโคมลอยขึ้นไปสว่างไสว
บนท้องฟ้า โดยมีคติความเชื่อว่า เพื่อบูชาพระเกตุแก้ว
จุฬามณี บนสรวงสวรรค์

ประเพณี ลอยกระทงสายหรื อ
ป ร ะ ที ป พั น ด ว ง

จ.ตาก

เป็นประเพณีที่นำเอาพระพุทธศาสนา ภูมิปัญญา
ชาวบ้าน งานศิลปวัฒนธรรมมาหล่อหลอมรวมกันจน
เ ป็ น รู ป แ บ บ ที่ โ ด ด เ ด่ น ป ฏิ บั ติ สื บ ท อ ด กั น ม า เ ป็ น เ ว ล า ช้ า
นาน ซึ่งจะแตกต่างจากจังหวัดอื่นเพราะส่วนประกอบ
ของกระทงที่ใช้กะลามะพร้าว ประกอบกับแม่น้ำปิงที่
ไ ห ล ผ่ า น จั ง ห วั ด ต า ก จ ะ มี สั น ท ร า ย ใ ต้ น้ำ ทำ ใ ห้ เ กิ ด เ ป็ น
ร่องน้ำที่สวยงามตามธรรมชาติ เมื่อนำกระทงลอยกระทง
จ ะ ไ ห ล ไ ป ต า ม ร่ อ ง น้ำ ดั ง ก ล่ า ว เ กิ ด เ ป็ น ส า ย ย า ว ต่ อ เ นื่ อ ง

ประเพณีภาคเหนือ

ประเพณี ของภาคเหนื อ มี ลั กษณะเป็ นพิ ธี กรรมที่ เกี่ ยวข้ องกั บวิ ถี การดำรงชี วิ ต ที่ เกิ ดจากการ
ผสมผสาน ระหว่ างพุ ทธศาสนากั บความเชื่ อ ในเรื่ องการนั บถื อผี ทำให้ มี ประเพณี ที่ เป็ นเอกลั กษณ์
และลั กษณะของ ประเพณี จะแตกต่ างกั นไปตามฤดู กาล

ประเพณี ตานตุง หรื อ ทานตุง
ในภาษาถิ่ นล้ านนา ตุ ง หมายถึ ง “ธง” จุ ดประสงค์
ของการทำตุ งในล้ านนาก็ คื อ การทำถวายเป็ นพุ ทธบู ชา
ชาวล้ านนาถื อว่ าเป็ นการทำบุ ญอุ ทิ ศให้ แก่ ผู้ ที่ ล่ วงลั บไป
แล้ ว หรื อถวายเพื่ อเป็ นปั จจั ยส่ งกุ ศลให้ แก่ ตนไปในชาติ
หน้ า ด้ วยความเชื่ อที่ ว่ า เมื่ อตายไปแล้ วก็ จะได้ เกาะยึ ด
ชายตุ งขึ้ นสวรรค์ พ้ นจากขุ มนรก วั นที่ ถวายตุ งนั้ นนิ ยม
กระทำในวั นพญาวั นซึ่ งเป็ นวั นสุ ดท้ ายของเทศกาล
ส ง ก ร า น ต์

ประเพณี กรวยสลาก หรื อต านก๋วยส ล าก

ประเพณี ตานก๋ วยสลากทางภาคเหนื อนิ ยมจั ดกั นในช่ วง
เดื อน ๑๒ เหนื อถึ งเดื อนยี่ เหนื อ หรื อตั้ งแต่ เดื อนกั นยายน
จนถึ งเดื อนตุ ลาคมของทุ กปี เป็ นประเพณี ของชาวพุ ทธที่ มี
การทำบุ ญให้ ทานรั บพรจากพระ จะทำให้ เกิ ดสิ ริ มงคลแก่
ตนและอุ ทิ ศส่ วนกุ ศลให้ แก่ ผู้ ล่ วงลั บไปแล้ ว เป็ นการระลึ ก
ถึ งบุ ญคุ ณของผู้ มี พระคุ ณ และเป็ นการแสดงออกถึ งความ
สามั คคี ของคนในชุ มชน

ประเพณี สงกรานต์ล้านนา

เป็ นประเพณี เก่ าแก่ มาแต่ โบราณ ตรงกั บวั นที่ 13
เมษายนของทุ กปี ชาวเชี ยงรายถื อว่ าเป็ นวั นขึ้ นปี ใหม่
เปลี่ ยนศั กราชใหม่ ชาวบ้ านเรี ยกกั นว่ า “วั นสั งขาร
ล่ อง” หมายถึ งว่ าอายุ สั งขารของคนเราได้ ล่ วงไปอี กปี
หนึ่ งนิ ยมไปจนถึ งวั นที่ 17 เมษายน ในแต่ ละวั นจะมี
กิ จกรรมต่ าง ๆ เช่ น การขนทรายเข้ าวั ด สรงน้ำ
พระพุ ทธรู ปและรดน้ำดำหั วผู้ ใหญ่

ประเพณีภาคอีสาน

ภาคอี สานเป็ นพื้ นที่ ที่ เป็ นอารยธรรมโบราณ ประชากรที่ อาศั ยอยู่ ส่ วนมากเป็ นคนไทยเชื้ อสายลาว
และเชื้ อสายเขมร มี คติ นิ ยมผู กแน่ นอยู่ กั บ ประเพณี โบราณมี การรั กษา สื บเนื่ องต่ อกั นมา จึ งเป็ นถิ่ นแดน
ที่ เต็ มไปด้ วยกลิ่ นอายของวั ฒนธรรมประเพณี ที่ ผสมผสานความเชื่ อถื อในเรื่ องของการนั บถื อผี และคติ
ทางพระพุ ทธศาสนาเข้ าด้ วยกั น

ประเพณี ผีตาโขน จ.เลย

การละเล่ นผี ตาโขนมี มานานแล้ วแต่ ไม่ มี หลั ก
ฐานปรากฏแน่ ชั ดว่ ามี มาตั้ งแต่ เมื่ อใด แต่ ชาวบ้ าน
ได้ ปฏิ บั ติ และสื บทอดต่ อกั นมาจากบรรพบุ รุ ษ เป็ น
ประเพณี ที่ เป็ นเอกลั กษณ์ ประจำจั งหวั ดเลย แสดง
ในงาน "บุ ญหลวง" ซึ่ งเป็ นการรวมเอาบุ ญผะเหวด
และบุ ญบั้ งไฟเป็ นบุ ญเดี ยวกั น เพื่ อเป็ นการบู ชา
อารั กษ์ หลั กเมื อง และพิ ธี การบวงสรวงดวง
วิ ญญาณอั นศั กดิ์ สิ ทธิ์ ของเจ้ าในอดี ต

ประเพณี ไหลเรื อไฟ จ.นครพนม
เรื อไฟ หรื อ เฮื อไฟ หมายถึ ง เรื อที่ ทำด้ วยประวั ติ
ความเป็ นมาและความสำคั ญของประเพณี ไหลเรื อไฟ
งานประเพณี ไหลเรื อไฟ นิ ยมปฏิ บั ติ กั นในเทศกาลออก
พรรษา ในวั นขึ้ น 15 ค่ำ เดื อน 11 หรื อ วั นแรม 1 ค่ำ
เดื อน 11 ประเพณี ไหลเรื อไฟ มี ความเชื่ อเกี่ ยวโยง
สั มพั นธ์ กั บข้ อมู ลความเป็ นมาหลายประการ เช่ น
เนื่ องจากการบู ชารอยพระพุ ทธบาท การสั กการะ
พกาพรหม การบวงสรวงพระธาตุ จุ ฬามณี การระลึ ก
ถึ งพระคุ ณ ของพระแม่ คงคา เป็ นต้ น

ประเพณี แห่เทียนพรรษา

เที ยนพรรษา เริ่ มมี มาตั้ งแต่ สมั ยพุ ทธกาล
ชาวพุ ทธจะยึ ดถื อเป็ นประเพณี นำเที ยนไปถวาย
พระภิ กษุ ในเทศกาลเข้ าพรรษา เพื่ อปรารถนา
ให้ ตนเองเป็ นผู้ เฉลี ยวฉลาด มี ไหวพริ บ ประดุ จ
แสงสว่ างของดวงเที ยน และเริ่ มมี "การตกแต่ ง
ต้ นเที ยน" ขึ้ นโดยภู มิ ปั ญญาชาวบ้ าน โดยมี การ
แกะสลั กเพื่ อความสวยงาม และมี การสอดแทรก
ความรู้ โดยสื่ อออกมาในรู ปของนิ ทานชาดกต่ าง ๆ

ประเพณีภาคอีสาน

ภาคอี สานเป็ นพื้ นที่ ที่ เป็ นอารยธรรมโบราณ ประชากรที่ อาศั ยอยู่ ส่ วนมากเป็ นคนไทยเชื้ อสายลาว
และเชื้ อสายเขมร มี คติ นิ ยมผู กแน่ นอยู่ กั บ ประเพณี โบราณมี การรั กษา สื บเนื่ องต่ อกั นมา จึ งเป็ นถิ่ นแดน
ที่ เต็ มไปด้ วยกลิ่ นอายของวั ฒนธรรมประเพณี ที่ ผสมผสานความเชื่ อถื อในเรื่ องของการนั บถื อผี และคติ
ทางพระพุ ทธศาสนาเข้ าด้ วยกั น

ประเพณี บุญบั้ งไฟ จ.ยโสธร

เป็ นประเพณี สำคั ญของภาคอี สานบ้ านเราที่
ปฏิ บั ติ สื บทอดกั นมาตั้ งแต่ สมั ยโบราณค่ ะ ถื อเป็ น
หนึ่ งในฮี ตสิ บสองเดื อนของชาวอี สานที่ ทำกั นใน
เดื อน 6 ช่ วงเข้ าสู่ ฤดู ฝนซึ่ งเป็ นฤดู ทำนา จะมี การ
จุ ดบั้ งไฟเพื่ อบู ชาเทพยดา และสิ่ งศั กดิ์ สิ ทธิ์ ทั้ ง
หลาย หรื อที่ ชาวอี สานเรี ยกกั นว่ า พญาแถน หรื อ
เทพวั สสกาลเทพบุ ตร ซึ่ ง มี ความเชื่ อว่ า พระยา
แถนมี หน้ าที่ คอยดู แลให้ ฝนตกถู กต้ องตามฤดู กาล
และทำให้ พื ชพั นธุ์ ธั ญญาหารอุ ดมสมบู รณ์

ประเพณี บุญเบิกฟ้า
จ.มหาสารคาม

ประเพณี บุ ญเบิ กฟ้ า เป็ นประเพณี ของ
ชาวมหาสารคามที่ ประกอบขึ้ นตามความเชื่ อ
ว่ า เมื่ อถึ งวั นขึ้ น ๓ ค่ำ เดื อน ๓ ของทุ กๆ ปี
ฟ้ าจะเริ่ มไขประตู ฝน โดยจะมี เสี ยงฟ้ าร้ อง
และทิ ศที่ ฟ้ าร้ องเป็ นสั ญญาณบ่ งบอกตั ว
กำหนดปริ มาณน้ำฝนที่ จะตกลงมาหล่ อเลี้ ยง
การเกษตรในปี นั้ น ๆ

ประเพณี แห่ปราสาทผึ้ ง จ.สกลนคร

เป็ นประเพณี สำคั ญงานหนึ่ งในฮี ตเดื อนสิ บเอ็ ด
การแห่ ปราสาทผึ้ งนั้ นเป็ นการถวายแด่ องค์ พระธาตุ
เชิ งชุ ม สำหรั บตำนานของการทำปราสาทผึ้ ง มาจาก
คติ ที่ เชื่ อว่ าเป็ นการทำบุ ญเพื่ อให้ ได้ ไปเกิ ดใน
ภพหน้ า เช่ น การไปเกิ ดในสวรรค์ ก็ จะมี ปราสาท
อั นสวยงามแวดล้ อมด้ วยนางฟ้ าเป็ นบริ วาร ถ้ าเกิ ด
ใหม่ ในโลกมนุ ษย์ จะมี แต่ ความมั่ งมี ศรี สุ ขแต่ ปั จจุ บั น
คนอี สานถื อว่ าประเพณี นี้ เป็ นการร่ วมงานบุ ญบน
ความรื่ นเริ งอั นยิ่ งใหญ่ ในรอบปี เนื่ องจากเป็ นช่ วงที่
ว่ างจากงาน

ประเพณีภาคใต้

ภาคใต้ ดิ นแดนแห่ งความหลากหลายทางประเพณี และวั ฒนธรรมที่ มี ความน่ าสนใจไม่ น้ อยไป
กว่ าภาคอื่ นของไทย เพราะเป็ นเมื องที่ เต็ มไปด้ วยเสน่ ห์ มนต์ ขลั ง ชวนให้ น่ าขึ้ นไปสั มผั สความงดงาม
เหล่ านี้ ยิ่ งนั ก

ประเพณี ลากพระ (ชักพระ)

วั นลากพระ จะทำกั นในวั นออกพรรษา คื อวั นแรม
๑ ค่ำ เดื อน ๑๑ โดยตกลงนั ดหมายลากพระไปยั งจุ ด
ศู นย์ รวม วั นรุ่ งขึ้ น แรม ๒ ค่ำ เดื อน ๑๑ จึ งลากพระ
กลั บวั ด เป็ นประเพณี ทำบุ ญในวั นออกพรรษา ปฏิ บั ติ
ตามความเชื่ อว่ า เมื่ อครั้ งที่ พระพุ ทธเจ้ าเสด็ จไปจำ
พรรษา ณ สวรรค์ ชั้ นดาวดึ งส์ เพื่ อโปรดพระมารดา
เมื่ อครบพรรษาจึ งเสด็ จกลั บมายั งโลกมนุ ษย์
พุ ทธศาสนิ กชนไปรั บเสด็ จ แล้ วอั ญเชิ ญพระพุ ทธเจ้ า
ประทั บบนบุ ษบกแล้ วแห่ แหน

ประเพณี แห่ผ้าขึ้ นธาตุ

เป็ นประเพณี ที่ พุ ทธศาสนิ กชนชาวนครศรี ธรรมราช
และจั งหวั ดใกล้ เคี ยงถื อปฏิ บั ติ สื บต่ อกั นมาหลายชั่ วคน
ด้ วยความเชื่ อที่ ว่ าการห่ มผ้ ารอบองค์ พระบรมธาตุ
เปรี ยบกั บได้ การบู ชาองค์ พระสั มมาสั มพุ ทธเจ้ า เดิ มที
ชาวนครศรี ธรรมราชจะร่ วมกั นบริ จาคเงิ นทองเพื่ อซื้ อ
ผ้ ามาเย็ บเป็ นผ้ าผื นยาวเพื่ อห่ มองค์ พระบรมธาตุ เจดี ย์
สะท้ อนให้ เห็ นถึ งความเป็ นน้ำหนึ่ งใจเดี ยวกั นของชาว
นครศรี ธรรมราชที่ มี ต่ อพระบรมธาตุ เจดี ย์ ที่ เป็ น
ศู นย์ กลางยึ ดเหนี่ ยวจิ ตใจ

ประเพณี ชิงเปรต

การชิ งเปรต เป็ นขั้ นตอนที่ เกิ ดขึ้ นหลั งจากการ
อุ ทิ ศส่ วนกุ ศลแก่ เปรต โดยมี พระสงฆ์ สวดบั งสุ กุ ล
พอพระชั กสายสิ ญจน์ ที่ พาดโยงไปยั งอาหารที่ ตั้ ง
เปรต ลู กหลานก็ จะเข้ าไปแย่ งเอามากิ น ซึ่ งของที่
แย่ งมาได้ ถื อเป็ นของเดนชาน การได้ กิ นเดนชาน
จากวิ ญญาณบรรพบุ รุ ษ เป็ นความเชื่ อที่ ถื อกั นว่ า
เป็ นการแสดงความรั ก เป็ นสิ ริ มงคล และเป็ นกุ ศล
สำหรั บลู กหลาน

ประเพณีภาคใต้

ภาคใต้ ดิ นแดนแห่ งความหลากหลายทางประเพณี และวั ฒนธรรมที่ มี ความน่ าสนใจไม่ น้ อยไป
กว่ าภาคอื่ นของไทย เพราะเป็ นเมื องที่ เต็ มไปด้ วยเสน่ ห์ มนต์ ขลั ง ชวนให้ น่ าขึ้ นไปสั มผั สความงดงาม
เหล่ านี้ ยิ่ งนั ก

ประเพณี ตักบาตรธู ปเทียน

ประเพณี ตั กบาตรธู ปเที ยนคื อการถวายธู ปเที ยน
แด่ พระสงฆ์ ซึ่ งประเพณี ตั กบาตรธู ปเที ยนถื อเป็ น
ส่ วนหนึ่ งของการถวายสั งฆทานในวั นเข้ าพรรษา
ช่ วงวั นแรม ๑ ค่ำ เดื อน ๘ ซึ่ งการตั กบาตรธู ปเที ยน
จะมี ขึ้ นที่ วั ดพระมหาธาตุ วรมหาวิ หาร จั งหวั ด
นครศรี ธรรมราชเพี ยงแห่ งเดี ยว แต่ ปรากฏว่ าเครื่ อง
สั งฆทานที่ ชาวบ้ านนำมาถวายนั้ นมากเกิ นความ
จำเป็ น จึ งได้ อาราธนาพระสงฆ์ จากวั ดต่ างๆ มารั บ
เครื่ องสั งฆทานนั้ น

ประเพณี แข่งขันเรื อยอกอง

ประเพณี การแข่ งเรื อยอกอง หรื อที่ ชาวนราธิ วาส
เรี ยกว่ า "คอฆอล" ซึ่ งเป็ นภาษาพื้ นเมื องของคนท้ องถิ่ น
ในจั งหวั ดนราธิ วาส ซึ่ งเรี ยกตามลั กษณะของเรื อ
เพราะมี ขนาดไม่ เล็ กและไม่ ใหญ่ ซึ่ งมี ความสวยงาม
มาก ถ้ ายิ่ งเรื อที่ ประกอบเสร็ จใหม่ จะมี การทาสี
ตกแต่ งลวดลายอั นประณี ตบรรจงอย่ างสวยงามมาก
ซึ่ งในอดี ตเรื อตั วนี้ จะมี การนำเรื อยอกองมาใช้ ในการ
ประกอบอาชี พการทำประมงจน ถึ งในปั จจุ บั นก็ ยั งมี อยู่

ประเพณี ลาซั ง

เป็ นประเพณี บู ชาแม่ โพสพ ความมุ่ งหมายของ
ประเพณี ตามความเชื่ อของชาวบ้ าน คำว่ าลาซั ง
หมายความว่ า การลาซั งข้ าว ซึ่ งจะทำเมื่ อเสร็ จฤดู
การเก็ บเกี่ ยวข้ าวของชาวบ้ าน โดยปกติ จะอยู่ ช่ วง
ปลายเดื อนเมษายนจนถึ งต้ นเดื อนพฤษภาคม และ
เลื อกวั นที่ เป็ นวั นมงคลที่ เหมาะกั บการจั ดพิ ธี เป็ น
พิ ธี กรรมที่ ทำขึ้ นเพื่ อสร้ างขวั ญและกำลั งใจให้
ชาวนา

ประเพณีภาคกลาง

ภาคกลางเป็ นภาคที่ มี ประชาการสู งสุ ด โดยรวมพื้ นที่ อั นเป็ นที่ ตั้ ง ของจั งหวั ดมากกว่ าภู มิ ภาคอื่ น ๆ
ใช้ ภาษากลางในการสื่ อความหมายซึ่ งกั นและกั น วั ฒนธรรมไทยท้ องถิ่ นภาคกลาง ประชาชนประกอบ
อาชี พทำนา การตั้ งถิ่ นฐานจะหนาแน่ นบริ เวณที่ ราบลุ่ มแม่ น้ำ มี วิ ถี ชี วิ ตเป็ นแบบชาวนาไทย คื อ การรั ก
พวกพ้ อง พึ่ งพาอาศั ยกั น มี ความเชื่ อ และเคารพบุ คคลสำคั ญผู้ ล่ วงลั บไปแล้ ว

ประเพณี รั บบัว จ.สมุทรปราการ

ประเพณี รั บบั ว เป็ นประเพณี เก่ าแก่ ที่ สื บทอด
กั นมาตั้ งแต่ โบราณของชาวอำเภอบางพลี จั งหวั ด
สมุ ทรปราการค่ ะ ซึ่ งจะจั ดขึ้ นทุ กวั นขึ้ น 14 ค่ำ เดื อน
11 โดยจะมี การอั ญเชิ ญหลวงพ่ อโตองค์ จำลอง จาก
วั ดบางพลี ใหญ่ มาลงเรื อตกแต่ งอย่ างสวยงามด้ วย
ดอกไม้ และล่ องไปตามคลองบางพลี เพื่ อให้ ชาว
บ้ านได้ สั กการะ โดยมี ความเชื่ อว่ า หากอธิ ษฐาน
แล้ วโยนบั วลงเรื อที่ ประดิ ษฐานหลวงพ่ อโตจะทำให้
คำอธิ ษฐานประสบความสำเร็ จ สมปรารถนา

ประเพณี ตักบาตรเทโวโรหณะ
จ . อุ ทั ย ธ า นี

ตั กบาตรเทโว หมายถึ ง การทำบุ ญตั กบาตรในวั น
ที่ พระพุ ทธเจ้ าเสด็ จลงจากเทวโลกใน วั นมหาปวารณา
คื อวั นขึ้ น 15 ค่ำ เดื อน 11 หรื อ วั นออกพรรษา คำว่ า
เทโว เรี ยกมาจากคำว่ า เทโวโรหณะ (เทว+โอโรหณ)
ซึ่ งแปลว่ า การลงจากเทวโลก การตั กบาตรเทโว
เป็ นการระลึ กถึ งวั นที่ พระพุ ทธเจ้ าเสด็ จลงจากสวรรค์
ชั้ นดาวดึ งส์ เสด็ จ หลั งจากที่ พระองค์ แสดงพระอภิ ธรรม
โปรดพระมารดา ทรงจำพรรษาที่ นั้ นเป็ นเวลา 3 เดื อน
และกลั บจากเทวโลก

ประเพณี ตักบาตรดอกไม้

ถื อเป็ นงานสำคั ญของจั งหวั ดสระบุ รี ที่ ปฏิ บั ติ
ติ ดต่ อกั นมาช้ านานแล้ ว มี แห่ งเดี ยวในประเทศไทย
โดยจั ดขึ้ นในวั นเข้ าพรรษา หรื อวั นแรม 1 ค่ำ เดื อน
8 ของทุ กๆ ปี ภายในงานจะมี ประชาชน ผู้ เฒ่ า ผู้ แก่
และคนหนุ่ มสาวทั้ งในจั งหวั ดและต่ างจั งหวั ดเดิ น
ทางมาร่ วมงานกั นอย่ างคั บคั่ ง ที่ วั ดพระบาทราช
วรมหาวิ หาร จุ ดประสงค์ เพื่ อร่ วมทำบุ ญตั กบาตรใน
ช่ วงเช้ าแล้ ว ประชาชนจะพากั นออกไปหาเก็ บ
ดอกไม้ ป่ าชนิ ดหนึ่ ง มี ลั กษณะ คล้ ายต้ นกระชายหรื อ
ต้ นขมิ้ น มี สี สั นเป็ นดอกสี เหลื องหรื อสี ขาวเรี ยกว่ า
“ดอกเข้ าพรรษา”

ประเพณีภาคกลาง

ภาคกลางเป็ นภาคที่ มี ประชาการสู งสุ ด โดยรวมพื้ นที่ อั นเป็ นที่ ตั้ ง ของจั งหวั ดมากกว่ าภู มิ ภาคอื่ น ๆ
ใช้ ภาษากลางในการสื่ อความหมายซึ่ งกั นและกั น วั ฒนธรรมไทยท้ องถิ่ นภาคกลาง ประชาชนประกอบ
อาชี พทำนา การตั้ งถิ่ นฐานจะหนาแน่ นบริ เวณที่ ราบลุ่ มแม่ น้ำ มี วิ ถี ชี วิ ตเป็ นแบบชาวนาไทย คื อ การรั ก
พวกพ้ อง พึ่ งพาอาศั ยกั น มี ความเชื่ อ และเคารพบุ คคลสำคั ญผู้ ล่ วงลั บไปแล้ ว

ประเพณี กวนข้าวทิพย์

พิ ธี กวนข้ าวทิ พย์ ได้ ยึ ดถื อปฏิ บั ติ เป็ นประเพณี
สื บต่ อกั นมาตั้ งแต่ อดี ตจนถึ งปั จจุ บั น ในหมู่ ของชาว
พุ ทธทั่ วไป เพื่ อระลึ กถึ งสมเด็ จพระสั มมาสั มพุ ทธ
เจ้ าและเหตุ การณ์ ที่ นางสุ ชาดาได้ กวนข้ าวทิ พย์ ใน
วั นขึ้ น ๑๔ ค่ำ แล้ วนำไปถวายพระพุ ทธเจ้ าก่ อนที่ จะ
ตรั สรู้ ๑ วั น โดยถื อว่ ามี ผลานิ สงฆ์ มาก ด้ วยเหตุ นี้
ชาวพุ ทธจึ งพร้ อมใจกั นกวนข้ าวทิ พย์ เพื่ อถวายเป็ น
พุ ทธบู ชา

ประเพณี ตักบาตรพระร้ อย

ตั กบาตรพระร้ อย ประเพณี ที่ ชาวปทุ มธานี ยึ ดถื อ
ปฏิ บั ติ กั นมายาวนานนั บร้ อยปี ถึ งช่ วงเทศกาลวั นออก
พรรษาวั ดริ มฝั่ งน้ำแถบปทุ มจะตระเตรี ยมพื้ นที่ ขึ ง
เชื อก ประดั บทิ วธง เป็ นบริ เวณสำหรั บทำบุ ญตั กบาตร
ชาวบ้ านหาซื้ อข้ าวของ ประกอบอาหารไว้ สำหรั บใส่
บาตร โดยจะเริ่ มกั นตั้ งแต่ วั นแรม 1 ค่ำ เดื อน 11 ที่
เรี ยกชื่ อกั นว่ าประเพณี ตั กบาตรพระร้ อยก็ ด้ วยเพราะ
พระจำนวนมากนั บกว่ าร้ อยรู ปที่ เข้ าร่ วมในวั นงานจึ ง
เกิ ดเป็ นชื่ อเรี ยกของประเพณี ตั กบาตรพระร้ อยนั่ นเอง

ประเพณี บุญข้าวหลาม

ประเพณี ไทยบุ ญเดื อนสามเดิ มเรี ยกว่ าทำบุ ญ
กลางทุ่ ง เป็ นประเพณี ที่ ยึ ดถื อสื บต่ อกั นมาแต่
บรรพบุ รุ ษ เนื่ องจากสมั ยก่ อนบ้ างฉางปลู กข้ าว
มากเมื่ อเวลาเก็ บเกี่ ยวข้ าวเหนี ยวใหม่ จึ งตั ดไม้ ไผ่
มาเผาเป็ นข้ าวหลามและนิ มนต์ พระมากลางทุ่ ง
เพื่ อความเป็ นสิ ริ มงคลของชาวบ้ านก็ จะนำข้ าว
อาหาร และข้ าวหลามที่ เผาสุ กใหม่ ๆ ถวายพระ
ถื อเป็ นการทำบุ ญข้ าวใหม่ ประจำปี ประมาณเดื อน
สาม ดั งนั้ นจึ งเรี ยกอี กชื่ อหนึ่ งว่ า ทำบุ ญเดื อนสาม


Click to View FlipBook Version