The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

sar-ปี-63-โรงเรียนบ้านท่าสว่าง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by grittamate.peng, 2022-04-02 09:30:17

sar-ปี-63-โรงเรียนบ้านท่าสว่าง

sar-ปี-63-โรงเรียนบ้านท่าสว่าง

1

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self Assessment Report)

ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
ปีการศึกษา ๒๕๖๓

โรงเรียนบา้ นท่าสว่าง
สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา ศรสี ะเกษ เขต ๔

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

เอกสารลาดบั ที่ 1 /๒๕๖๔

ก2

คานา

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ เล่มน้ี โรงเรียนบ้านท่าสว่าง ได้
จดั ทาขึน้ ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ ซ่ึงไดก้ าหนด
ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ท่ีระบุให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน
การศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา พร้อมทั้งจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนท่ีกาหนดไว้ จัดให้มีติดตามตรวจสอบผลการดาเนินการเพื่อพัฒนา
สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน และให้สถานศึกษาจัดทารายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment
Report : SAR) ตามาตรฐานของสถานศึกษา นาเสนอรายงานผลการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐานใหค้ วามเหน็ ชอบ และจัดสง่ รายงานดงั กลา่ วตอ่ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาเป็นประจาทุกปี

รายงานเล่มนี้ ประกอบด้วยส่วนสาคัญ คือ ๑) บทสรุปของผู้บริหาร ๒) ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพ้ืนฐาน ของ
สถานศึกษา ๒) ส่วนท่ี ๒ ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวยั และระดบั การศกึ ษา
ขั้นพืน้ ฐาน

โรงเรียนบ้านท่าสว่าง ขอขอบคุณคณะกรรมการดาเนินงาน และผู้มีส่วนร่วม ท่ีจัดทาเอกสารรายงานเล่มน้ี
และหวังว่าเอกสารรายงานเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปีถัดไป และ
เป็นฐานข้อมูลในการกาหนดนโยบาย การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและของเขตพ้ืนที่
การศึกษา ตลอดจนเพื่อประโยชน์ในการ รองรับการประเมินคุณภาพภายนอก จากสานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศกึ ษา(องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป

โรงเรียนบา้ นท่าสว่าง
๓๐ เมษายน ๒๕๖๔

สารบญั 3ข

เรอ่ื ง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
บทสรุปของผ้บู รหิ าร ๑
สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา 8
14
สว่ นที่ ๒ ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย 14
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเด็ก 17
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 18
มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท์ เี่ นน้ เด็กเป็นสาคัญ
ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน 20
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผเู้ รยี น 22
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 24
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั 27

ภาคผนวก



บทสรุปผู้บริหาร

โรงเรียนบ้านทา่ สวา่ ง ตง้ั อยู่ในเขตอาเภอกนั ทรลกั ษ์ หมทู่ ่ี ๒ ตาบลโนนสาราญ อาเภอกนั ทรลกั ษ์ จังหวดั

ศรีสะเกษ สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๔ เปิดสอนในระดบั ชั้น อนุบาล ๒ - ชัน้

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ มคี รูและบุคลากรทางการศึกษาจานวน ๒๗ คน จานวนนกั เรยี นท้ังสน้ิ ๔๐๔ คน ผลการประเมนิ

คณุ ภาพภายในปีการศึกษา ๒๕๖๓ สรปุ ผลการประเมินดังน้ี

๑. ระดบั ปฐมวัย ,

มาตรฐาน ระดับคุณภาพ

๑ คุณภาพของเดก็ ดเี ลศิ

๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดีเลิศ

๓ การจัดประสบการณ์ทเี่ น้นเด็กเปน็ สาคัญ ดีเลิศ

จุดเด่น

คุณภาพเดก็
๑. เด็กมีสมรรถภาพทางกาย กล้ามเนื้อมัดใหญ่แข็งแรง สามารถทรงตัวยืนกระโดดอยู่กับท่ี ยืนกระโดด

ยืนกระโดดไกล กระโดดขาเดียวได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากโรงเรียนได้สร้างส่ือตารางการกระโดดผ่านสัญลักษณ์บน
พื้นอย่างหลากหลายให้เด็กได้เดนิ กระโดดอยูก่ ับที่ ยืนกระโดดเคลื่อนกระโดดไกลเล่นอย่างมีความหมาย

๒. เดก็ ร่าเริงแจ่มใส เล่นกับสื่อ อุปกรณ์เป็นรายบคุ คล รายคู่ และกลมุ่ เล็ก กล่มุ ใหญ่ ทากจิ กรรม
ตามข้อตกลงกับเพ่ือนได้ดี รู้จักการรอคอย การปฏิบัติกิจวัตรประจาวันได้ด้วยตนเองท้ังนี้เพราะเด็กได้เรียนรู้อยู่ใน
ห้องเดยี วกันครูจัดประสบการณส์ าหรบั เดก็ ปฐมวัยแบบคละอายุ 4-6 ปี เด็กเรยี นรกู้ ารพึ่งพาอาศยั ชว่ ยเหลือกนั

กระบวนการบริหารและการจดั การ

๑. สถานศึกษามหี ลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 256๐ ทย่ี ืดหยุ่นและพฒั นาการเด็กทงั้

๔ ด้าน ทีส่ อดคลอ้ งกบั หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยสอดคล้องกบั วถิ ชี วี ิตของครอบครัวชมุ ชนและทอ้ งถิน่

๒. สถานศึกษามีสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรเู้ พือ่ สนบั สนุนการจดั ประสบการณ์ อยา่ ง

พอเพียงและใชไ้ ด้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

๓. สถานศึกษามกี ล่มุ เครือขา่ ยครูปฐมวัย สพป. ศรสี ะเกษ เขต ๔ รว่ มพัฒนาทเ่ี ข็มแขง็ มีสว่ นร่วมใน

การวางแผนการออกแบบการจดั ประสบการณ์ และใหข้ ้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาเด็กปฐมวยั

การจัดประสบการณท์ ี่เน้นเดก็ เปน็ สาคัญ
๑. จัดประสบการณ์ให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ผ่านการเล่น กิจกรรมกลางแจ้ง สร้างสื่อตาราง การ

กระโดดผ่านสัญลักษณ์บนพื้นอย่างหลากหลาย เด็กได้มีทักษะการสังเกต การสารวจ การสัมผัส และการพัฒนา
กลา้ มเนอ้ื มัดใหญ่ ยืนกระโดดไกล กระโดดขาเดยี ว กระโดดอย่กู ับที่ ได้อยา่ งคล่องแคลว่ ตอ่ เนอ่ื งทเี่ หมาะสมกับวยั

๒. จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ สอดแทรกคาศัพท์ภาษาอังกฤษ ควบคู่กับภาษาไทย ตามหน่วยการจัด
ประสบการณ์ ให้เด็กได้คุ้นเคย ท่อง พูด คาศัพท์ง่าย ๆ ที่เหมาะสมกับวัย และบริหารจัดการช้ันเรียนให้เด็กเรียนรู้
ชว่ ยเหลือพ่ึงพาอาศยั ซ่งึ กนั และกนั



จดุ ควรพฒั นา

คณุ ภาพเด็ก
๑. การพัฒนาการใช้ภาษาไทยท่ีเหมาะสมกับวัย ได้แก่ การฟัง การพูดสนทนาโต้ตอบ เล่าเรื่องราวจนจบ
อย่างตอ่ เนือ่ ง การอา่ นภาพ สญั ลักษณ์ เขียนชอื่ ของตนเองตามแบบ เขียนข้อความดว้ ยวธิ ที ี่เดก็ คิดขน้ึ เอง
๒. การพัฒนาการคิดขั้นพน้ื ฐาน บอกลกั ษณะ ความสมั พันธ์ของสิ่งตา่ ง ๆ การจับคู่ การเปรยี บเทียบใหเ้ ห็น
ความหมาย ความแตกตา่ ง จาแนก จดั กลุ่มสง่ิ ตา่ ง ๆ เรยี นลาดับส่ิงของและเหตกุ ารณ์ได้เหมาะสมกบั วยั

กระบวนการบริหารและการจดั การ
1. การนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศโดยการติดตงั้ คอมพวิ เตอร์ ทีเ่ ชอ่ื มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ ครบทุกช้ันเรียน
ในหอ้ งเรยี นปฐมวยั ทุกหอ้ ง
2. ส่งเสรมิ พัฒนาครใู หม้ คี วามเชย่ี วชาญในด้านการจดั ประสบการณ์และการดแู ลเด็กปฐมวัย

การจัดประสบการณ์ทเี่ น้นเดก็ เปน็ สาคญั
๑. การจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งภายในภายนอกหอ้ งเรยี นท่เี อ้ือต่อการเรียนร้มู สี ่ือ อปุ กรณท์ ่ี
เพียงพอต่อจานวนของเด็กทเี่ หมาะสมกบั วยั
๒. การจัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กช้ันปีที่อนบุ าล ๓ พฒั นาการคิดข้นั พน้ื ฐาน ให้มีความพร้อมในการเรียน
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑

แนวทางพฒั นาคุณภาพให้ดขี ้ึนกวา่ เดมิ

คณุ ภาพเดก็
๑. ส่งเสริมเด็กให้ได้รับการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ทางภาษาไทยท่ีมีความหมายต่อเด็ก เพ่ือการ

ส่ือสารอย่างหลากหลาย ฝึกการฟัง การพูด การถาม การตอบจากภาพ หนังสือ และสนทนาเรื่องราวสาระที่ควรรู้
ตามหน่วยการจัดประสบการณ์ หรือกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ง่ายๆ ตามใบกิจกรรมการทดลองตามลาดับ
ขน้ั ตอน เด็กไดว้ าดภาพและเขยี นชื่อของตนเองตามแบบเขยี นข้อความดว้ ยวิธที ่เี ด็กคิดขึ้นเองอย่างเหมาะสมกับวัย

๒. ส่งเสริมเด็กใหไ้ ด้รบั การจดั ประสบการณ์ด้านคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์เบอ้ื งตน้ โดยเดก็ ได้
เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัส และลงมือปฏิบัติด้วยตนเองแสวงหาความรู้ท่ีเหมาะสมกับวัยโดยการใช้เครื่องชั่งน้าหนัก
การวัดความยาว การตวง การสารวจ การจาแนก เปรียบเทียบการทดลองง่าย ๆ และการบันทึกข้อมูล ด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ เชน่ การวาดภาพ การทาสัญลกั ษณ์ ลงในกระดาษ หรอื สมุดบนั ทกึ ของเดก็ เปน็ ตน้

กระบวนการบริหารและการจดั การ
๑. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการติดต้ังคอมพิวเตอร์ ที่เช่ือมต่อ อินเทอร์เน็ตครบทุกชั้น

เรียน ในห้องเรยี นปฐมวยั ทุกห้องเพ่ือใหค้ รไู ด้ลงมือใช้จนเกิดความชานาญ
๒. ส่งเสริมให้ครูทุกคนมีวัฒนธรรมการทางานแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ เพ่ือพัฒนาการจัด

ประสบการณ์และกิจกรรมให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน และส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงและการทางาน
รว่ มกบั ผูอ้ ืน่ กระตุ้นใหเ้ ดก็ ไดค้ ดิ วิเคราะห์ แกป้ ัญหา และสื่อสารให้ผอู้ ่ืนรับรู้ เป็นผกู้ ล้าคดิ กล้าทากล้าแสดงออก

การจัดประสบการณท์ เี่ นน้ เดก็ เป็นสาคัญ
๑. การจัดบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ท้ังภายในภายนอกห้องเรียนท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ควรมีส่ือ

อุปกรณ์ท่ีเพียงพอต่อจานวนของเด็กท่ีเหมาะสมกับวัย ได้แก่ การจัดมุมประสบการณ์ในห้องเรียนควรมีมุมเสริม
ประสบการณ์อย่างน้อย 4 มุม เช่น มุมบ้านมีส่ืออุปกรณ์ท่ีใช้ในชีวิตประจาวันทั้งส่ือของจริงและของจาลองท่ีมี
จานวนเพียงพอเหมาะสมกับจานวนเด็ก มุมบล็อก มีสื่อที่เป็นรูปร่างรูปทรง หลากหลายมิติ มุมหนังสือ มีหนังสือ



ภาพ นทิ านทห่ี ลากหลายเร่ืองท่ีส่งเสริมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม มมุ ศลิ ปะ มีอุปกรณ์ การวาดภาพ ระบายสี การปะ
ติด การปั้น การรอ้ ย มุมวิทยาศาสตร์และส่อื เครื่องเล่นสนามสาหรับเด็กปฐมวัยท่ีมีสื่อธรรมชาติ และสื่อพัฒนาการ
ความท้าทาย การลอด การมดุ การโหน การปนี ป่าย เปน็ ตน้

๒. การจัดกิจกรรมให้เด็กชั้นปีที่อนุบาล ๓ มีความพร้อมในการเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ โดยจัด
ประสบการณ์ให้เด็กด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การส่งเสริมการใช้ภาษา ให้เด็กได้เห็นแบบอย่างการเขียนท่ี
ถูกต้อง เขียนช่ือตนเอง เขียนตัวอักษร เขียนคา หรือข้อความท่ีเด็กคิดข้ึนเอง การอ่านนิทานหรือหนังสือภาพ
ท่ีเด็กสนใจ อ่านภาพ อ่านสัญลักษณ์ การพัฒนาการคิดขั้นพื้นฐาน บอกลักษณะ ความสัมพันธ์ของส่ิงต่าง ๆ
การจับคู่ การเปรียบเทียบ ให้เห็นความหมาย ความแตกต่าง จาแนก จัดกลุ่มสิ่งต่าง ๆ เรียนลาดับสิ่งของและ
เหตุการณไ์ ดเ้ หมาะสมกับวัย เปน็ ต้น

๒. ระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ระดับคุณภาพ
มาตรฐาน ดี

๑ คณุ ภาพผเู้ รยี น ยอดเย่ยี ม
๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเลิศ
๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ

จุดเด่น

คุณภาพผู้เรยี น
๑. นกั เรียนมคี ุณลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องผ้เู รยี น มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
๒. นักเรยี นมีนา้ หนกั ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑม์ าตรฐาน มีสุขภาพรา่ งกายแข็งแรง

และจติ ใจท่ีดี แสดงออกอย่างเหมาะสมกบั ชว่ งวัย และไม่เก่ียวข้องกับยาเสพติด

กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๑. มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน พันธกิจที่ชัดเจน สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษาและความตอง

การของชมุ ชน
๒. ผู้บริหารมีความต้ังใจ มีความมุงม่ัน มีหลักการบริหาร และมีวิสัยทัศนที่ดี ในการบริหารงาน สามารถ

เป็นแบบอย่างที่ดีในการทางาน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีความต้ังใจและมีความพร อมในการ
ปฏบิ ตั ิหนาท่ีตามบทบาทหนาที่

๓. สถานศึกษาปรับปรุง พัฒนาอาคารสถานที่และ สิ่งแวดล้อม มีการจัดสภาพแวดล้อมท้ังภายในและ
ภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้ มีสภาพแวดล้อมท่ีร่มรื่น ปลอดภัย มีอาคารเรียน อาคารประกอบ
อย่างเพียงพอ มหี อ้ งสมุดการเรียนรู้ท่ที นั สมยั ห้องปฏบิ ตั ิการเพยี งพอ

กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ
๑. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความตั้งใจ มุงมั่นในการพฒั นาการสอนเพ่ิมยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการ

เรียนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖ และ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 (O-net) และ ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๓ ( NT)
๒. ครูผู้สอนทุกคนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี สร้างกระบวนการเรียนรู้ในช้ันเรียนให้น่าสนใจด้วยแรงกระตุ้น การ

บูรณาการด้วยส่ือ และสารสนเทศท่ีทันสมัย การส่งเสริมการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ภายในห้องเรียน
และนอกห้องเรียน ด้วยบรรยากาศในห้องเรียน มีการจัดมุมหนังสือ มุมสื่อ มุมโชว์ผลงานผู้เรียน ห้องเรียนมีความ
สะอาด เรียบร้อย ปลอดภัย

๓. ครูทุกคนมีการออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน อย่างเป็นระบบ แบ่งสัดส่วนของ
ประเมินผลก่อนกลางภาค กลางภาค และ ปลายภาคแลว้ ส่งแผนการวัดประเมินผลต่อฝ่ายวิชาการ ครรู ้อยละ ๑๐๐



ใชเ้ ครื่องมอื วดั และประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกับการประเมิน (K, P, A) และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผเู้ รยี น เพ่ือให้นักเรียน
จดั ทาแฟ้มสะสมงาน มีการแจง้ ผลการประเมนิ ใหผ้ ปู้ กครองทราบ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้

จดุ ควรพัฒนา

คณุ ภาพผู้เรยี น
๑. การสงเสรมิ ความสามารถในการอา่ นเขียนภาษาไทย
๒. การสงเสริมความสามารถในการสร้างนวตั กรรม

กระบวนการบริหารและการจัดการ
๑. การสงเสริมใหครูและบุคลากรทางการศึกษาใชนวัตกรรมประกอบการเรียนการสอนและการรายงาน

ผลการใชนวตั กรรมทเ่ี กดิ ขนึ้ กับผูเ้ รยี นอย่างจริงจัง
๒. การจัดหองเรียนและหองปฏิบัติการต่าง ๆ ใหเป็นหองเรียนคุณภาพ โดยมีสื่อและโสตทัศนูปกรณที่

เพียงพอ รวมท้งั การตกแต่งภายในหองที่มคี วามเป็นระเบยี บและสวยงาม
๓. การสงเสริมการใชสื่อสังคมออนไลน์ ใหครอบคลุมทุกชุมชนแหงการเรียนรู PLC) เพื่อรายงานผลต่อ

สาธารณชนใหทนั ตอเหตกุ ารณ์
๔. การจัดใหมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเขาถึงแหล่งขอมูล และการเรียนรู โดยการใช Google

Applications รวมท้งั การใชหองเรียนออนไลน์ สอดคลองกับแนวปฏริ ูปการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑

กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ
๑. การสงเสรมิ การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ (Active Learning) โดยจัดการเรียนรูผานกระ

บวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ เนนการใชส่ือ เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
๒. การเรียนรู Digital และใช Digital เป็นเครือ่ งมอื การศกึ ษาเรียนรู เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
๓. การจดั การเรยี นรูแบบบรู ณาการทหี่ ลากหลาย ท่เี ช่อื มโยงสู่พนื้ ฐานอาชีพและการมีงานทาในอนาคตเชน

โครงการเพาะเหด็ โครงการเล้ยี งหมู โครงการเลีย้ งไกพ่ ันธ์ุไข่ ฯลฯ
๔. สงเสริมความมีวินยั ของผู้เรียน ดา้ นพฤติกรรมการรักษาความสะอาด เพ่อื การนาไปใชในชวี ิตประจาวนั

แนวทางพฒั นาคณุ ภาพให้ดีขนึ้ กว่าเดมิ

คุณภาพผู้เรียน
๑. สงเสรมิ การเรยี นภาษาไทย ดวยวธิ กี ารแจกรูป สะกดคา ผนั เสียง การอานออกเสียงการคดั ลายมือ

และการเขียนตามคาบอก โดยใชหนังสือแบบเรียนเรว็ ใหม่ รวมท้ังใชสอื่ แผ่นชาร์ตภมู ิ ใชฝกทักษะการแจกลูก สะกด
คา ผันเสยี ง การอานออกเสียง การคดั ลายมือ และการเขยี นตามคาบอก ตัง้ แต่ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๑ ถึงช้นั
ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ เนนการฝกซ้าย้าทวน

๒. ควรสงเสริมความสามารถในการสร้างนวัตกรรม จดั กจิ กรรมการเรยี นแบบโครงงานหรือการเรียนรูโดย
ใชโครงงานเป็นฐาน PBL. แลวนา PBL มาใชกับ STEM เป็นโครงงานทางวทิ ยาศาสตร์เพ่ือแกปญหาที่ “กาลังเกดิ ขึน้
จรงิ หรอื จะเกิดข้ึนไดใ้ นอนาคต”

กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๑. สงเสริมใหครูและบุคลากรทางการศกึ ษาใชนวตั กรรมประกอบการเรยี นการสอน และมีการรายงานผล

การใชนวัตกรรมที่เกิดขน้ึ กบั ผูเรยี นเปน็ ประจาทุกป
๒. ปรบั ปรุงหองเรียนและหองปฏิบตั ิการต่างๆ โดยการจดั ตกแตง่ ภายในทีเ่ อ้ือตอการเรยี นรู้ มีความ

เป็นระเบียบ สวยงาม และจดั สภาพแวดลอมภายนอก เชน สวนหยอมใหรมรนื่ และสวยงาม
๓. ควรสงเสริมการใชส่อื สังคมออนไลน ใหครอบคลมุ ทุกชุมชนแหงการเรยี นรู PLC)



เพือ่ รายงานผลตอสาธารณชน โดยผาน Facebook , Line และ website ใหเป็นปจจุบนั และทันตอเหตุการณ
๔. ควรสงเสริมการใชสอื่ หองเรียนออนไลน Google Classroom) ประกอบการเรียนการ

สอนทีเ่ หมาะสมกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑

กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ
๑. จดั การเรยี นการสอนดวยวิธีการท่หี ลากหลาย โดยเนนทกั ษะอาชพี เพ่ือเป็นพน้ื ฐาน

ในการศึกษาต่อและอาชีพในอนาคต
๒. สงเสรมิ และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาจัดการเรยี นการสอนตามแนวทางปฏิรปู การศกึ ษาใน

ศตวรรษท่ี ๒๑ เนนกระบวนการคิด และปฏบิ ัตจิ รงิ
๓. สงเสรมิ การเรียนรูภาษาไทย เพื่อเปน็ พ้นื ฐานในการเรยี นรูวชิ าอ่ืน
๔. จดั สภาพแวดลอมทัง้ ภายในและภายนอกหองเรียนใหเอ้ือตอการเรียนการสอน โดยจัดหองเรียน

คณุ ภาพ เพือ่ การสรงโอกาสทางการศึกษา
๕. สงเสรมิ การมวี นิ ยั ดา้ นพฤติกรรมการดูแลรักษาความสะอาด ทั้งภายในและภายนอกหองเรียนและ

นาไปใชในชีวติ ประจาวันได้



สว่ นที่ 1

ขอ้ มลู พ้นื ฐานของสถานศึกษา

๑. โรงเรียนบ้านท่าสวา่ ง ทีอ่ ยู่: หมู่ที่ ๒ บา้ นท่าสว่าง ตาบลโนนสาราญ อาเภอกันทรลักษ์ จังหวดั ศรสี ะเกษ
รหสั ไปรษณีย์ ๓๓๑๑๐ สงั กดั : สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๔

วสิ ัยทศั น(์ Vision)
“ภายในปี ๒๕๖4 โรงเรียนบ้านบ้านท่าสว่าง จัดการศึกษาภาคบังคับโดยความร่วมมือของชุมชน

พัฒนานักเรยี นใหม้ ีคุณภาพ มที กั ษะและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพียง”

พนั ธกจิ (Misson)
๑. จดั การเรียนร้เู พือ่ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา
๒. ส่งเสริมอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย สบื สานประเพณีท้องถนิ่
๓. พัฒนาส่ือเทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศกึ ษา
๔. สง่ เสริมการเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๕. สรา้ งภาคเี ครือข่ายเพ่ือสนบั สนนุ การจัดการศึกษา

เป้าประสงค(์ Goals)
ด้านผู้เรยี น

๑. ผ้เู รยี นมีความรู้และทกั ษะทีจ่ าเป็นตามหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
๒. ผเู้ รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์
๓. ผเู้ รียนมีทักษะชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ดา้ นคุณภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
๑. ครูมีความสามารถในการจดั การเรียนรู้ และจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชพี
๒. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง
ด้านคณุ ภาพบริหารการจดั การ
๑. โรงเรยี นมรี ะบบบริหารการจดั การศึกษาท่ีมปี ระสิทธิภาพท่ีดตี ามหลกั ธรรมาภบิ าล
๒. โรงเรยี นมีระบบเครอื ข่ายรว่ มมือกับชมุ ชนในการพฒั นาการจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธภิ าพ

จดุ เนน้ (Focus)
๑. เด็กปฐมวัยมรี า่ งกายเจริญเติบโตแขง็ แรงสมกบั วัย จติ ใจดีงาม สนใจใฝร่ ้สู ู่ทักษะการคิดและใช้ชวี ิตพน้ื ฐาน
๒. พฒั นาพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีทกั ษะในการอา่ นการเขยี น และมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าภาไทยทีด่ ีจะ

นาไปสู่การเรียนรู้ได้อย่างประสิทธิภาพ
๓. รว่ มมอื กันพฒั นาในปฺฏิบัติงานใหม้ ผี ลงานหรอื รางวลั ในระดบั ต่างๆ
๔. พฒั นาผลการเรียนรูเ้ ฉลี่ย ๕ กลมุ่ สาระการเรียนรหู้ ลักได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมและภาษาองั กฤษเปน็ เป็นเป้าหมายในการจดั การศึกษาท่ี
ควบคไู่ ปกบั การสรา้ งเสรมิ ความรแู้ ละทักษะด้านอนื่ ๆ

๕. ส่งเสริมและพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจมีความสามารถและมีส่วน
ร่วมในการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาครอบคลมุ ภารกจิ ท้งั ๔ ดา้ นของสถานศึกษา

๖. สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาประพฤติกรรมปฏิบัติตามระเบยี บ บริหารงาน
ด้วยความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ยึดประโยชนข์ องทางราชการ เนน้ การมสี ่วนรว่ มจากทุกภาคส่วนท่เี กี่ยวข้อง

๗. พฒั นาให้สถานศึกษาและชุมชนมกี ิจกรรมเพื่อการพัฒนาการศึกษาและพฒั นาทอ้ งถิ่นร่วมกันอยา่ ง
เปน็ รูปธรรม



๘. มีกระบวนการเกณฑเ์ ด็กเขา้ เรียนหรือรับนักเรยี นหรือรับนักเรยี นตามแผนการรบั นกั เรยี นอยา่ ง
ชัดเจน

๙. ส่งเสริมใหน้ กั เรียนมีการศกึ ษาต่อ กากับดูแลนักเรียนระหวา่ งเรียน เพื่อป้องกนั ไมใ่ หน้ กั เรียนออก
กลางคนั ตลอดจนมรี ะบบติดตามใหเ้ ข้ากรณีท่ีนักเรยี นออกกลางคนั ไปแลว้

๑๐.พฒั นาให้สถานศึกษามีภารกจิ ตามบทบาทหนา้ ที่ในการดาเนินการขบั เคลื่อนงานตามนโยบาย
กระทรวงศกึ ษาธิการและ/หรือสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา ลูกเสอื เนตรนารี

อัตลกั ษณ์ ระเบยี บวนิ ยั

สัญลกั ษณ์ กระรอกขาว

ชื่อผู้บรหิ ารโรงเรียน นายจนิ ดา ศรีรวัฒน์ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๑ – ๐๖๙๗๗๖๐
E-mail :: [email protected]
แผนท่โี รงเรียน



แผนผงั โรงเรยี นบ้านท่าสว่าง (สายประถมศกึ ษา)

หอ้ ง
พยาบาล

แผนผังโรงเรยี นบา้ นทา่ สว่าง (ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ) ๙

โรงจอดรถ บา้ นพกั ครู

ศาลา
ริมน้า

โครงสร้างการบรหิ ารขอ

ผูอ้ ้านวย
นายจนิ ดา ศ

รองผู้อา้ นว

นางสาวสรุ ัติยา

วชิ าการ งบประมาณ
นายดเิ รก บุญเรมิ่ นางรัชนี แกว้ ทองมี

1. การพัฒนาหรือดาเนนิ การ ๑๑. การพฒั นาระบบประกนั ๑. การจัดทา้ แผนงบประมาณและ 12. การก้าหนดแบบรูปรายการ หร
เกีย่ วกับการใหค้ วามเหน็ การ คณุ ภาพภายในและมาตรฐาน คา้ ขอตังงบประมาณฯ คณุ ลักษณะเฉพาะของครุภณั ฑ์หรอื
พฒั นาสาระหลกั สตู รทอ้ งถิน่ การศกึ ษา สง่ิ กอ่ สร้างท่ีใช้งบประมาณฯ
๒. การทา้ แผนปฏิบัติการฯ
2. การวางแผนงานด้านวิชาการ ๑๒. การสง่ เสริมชมุ ชนใหม้ ี 13. การพฒั นาระบบขอ้ มลู และสาร
ความเข้มแข็งทางวิชาการ ๓. การอนมุ ัติการใช้จ่าย สนเทศเพ่ือการจดั ทาและจัดหาพัสด
๓. การจัดการเรียนการสอนใน งบประมาณทไ่ี ด้รับจัดสรร
สถานศกึ ษา 14. การจัดหาพัสดุ
๑๓. การประสานความร่วมมือ ๔. การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลง
๔. การพฒั นาหลกั สตู รของ ในการพฒั นาวชิ าการกบั งบประมาณ 15. การควบคมุ ดูแล บารุงรักษา
สถานศึกษา สถานศกึ ษาและองค์กรอ่นื และจาหน่ายพสั ดุ
๕. การรายงานผลการเบิกจา่ ย
๕. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ๑๔. การสง่ เสริมและสนบั สนนุ งาน งบประมาณ 16. การจัดหาผลประโยชน์จาก
วิชาการแกบ่ คุ คล ครอบครัว ทรัพยส์ ิน
๖. การวัดผล ประเมินผล และ องค์กร หน่วยงาน สถาน ๖. การตรวจสอบติดตามและรายงาน
ดา้ เนินการเทียบโอนผลการเรียน ประกอบการและสถาบนั อ่นื ท่ีจดั การใชง้ บประมาณ 17. การพฒั นาและใช้สอื่
การศึกษา เทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา
๗. การวจิ ัยเพื่อพัฒนาคณุ ภาพ ๗. การตรวจสอบติดตามและรายงาน
การศึกษาในสถานศกึ ษา ๑๕. การจดั ท้าระเบียบและแนว การใช้ผลผลติ จากงบประมาณ 1๘. การรบั เงิน การเกบ็ รกั ษาเงนิ
ปฏบิ ัติเกย่ี วกบั งานดา้ นวิชาการ และการจา่ ยเงิน
๘. การพฒั นาและส่งเสรมิ ให้มี ของสถานศึกษา ๘. การระดมทรพั ยากรและการลงทนุ
แหลง่ เรยี นรู้ เพื่อการศกึ ษา 19. การจัดทาบัญชกี ารเงนิ

๙. การนิเทศการศกึ ษา ๑๖. การคัดเลือกหนงั สอื ๙. กองทนุ เพื่อการศกึ ษา 20. การจัดทารายงานทางการเงนิ
แบบเรยี นเพอ่ื ใช้ในสถานศกึ ษา และงบการเงนิ
๑๐. การแนะแนว ๑๐. การบรหิ ารจดั การทรัพยากร
๑๗. การพฒั นาและใช้สือ่ เพอ่ื การศึกษา 21. การจัดทาและจดั หาแบบพมิ
เทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา บญั ชี ทะเบียนและรายงาน
๑๑. การวางแผนพัสดุ

องโรงเรียนบ้านทา่ สว่าง 101

ยการ คณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐาน
ศรรี วัฒน์

วยการ

า ปานจันดี

การบริหารงานบคุ คล การบรหิ ารทวั่ ไป
นางนันทยิ า ศรีรวัฒน์ นางวไิ ลวรรณ บัวแก้ว

รอื 1. การวางแผนอัตรากาลงั 13. การจัดระบบและการ 1. การพัฒนาระบบและ 12. การจัดต้ัง ยบุ รวม
จัดทาทะเบียนประวัติ เครือขา่ ยขอ้ มูลสารสนเทศ เลกิ สถานศกึ ษา
2. การจดั สรรอัตรากาลังขา้ ราชการ
ร- ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 14. การขอพระราชกาน 2. การประสานงานและ 13. ประสานงานการจัด
ดุ เคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ พัฒนาเครือข่ายการศึกษา การศึกษาในระบบ นอก
ระบบ และตามอธั ยาศัย
3. การสรรหาและบรรจุแต่งต้งั 15. การประเมินวทิ ยฐานะ 3. การวางแผนการบรหิ าร
การศกึ ษา 14. การระดมทรัพยากรเพื่อ
4. การเปลยี่ นตาแหนง่ ใหส้ งู ข้ึน การย้าย การศกึ ษา
16. การส่งเสรมิ และยกยอ่ ง 4. การวจิ ัยและพัฒนา
า ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา เชดิ ชเู กยี รติ นโยบายและแผน 15. การทศั นศกึ ษา
5. การดาเนนิ การเก่ียวกับการเล่อื น
ข้ันเงินเดือน 17. สง่ เสริมมาตรฐานวชิ าชีพ 5. การจดั ระบบการบรหิ ารและ 16. งานกจิ การนกั เรยี น
พฒั นาองค์กรกระบวนการ
6. การลาฯ และจรรยาบรรณวชิ าชพี 17. การประชาสัมพันธง์ าน
การศึกษา
7. การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน 1๘. งานส่งเสริมวนิ ัย 6. การพฒั นามาตรฐาน
คณุ ธรรม และจรยิ ธรรม การปฏิบัตงิ าน 1๘. งานประสานการจดั การ
๘. การด้าเนนิ การทางวนิ ัยและการ ข้าราชการครูฯ ศึกษาของบุคคล ชมุ ชน องคก์ ร
น ลงโทษ 7. งานเทคโนโลยเี พื่อ หน่วยงานและสถาบันสังคมอน่ื
19. การขอรับใบอนุญาต การศึกษา ท่ีจัดการศึกษา
9. การสั่งพักราชการและการส่ังให้ ประกอบวิชาชีพครฯู
ออกจากราชการไว้ก่อน ๘. การด้าเนินการธุรการ 19. งานประสานราชการกบั
20. การพฒั นาข้าราชการ สว่ นภูมภิ าคและส่วนท้องถ่นิ
10. การายงานการดาเนินการทาง ครูและบคุ ลากรทางการ 9. การดแู ลอาคารสถานท่ี
น วินยั และการลงโทษ ศึกษา และสภาพแวดล้อม 20. การรายงานผลการ
ปฏิบตั ิงาน
11. การอทุ ธรณ์และการรอ้ งทุกข์ 10. การจัดทาสามะโนผเู้ รียน
21. การจดั ระบบการควบคุม
มพ์ 12. การออกจากราชการ 11. การรบั นกั เรยี น ภายใน

22. จดั กิจกรรมเพ่ือ
ปรับเปล่ยี นพฤติกรรมในการ
ลงโทษนกั เรียน

๑๑

๒. สรปุ ขอ้ มูลสาคญั ของสถานศึกษา

๒.๑ จัดชนั้ เรยี นต้ังแตช่ ้ัน อนุบาล ๒ ถึง ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓

๒.๒ จานวนผเู้ รยี น จาแนกตามระดับชัน้ ดงั น้ี

จานวน จานวนผู้เรยี น

ระดับช้ันทเี่ ปิดสอน จานวน ผู้เรยี นปกติ (คน) ทม่ี คี วามต้องการ รวม

ห้องเรยี น พิเศษ (คน) ๒๕
๒๔
ชาย หญิง ชาย หญงิ ๔๙
๒๗
อนุบาล ๒ ๑ ๑๒ ๑๓ - - ๒๙
๒๔
อนบุ าล ๓ ๑ ๑๕ ๙ - - ๓๐
๒๙
รวม ๒ ๒๗ ๒๒ ๓๙
๑๗๘
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๑ ๑๔ ๑๓ ๕๓
๖๕
ประถมศึกษาปที ่ี ๒ ๑ ๑๖ ๑๓ - - ๕๙
๑๗๗
ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๑ ๑๕ ๙ - -

ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ๑ ๒๑ ๙ - -

ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ๑ ๑๘ ๑๑ - -

ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๑ ๒๕ ๑๔ - -

รวม ๖ ๑๐๙ ๖๙

มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ๒ ๒๘ ๒๕ - -

มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ๒ ๓๒ ๓๓ - -

มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๒ ๓๔ ๒๕ - -

รวม ๖ ๙๔ ๘๓ - -

*หมายเหตุ ขอ้ มลู ณ วนั ที่ ๒๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๓

๒.๓ ข้อมลู บุคลากร

: ผู้บริหารสถานศึกษา จานวน ๒ คน

: ครู/ผูด้ ูแลเดก็ การศกึ ษาปฐมวัย จานวน ๒ คน

: ครูประถมศึกษา จานวน ๘ คน

: ครูมธั ยมศกึ ษา จานวน ๑๐ คน

: บุคลากรสายสนับสนุน จานวน ๗ คน

สรุปอตั ราส่วน

การศึกษาปฐมวัย

: อัตราส่วนของจานวนเดก็ : ครู เทา่ กบั ๒๕ : ๑
: อตั ราสว่ นของจานวนเด็ก : หอ้ ง เทา่ กบั ๒๕ : ๑
: มีจานวนคร/ู ผูด้ ูแลเดก็ ครบชน้ั  ครบชนั้  ไม่ครบชัน้
: ภาระงานสอนของครู/ผดู้ แู ลเดก็ โดยเฉล่ยี ช่วั โมง : สปั ดาห์ เท่ากับ ๓๐ : สปั ดาห์

ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

ระดับประถมศึกษา
: อตั ราส่วนของจานวนผู้เรียน : ครู เท่ากับ ๒๓ : ๑

: อตั ราสว่ นของจานวนผ้เู รยี น : หอ้ ง เท่ากับ ๒๓ : ๑
: มจี านวนครู ครบชั้น  ครบชนั้  ไมค่ รบชน้ั ในระดับช้ัน

๑๒

: ภาระงานสอนของครู โดยเฉลี่ยชั่วโมง : สัปดาห์ เท่ากบั ๒๕ : สัปดาห์
ระดับมัธยมศึกษา
: อตั ราสว่ นของจานวนผ้เู รยี น : ครู เทา่ กับ ๓๐ : ๑
: อตั ราส่วนของจานวนผูเ้ รียน : หอ้ ง เท่ากบั ๓๐ : ๑
: มจี านวนครู ครบชน้ั  ครบชั้น  ไมค่ รบชัน้ ในระดบั ชนั้
: ภาระงานสอนของครู โดยเฉลีย่ ช่ัวโมง : สปั ดาห์ เท่ากับ ๓๐ : สัปดาห์

๓. สรปุ ขอ้ มลู ดา้ นการพฒั นาเด็ก และผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
๓.๑ รอ้ ยละของผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ชั้นอนบุ าล ๒ - ชั้นอนุบาล ๓

พฒั นาการ ปีการศึกษา 2๕๖๑ ปีการศกึ ษา 2๕๖๒ ปีการศึกษา 2๕๖๓

๑. ดา้ นร่างกาย ดี พอใช้ ปรับปรงุ ดี พอใช้ ปรับปรงุ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

๒. ด้านอารมณ์ จติ ใจ (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ)

๓. ดา้ นสังคม ๙๒.๓๑ ๗.๖๙ ๐ ๙๔.๔๔ ๕.๕๖ ๐ ๙๓.๘๗ ๖.๑๓ ๐
๔. ด้านสติปัญญา
๙๘.๐๗ ๓.๙๓ ๐ ๙๖.๒๙ ๓.๗๑ ๐ ๙๗.๗๕ ๒.๒๕ ๐
รวม (เฉล่ยี )
๙๖.๑๕ ๓.๘๕ ๐ ๙๖.๒๙ ๓.๗๑ ๐ ๙๕.๙๑ ๔.๐๙ ๐

๘๘.๔๖ ๑๑.๓๖ ๐ ๘๘.๘๘ ๑๑.๑๒ ๐ ๘๙.๗๙ ๑๐.๒๑ ๐

๙๓.๗๔ ๖.๗๐ ๐ ๙๔.๔๔ ๖.๐๒ ๐ ๙๔.๓๘ ๕.๖๗ ๐

๓.๒ ร้อยละของนกั เรียนทีม่ ีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนแตล่ ะรายวชิ าในระดับ 3 ขน้ึ ไป (ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๖)

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ปีการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา เฉล่ีย
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ร้อยละ

๑. ภาษาไทย ๔๕.๙๒ ๕๕.๒๔ ๕๖.๗๔ 52.63

๒. คณิตศาสตร์ ๔๔.๒๙ ๕๗.๕๖ ๔๖.๖๒ 49.49

๓. วิทยาศาสตร์ ๕๐.๕๑ ๖๒.๗๙ ๖๑.๒๔ 58.18

๔. สงั คมศึกษา ๔๗.๔๖ ๖๖.๘๖ ๖๒.๙๒ 59.08

๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๕๙.๕๑ ๗๖.๑๗ ๖๔.๖๑ 66.76

๖. ศิลปะ ๘๑.๒๗ ๙๕.๙๓ ๙๗.๗๕ 91.65

๗. การงานอาชีพ ๘๒.๕๘ ๗๗.๓๓ ๗๘.๖๕ 79.52

๘. ภาษาอังกฤษ ๘๐.๐๖ ๕๔.๐๗ ๔๘.๓๒ 60.82

รวม (เฉล่ีย) ๖๑.๔๕ ๖๘.๔๔ ๖๔.๖๑ 64.83

๑๓

(ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓)

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา เฉล่ีย
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ รอ้ ยละ
๒๗.๘๘ ๕๕.๘๑ 51.93
๑. ภาษาไทย ๗๒.๐๙ ๑๙.๓๙ ๒๓.๒๖ 23.52
๕๐.๓๐ ๑๓.๙๕ 35.37
๒. คณติ ศาสตร์ ๒๗.๙๑ ๖๑.๒๑ ๔๖.๕๑ 49.08
๗๗.๕๘ ๗๗.๖๗ 78.35
๓. วิทยาศาสตร์ ๔๑.๘๖ ๑๐๐ ๙๗.๖๗ 99.22
๕๔.๕๕ ๖๐.๔๗ 53.84
๔. สังคมศึกษา ๓๙.๕๓ ๔๗.๒๗ ๓๔.๘๘ 42.11
๒๘.๔๘ ๒๕.๕๘ 25.77
๕. สขุ ศึกษา ๗๙.๘๐ ๕๑.๘๕ ๔๘.๔๒ 51.02

๖.พลศกึ ษา ๑๐๐

๗. ศลิ ปะ ๔๖.๕๑

๘. การงานอาชีพ ๔๔.๑๙

๙. ภาษาองั กฤษ ๒๓.๒๖

รวม (เฉลีย่ ) ๕๒.๗๙

๓.๓ ผลการทดสอบระดับชาติขนั พนื ฐาน (O-NET) ชนั ประถมศึกษาปที ่ี ๖

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ปีการศกึ ษา 2๕๖๑ ปีการศึกษา 2๕๖๒ สรปุ

๑. ภาษาไทย ๔๔.๒๑ ๔๔.๑๔ - 0.07

๒. คณิตศาสตร์ ๒๗.๔๘ ๒๔.๒๕ - 3.23

๓. วิทยาศาสตร์ ๓๓.๐๐ ๓๐.๗๑ - 2.29

๔. ภาษาองั กฤษ ๒๗.๙๘ ๒๘.๘๘ - 0.90

รวม (เฉลยี่ ) ๓๓.๑๙ ๓๒.๒๕ - 0.94

หมายเหตุ : ไมม่ กี ารทดสอบในปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

๓.๔ ผลการทดสอบระดบั ชาติขันพนื ฐาน (O-NET) ชันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ปีการศกึ ษา ปีการศกึ ษา สรุป ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา สรุป
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓

๑. ภาษาไทย ๕๒.๔๓ ๕๐.๒๙ - 2.14 ๕๐.๒๙ ๖๓.๓๓ + 13.04

๒. คณิตศาสตร์ ๒๔.๙๑ ๒๓.๑๔ - 1.77 ๒๓.๑๔ ๓๒.๐๐ + 8.86

๓. วทิ ยาศาสตร์ ๓๖.๕๗ ๒๖.๒๙ - 10.28 ๒๖.๒๙ ๓๒.๘๗ + 6.58

๔. ภาษาอังกฤษ ๒๔.๘๖ ๒๘.๒๑ + 3.35 ๒๘.๒๑ ๓๕.๐๐ + 6.79

รวม (เฉลีย่ ) ๓๔.๖๙ ๓๑.๙๘ - 2.71 ๓๑.๙๘ ๔๐.๘๐ + 8.82

๓.๕ ผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี นชนั ประถมศกึ ษาปีที ๓ (NT)

ความสามารถ ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา สรุป ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา สรุป
2๕๖๑ 2๕๖๒ 2๕๖๒ 2๕๖๓
- 0.02
๑. ด้านภาษาไทย ๔๐.๓๘ ๓๕.๑๐ - 5.28 ๓๕.๑๐ ๓๕.๐๘ - 9.32

๒. ดา้ นคณิตศาสตร์ ๓๗.๕๒ ๓๔.๔๘ - 3.04 ๓๔.๔๘ ๒๕.๑๖ -
- 4.67
๓. ด้านเหตผุ ล ๔๐.๐๐ - + 40.00 - -

รวม (เฉลยี่ ) ๓๙.๓๐ ๓๔.๗๙ - 4.51 ๓๔.๗๙ ๓๐.๑๒

หมายเหตุ : ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ (ดา้ นเหตุผล ไม่มีการทดสอบในปีการศึกษา ๒๕๖๒,๒๕๖๓)

๑๔

๓.๖ รอ้ ยละผลการอ่านของนักเรียนชนั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ (RT) อยู่ในระดบั ดีขึนไป

สมรรถนะ ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา สรปุ ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา สรุป
2๕๖๑ 2๕๖๒ 2๕๖๒ 2๕๖๓
+ 2.51
๑. ดา้ นอา่ นออกเสยี ง ๕๒.๓๗ ๖๗.๘๕ + 15.48 ๖๗.๘๕ ๗๐.๓๖ - 22.36
- 9.93
๒. ดา้ นการอา่ นร้เู รื่อง ๕๗.๑๓ ๙๖.๔๒ + 39.26 ๙๖.๔๒ ๗๔.๐๖

รวม (เฉล่ยี ) ๕๓.๗๕ ๘๒.๑๔ + 28.39 ๘๒.๑๔ ๗๒.๒๑

๓.๗ ร้อยละผลการประเมนิ สมรรถนะผูเ้ รียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขันพนื ฐานพุทธศักราช
๒๕๕๑ แตล่ ะสมรรถนะในระดับ ดี ข้ึนไป ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 - ๖ ,ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 – ๓

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 - ๖ ปีการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา เฉล่ยี ร้อยละ
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓
สมรรถนะ ๙๒.๐๐ ๙๒.๕๙ ๘๑.๕๘ 88.72
๘๑.๓๓ ๗๔.๐๗ ๕๒.๖๓ 69.34
๑. ความสามารในด้านการสื่อสาร ๘๒.๖๗ ๖๖.๖๖ ๕๐.๐๐ 66.44
๒. ความสามารถในด้านการคิด ๙๒.๐๐ ๙๖.๓๐ ๙๗.๓๗ 95.22
๓. ความสามารถในดา้ นการแก้ปญั หา ๘๙.๓๓ ๘๕.๑๙ ๘๙.๔๗ 88.00
๔. ความสามารถในด้านการใชท้ ักษะชีวิต ๘๗.๔๗ ๘๒.๙๖ ๗๔.๒๑ 81.55
๕. ความสามารถในด้านการใชเ้ ทคโนโลยี

รวม (เฉล่ีย)

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๓ ปีการศึกษา ปีการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา เฉล่ยี รอ้ ยละ
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓
สมรรถนะ ๗๔.๕๐ ๘๒.๐๐ ๘๑.๙๐ 79.47
๗๖.๕๐ ๗๒.๗๐ ๗๐.๓๐ 73.17
๑. ความสามารในด้านการส่ือสาร ๗๙.๙๐ ๗๙.๙๐ ๘๔.๕๐ 81.43
๒. ความสามารถในดา้ นการคิด ๘๒.๐๐ ๘๑.๙๐ ๘๑.๙๐ 81.93
๓. ความสามารถในด้านการแกป้ ญั หา ๗๔.๕๐ ๗๔.๕๐ ๗๘.๒๐ 75.73
๔. ความสามารถในด้านการใชท้ กั ษะชวี ิต 78.28
๕. ความสามารถในด้านการใชเ้ ทคโนโลยี 77.48 78.20 79.16

รวม (เฉล่ีย)

๑๕

๓.๘ รอ้ ยละผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ผเู้ รียน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั

พืนฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ แตล่ ะคณุ ลักษณะในระดบั ดี ข้นึ ไป (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓)

คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา ปีการศกึ ษา เฉลยี่ ร้อยละ
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓

๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ 100

๒. ซื่อสัตย์ สุจรติ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๘๗.๐๘ 95.69

๓. มวี นิ ยั ๘๙.๙๔ ๙๖.๕๑ ๘๔.๘๓ 90.43

๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๘๖.๕๙ ๘๑.๔๐ ๗๕.๘๓ 81.27

๕. อยู่อย่างพอเพียง ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๙๒.๑๔ 97.38

๖. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ๘๓.๒๔ ๘๕.๔๗ ๘๕.๓๙ 84.70

๗. รกั ความเปน็ ไทย ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๙๒.๗๐ 97.57

๘. มจี ติ สาธารณะ ๙๐.๕๐ ๙๑.๘๖ ๙๐.๔๕ 90.94

๙. พงึ่ ตนเอง ๙๗.๗๗ ๙๓.๐๒ ๘๗.๐๘ 92.62

๑๐. มสี มั มาคารวะ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๘๘.๒๐ 96.07

๑๑. กตญั ญกู ตเวที ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๙๗.๑๙ 99.06

๑๒. มคี วามรับผิดชอบ ๘๙.๓๙ ๘๖.๖๓ ๘๔.๘๓ 86.95

รวม (เฉล่ีย) ๙๔.๗๙ ๙๔.๕๗ ๘๘.๘๑ 92.72

(ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓) ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา ปีการศึกษา เฉลย่ี ร้อยละ
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ 100
๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ 100
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๙๐.๕๓ ๙๗.๖๒ ๑๐๐ 96.05
๒. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต ๙๔.๑๔ ๘๖.๕๐ ๙๔.๓๘ 91.67
๓. มีวนิ ยั ๙๐.๔๕ ๙๗.๖๒ ๘๙.๒๐ 92.42
๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๘๗.๖๒ ๗๘.๗๓ ๙๔.๓๘ 86.91
๕. อย่อู ยา่ งพอเพียง ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ 100
๖. มุ่งมนั่ ในการทางาน ๙๒.๐๓ ๙๒.๐๓ ๙๔.๓๘ 92.81
๗. รกั ความเปน็ ไทย ๙๔.๐๐ ๙๗.๐๐ 95
๘. มีจิตสาธารณะ ๙๔.๐๐

รวม (เฉลีย่ )

๓.๘ ผลการประเมนิ คุณภาพภายในรอบปที ผี่ ่านมา ระดับปฐมวัย

มาตรฐาน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒
ระดบั คุณภาพ ระดบั คุณภาพ
ดเี ลศิ
๑ คุณภาพของเดก็ ดีเลศิ ดีเลศิ
ยอดเยี่ยม
๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเลิศ

๓ การจดั ประสบการณ์ทเ่ี นน้ เด็กเป็นสาคญั ดีเลิศ

๑๖

๓.๙ ผลการประเมนิ คุณภาพภายในรอบปีทผี่ ่านมา ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

มาตรฐาน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

๑ คุณภาพของเดก็ ดี ดเี ลิศ

๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม

๓ การจัดประสบการณท์ ่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ ดีเลิศ ดีเลศิ

๔.แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปัญญาท้องถิ่นและการใชแ้ หลง่ วิชาการนอกระบบท่เี อ้ือต่อกระบวนการจัดการเรียนการ

สอน

ในสถานศกึ ษา นอกสถานศกึ ษา

๑.ห้องสมดุ ๑.วัดบา้ นท่าสว่าง

๒.ห้องคอมพิวเตอร์ ๒.โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพประจาตาบล

๓.ห้องคณิตศาสตร์ ๓.ศูนยพ์ ฒั นาหม่อนไหม(บา้ นทา่ สว่าง)

๔.หอ้ งวิทยาศาสตร์ ๔.รา้ นซอ่ มรถในชมุ ชน

๕.บอ่ กบ,บ่อปลา ๕.โรงเพาะเหด็ ชุมชน

๖.ฟารม์ ววั ,ฟารม์ ไก่ ๖.สวนปาล์ม

๗.สวนเกษตรผสมผสาน ๗.สถานท่ีประกอบพิธที างศาสนาครสิ ต์

๘.สวนสมุนไพร ๘.ศูนย์แสดงสัตวน์ า้ จังหวดั ศรีสะเกษ

๑๗

สว่ นที่ ๒ ระดับคณุ ภาพ
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ดเี ลิศ
ดีเลศิ
ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ดีเลิศ
ดเี ลิศ
มาตรฐาน
๑ คณุ ภาพของเดก็
๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
๓ การจัดประสบการณ์ท่ีเนน้ เด็กเปน็ สาคญั

สรุปผลการประเมนิ

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเดก็

ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลศิ

สถานศึกษาจัดประสบการณ์การที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ -
จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา เด็กมีสุขนิสัยที่ดี มีครูจบดูแลความปลอดภัย ของตนเองได้ ดูแลอย่างใกล้ชิด
จัดบริการ อาหารใหเ้ ด็กอย่างเพียงพอและถูกหลักโภชนาการ ครูมีการสรา้ งแรงจงู ใจในการ บริโภคอาหารที่มีคณุ ค่า
มีการประเมินภาวะโภชนาการเป็นประจาทุกภาคเรียน และได้รับการตรวจสุขภาพประจาปีทุกคน มีการชั่งน้าหนัก
และวัดสว่ นสูงเดก็ ภาคเรียนละ ๒ คร้ัง รวมทัง้ เดก็ ไดร้ บั การปลูกจิตสานกึ ในเร่ืองการดแู ลสขุ ภาพ การออกกาลงั กาย
อย่างสม่าเสมอ รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัย อุบัติเหตุ และส่ิงเสพติดให้โทษ ได้รับการส่งเสริมทักษะด้านการ
เคลือ่ นไหวเตม็ ตาม ศักยภาพ มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเปน็ ประจาทกุ ภาคเรียน

สถานศึกษาจัดทาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย และจัดกิจกรรมท่ีหลากหลาย เช่น กิจกรรมวัน
สาคัญ กิจกรรมวันแม่ กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมวันคริสต์มาส ฯลฯ เพ่ือส่งเสริมและกระตุ้นให้เด็กมีความ
กระตือรือร้นในการเข้าร่วม กิจกรรมต่างๆ กล้าพูดกล้าแสดงออกตามความสามารถ มีความรับผิดชอบ มีความคิด
สร้างสรรค์ อีกทั้งยังปลูกจิตสานึกให้เด็กรักธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยมอบหมายให้เด็กช่วยกันดูแลต้นไม้ และ
สภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษาให้อยู่ ในสภาพสะอาด เรยี บร้อย สวยงามอยู่เสมอ จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเปดิ โอกาส
ให้เด็กทุกคนได้แสดงออกถึงการเป็นผู้นาและผู้ตามได้รับการฝึกให้รู้จัก มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและส่วนรวม
เพอ่ื ให้มพี ัฒนาการดา้ นสังคมท่ีดี มีระเบียบวินัย เชอื่ ฟังคาส่ังสอนของพ่อแม่ ครู อาจารย์ มคี วามซื่อสัตย์ สุจริต รจู้ ัก
ชว่ ยเหลอื แบง่ ปัน มีมนุษยส์ ัมพันธ์ท่ดี ีกับผู้อื่น ประพฤติตนตามวัฒนธรรม และศาสนาทต่ี นเองนบั ถือ ส่งเสรมิ ให้เด็ก
รู้จักคิด ฟัง สังเกต พูด สารวจ ค้นคว้า ทดลอง โดยการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง และได้รับการปูพื้นฐานทักษะ
การเรียนรู้ ผ่านประสบการณ์ตรง ได้รับการส่งเสริมให้มีทักษะในการทางานร่วมกันเป็นทีม เปิดโอกาสให้รู้จักคิด
วางแผน ตัดสินใจ สร้างสรรค์ผลงานได้ตามความคิดและ จินตนาการเสริมสร้างลักษณะนิสัยใฝ่เรียนรู้ กล้าพูด กล้า
ถาม

ข้อมลู หลกั ฐานและเอกสารสนับสนุน

สถานศึกษาได้รวบรวมข้อมูลพัฒนาการของเด็กระดับปฐมวัยทุกคน จานวน ๔๙ คน แล้วนามาประเมิน
ตามเกณฑ์ของสถานศกึ ษา พบว่า

๑. การประเมินพัฒนาการดา้ นร่างกาย พบว่า เด็กจานวน ๔๙ คน มพี ฒั นาการด้านรา่ งกายในระดับดี คิดเปน็

ร้อยละ ๙๗.๙๕ (สูงกวา่ ค่าเป้าหมาย ร้อยละ ๙๐) ดงั นั้น เดก็ มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ุขนสิ ัยท่ีดี

และดแู ลความปลอดภยั ของ ตนเองได้

๑๘

1.๑ เด็กมนี า้ หนกั และส่วนสูง ผา่ นเกณฑ์ ๔๖ คน คิดเป็นร้อยละ 9๓.๘๗
1.๒ เด็กมีสุขภาพอนามัยและนิสัยที่ดีตามเป้าหมายของสถานศึกษา ผ่านเกณฑ์ ๔๙ คน คิดเป็นร้อยละ
100
๑.3 เดก็ เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคลอ่ งแคลว่ ประสานสัมพนั ธแ์ ละทรงตัวได้ ผ่านเกณฑ์ จานวน 4๘ คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ ๙๗.๙๕

๑.4 เด็กเล่น ทากิจกรรม ได้อย่างปลอดภัยทั้งตัวเองและผู้อื่น ผ่านเกณฑ์ จานวน 4๙ คน คิดเป็นร้อย
ละ 100

๒. การประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ พบว่า เด็กจานวน ๔๙ คน มีพัฒนาการด้านอารมณใ์ นระดับดี คิดเป็น
ร้อยละ ๙๗.๙๕ (สงู กว่าค่าเป้าหมาย ร้อยละ ๙๐) ดงั น้ัน เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออก
ทางอารมณ์ได้

๒.๑ เด็กแสดงอารมณ์ความรู้สึกได้สอดคล้องกบั สถานการณ์อย่างเหมาะสมตามวัย ผา่ นเกณฑ์ ๔๗ คน คิดเป็น
ร้อยละ 9๕.๙๑

๒.2 เด็กกล้าพูด กล้าแสดงออกได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ ผ่านเกณฑ์ ๔๘ คน คิดเป็นร้อยละ
๙๗.๙๕

๒.3 เด็กสนใจมีความสุขและแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลงจังหวะและดนตรีได้ ผ่านเกณฑ์ทุกคน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

๓. การประเมินพัฒนาการด้านสังคม พบว่า เด็กจานวน ๔๙ คน มีพัฒนาการด้านสังคมในระดับดี คิดเป็นร้อย
ละ ๙๙.๖๒ (สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย ร้อยละ ๙๐) ดงั นั้น เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ที่
ดขี องสังคม

๓.๑ เด็กมคี วามเมตตา กรุณา มีนา้ ใจ ชว่ ยเหลอื และแบง่ ปัน ผ่านเกณฑท์ ุกคน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
๓.๒ เด็กทางานท่ไี ด้รับมอบหมายจนสาเร็จไดด้ ้วยตนเอง ผา่ นเกณฑท์ ุกคน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
๓.3 เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏิบตั ิกจิ วัตรประจาวันได้เหมาะสม ผ่านเกณฑท์ ุกคน คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐
๓.๔ เด็กมีวินัยในตนเอง เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วยตนเอง ผ่านเกณฑ์ทุกคน คิดเป็นร้อย
ละ 100
๓.๕ เด็กใช้สิ่งของเครือ่ งใช้อยา่ งประหยัดและพอเพียงด้วยตนเอง ผ่านเกณฑท์ กุ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100
๓.6 เดก็ ดแู ลรักษาธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และทิ้งขยะได้ถูกท่ีได้ด้วยตนเอง ผา่ นเกณฑท์ กุ คน คิดเป็นร้อยละ
100
๓.7 เดก็ ปฏิบัตติ นตามมารยาทไทยไดต้ ามกาลเทศะ ผา่ นเกณฑท์ กุ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100
๓.8 เดก็ เลน่ หรอื ทางานร่วมมือกับเพือ่ นได้ ผา่ นเกณฑท์ ุกคน คิดเปน็ ร้อยละ 100
๓.9 เดก็ ทักทาย พูดคุยกบั ผใู้ หญ่และบคุ คลทีค่ ุ้นเคยได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ ผ่านเกณฑท์ ุกคน คิด
เปน็ ร้อยละ 100
๓.10 เด็กปฏบิ ัติตนตามข้อตกลงได้ ผ่านเกณฑท์ ุกคน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
๓.11 เด็กปฏบิ ัตติ นเป็นผนู้ าและผตู้ ามไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ ผ่านเกณฑ์ ๔๗ คดิ เป็นร้อยละ ๙๕.๙๑
๔. การประเมินพัฒนาการดา้ นสติปัญญา พบว่า เด็กจานวน ๔๙ คน มีพัฒนาการด้านสติปัญญาในระดับดี คิด
เปน็ ร้อยละ ๘๙.๓๘ (สูงกว่าค่าเป้าหมาย ร้อยละ ๘๐) ดังนั้น เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา สื่อสารได้ มีทกั ษะการ
คิดพนื ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้
๔.๑ เด็กฟงั และสนทนาโต้ตอบ และเลา่ เป็นเร่ืองราวได้ ผา่ นเกณฑ์ ๔๔ คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 8๙.7๙
๔.2 เด็กจบั คู่ เปรียบเทียบ จาแนก จัดกลมุ่ เรียงลาดับเหตุการณ์ได้ ผ่านเกณฑ์ ๔๓ คน คิดเป็นร้อยละ 8
๗.7๕

๑๙

๔.3 เด็กอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุ และผลที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ การกระทาได้ ผ่านเกณฑ์ ๔๕ คน คิดเป็น
รอ้ ยละ ๘๙.7๙

๔.4 เด็กระบปุ ญั หา สร้างทางเลอื กและเลือกวิธแี กป้ ญั หาได้ผ่านเกณฑ์ ๔๔ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ8๙.7๙
๔.5 เดก็ คน้ หาคาตอบของข้อสงสัยโดยใช้วิธกี ารที่หลากหลายด้วยตนเอง ผา่ นเกณฑ์ ๔๔ คน คิดเป็น ร้อย
ละ ๘๙.๗๙
๕. รายงานและเปดิ เผยผลการประเมนิ คุณภาพของเดก็ ตอ่ ผูป้ กครอง หน่วยงานตน้ สงั กัด ชมุ ชน การลงเว็ป
ไซต์ของสถานศึกษา ไลน์กลุ่ม แผ่นพับ รายงาน เช่น จัดทาสมุดรายงานผลพัฒนาการของเด็กใหผ้ ู้ปกครองรับทราบ
เปน็ ตน้
๖. การจดั ส่งรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาใหห้ น่วยงานตน้ สังกัดในทุกปีการศึกษา
๗. เอกสารต่างๆ เชน่ เกียรตบิ ัตร โลร่ างวัล ภาพถ่าย ผลงาน/ชน้ิ งานเด็ก หนังสือราชการ บันทกึ การแสดง
ความชน่ื ชม ภาพการปฏบิ ัตงิ านเกยี่ วกับเด็กไดแ้ สดงใน คิวอาร์โค้ค

จดุ เด่น

๑. เดก็ มสี มรรถภาพทางกาย กล้ามเนื้อมัดใหญ่แขง็ แรง สามารถทรงตัวยืนกระโดดอยกู่ ับที่ ยืนกระโดด ยืน
กระโดดไกล กระโดดขาเดียวได้อย่างต่อเน่ือง เน่ืองจากโรงเรียนได้สร้างสื่อตารางการกระโดดผ่านสัญลักษณ์บนพื้น
อยา่ งหลากหลายให้เด็กได้เดนิ กระโดดอยกู่ ับท่ี ยืนกระโดดเคลอื่ นกระโดดไกลเล่นอยา่ งมีความหมาย

2. เด็กรา่ เริงแจม่ ใส เลน่ กบั สอื่ อปุ กรณ์เปน็ รายบคุ คล รายคู่ และกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ ทากจิ กรรม
ตามข้อตกลงกับเพ่ือนได้ดี รู้จักการรอคอย การปฏิบัติกิจวัตรประจาวันได้ด้วยตนเองทั้งน้ีเพราะเด็กได้เรียนรู้อยู่ใน
ห้องเดียวกันครจู ัดประสบการณส์ าหรบั เดก็ ปฐมวัยแบบคละอายุ 3 - 6 ปี เดก็ เรียนรู้การพึ่งพาอาศัยช่วยเหลอื ซ่งึ กนั

จดุ ท่ีควรพัฒนา

๑. การพัฒนาการใช้ภาษาไทยที่เหมาะสมกับวยั ไดแ้ ก่ การฟัง การพูดสนทนาโต้ตอบ เล่าเรื่องราวจนจบ
อยา่ งตอ่ เน่ือง การอ่านภาพ สัญลักษณ์ เขียนช่ือของตนเองตามแบบ เขียนขอ้ ความดว้ ยวิธีทเี่ ดก็ คิดขน้ึ เอง

2. การพัฒนาการคิดขั้นพื้นฐาน บอกลักษณะ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ การจับคู่ การเปรียบเทียบให้
เห็นความหมาย ความแตกต่าง จาแนก จัดกลุม่ ส่งิ ต่าง ๆ เรยี นลาดับส่งิ ของและเหตกุ ารณไ์ ดเ้ หมาะสมกบั วัย

ขอ้ เสนอแนะ

๑. ส่งเสริมใหเ้ ด็กได้รับการจัดกจิ กรรมและประสบการณท์ างภาษาไทยทมี่ ีความหมายต่อเด็ก เพ่ือ
การสอ่ื สารอยา่ งหลากหลาย ฝกึ การฟงั การพดู การถาม การตอบจากภาพ หนังสือ และสนทนาเรื่องราวสาระ
ที่ควรรู้ตามหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ หรอื กจิ กรรมการทดลองวิทยาศาสตรง์ า่ ยๆ ตามใบกจิ กรรมการทดลอง
ตามลาดบั ขั้นตอน เดก็ ไดว้ าดภาพและเขยี นชื่อของตนเองตามแบบ เขียนข้อความด้วยวิธีท่เี ดก็ คิดขนึ้ เองอย่าง
เหมาะสมกบั วัย

๒. สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ได้รบั การจดั ประสบการณด์ ้านคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์เบอื้ งต้นโดยเด็กได้
เรยี นรู้ ผ่านประสาทสมั ผัส และลงมือปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเองแสวงหาความรู้ท่ีเหมาะสมกบั วยั โดยการใชเ้ คร่ืองช่งั
น้าหนัก การวดั ความยาว การตวง การสารวจ การจาแนก เปรยี บเทยี บการทดลองง่าย ๆ และการบันทึก
ข้อมลู ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เช่น การวาดภาพ การทาสัญลักษณ์ ลงในกระดาษ หรือสมดุ บันทกึ ของเดก็ เปน็ ตน้

แนวทางพฒั นาคุณภาพใหด้ ีขน้ึ กว่าเดิม

จดั ทาโครงการเสรมิ พัฒนาการดา้ นคณิตศาสตร์และภาษาไทยให้กับเด็กปฐมวัย เพ่ือเป็นทักษะ
พ้ืนฐานและเตรียมความพรอ้ มใหเ้ ด็กปฐมวยั เรียนในชั้นต่อไป.

๒๐

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลิศ

สถานศึกษามรี ะบบบรหิ ารจดั การทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ มีหลักสตู รสถานศึกษาท่ีครอบคลมุ พัฒนาการ ทัง้ ๔
ด้าน สอดคลอ้ งกับหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั และบริบทท้องถ่นิ ซ่ึงการจัดทาหลักสูตรดังกลา่ ว เป็นความร่วมมอื ท้ัง
ครู ผู้ปกครอง และชุมชน มีครูผู้สอนที่มีวุฒิและความเช่ียวชาญที่เพียงพอทุกระดับชั้น มีสิ่งแวดล้อมที่สะอา ด
ปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก พร้อมท้ังมีส่ือและ เทคโนโลยีที่สนับสนุนการจัดประสบการณ์ท่ีได้มาตรฐาน
ผบู้ ริหารเปดิ โอกาส ใหผ้ ้เู กีย่ วข้องทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา

ข้อมูลหลกั ฐานและเอกสารสนบั สนุน

๑. สถานศึกษาได้วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ของกระทรวงศึกษาธิการ
แล้วนามาจัดทาเป็นหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ซ่ึงครอบคลุม พัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ
ท้องถิ่น เพื่อเป็นแนวทางในการ พัฒนาเด็กให้บรรลุผลด้านพัฒนาการ ตลอดจนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปรากฏ
เด่นชัด

๒. สถานศึกษาได้จัดครูที่มีวุฒิการศึกษาปฐมวัยสอนทุกระดับช้ัน โดยเน้นให้ครูมีการบริหารช้ันเรียนที่
สร้างวนิ ยั เชงิ บวก และปฏิสมั พนั ธ์ทด่ี กี บั เด็กและ ผปู้ กครอง จนเปน็ ที่พงึ พอใจและเป็นทีย่ อมรบั ของผู้ปกครองในการ
สง่ บุตรหลาน เข้าเรยี นในระดับปฐมวยั เป็นจานวนมากทกุ ปกี ารศกึ ษา

๓. สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ โดยการสนับสนุนครูทุกคนได้
พฒั นาตนเองและวิชาชีพทงั้ ในและนอกสถานศึกษา อย่างตอ่ เน่ือง เพอื่ สรา้ งความเปลย่ี นแปลง ที่สง่ ผลต่อการพฒั นา
คุณภาพเด็กผ่านการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็กและเน้น
พัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน ผ่านกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม มีการประเมินพัฒนาการของเด็ก ทั้งแบบรายบุคคล และ
โดยรวม และนาผลการประเมินใหผ้ ปู้ กครองรว่ มพิจารณา เพอื่ นามาพัฒนาเดก็ ตามความสามารถของเด็กแต่ละคน

๔. สถานศึกษาได้จัดสภาพแวดล้อมและสื่อการเรียนรู้ท่ีปลอดภัยและเพียงพอ สาหรับเด็กทุกระดับชั้น
เช่น มุมประสบการณ์ ห้องสมุด จัดโทรทัศน์ท่ีสามารถเช่ือมต่อส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ในทุกห้องเรียน สนามเด็กเล่น
เปน็ ตน้

๕. มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ผู้บริหารเข้าใจถึงปรัชญาและ
หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและ เอาใจใส่การจัดการศึกษา มีการกระจาย
อานาจ การบริหารงานทุกระดับชั้น มีการประชุมกลุ่มย่อย มีการกากับติดตาม ประเมินผล จัดทารายงานผลการ
ดาเนินงานประจาทุกปีการศึกษา จัดประชุมผู้ปกครองเพื่อแจ้งผลการประเมินให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัด
กิจกรรมและประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กร่วมกันจนเป็นท่ีน่าความพึงพอใจของสถานศึกษา ชุมชนและผู้ปกครอง
นาไปแนวทางการดาเนินงานเพอื่ พฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

๖. การจัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ให้หนว่ ยงานตน้ สังกดั ในทกุ ปีการศกึ ษา
และมีการส่ือสาร ประชาสัมพันธ์ผลงานของสถานศึกษาผ่านสื่อในรูปแบบต่างๆ ท้ังในรูปแบบออนไลน์ ทางเว็ปไซด์
หรือเอกสาร เชน่ วารสารประชาสมั พนั ธ์ แผ่นพับ

๗. เอกสารต่าง ๆ เช่น แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี เกียรติบัตร โล่
รางวลั ภาพถ่าย ผลงาน ชนิ้ งาน หนังสอื ราชการ บันทกึ การแสดงความช่นื ชม

จุดเด่น
๑. สถานศึกษามีหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 256๐ ท่ยี ดื หยุ่นและพัฒนาการเด็กทงั้ ๔

ดา้ น ทส่ี อดคลอ้ งกบั หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยสอดคล้องกับวิถีชีวติ ของครอบครวั ชมุ ชนและท้องถิน่
๒. สถานศึกษามีส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์ อย่าง

พอเพียงและใชไ้ ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

๒๑

๓. สถานศึกษามีกลุ่มเครือข่ายครูปฐมวัย สพป. ศรีสะเกษ เขต ๔ ร่วมพัฒนาท่ีเข้มแข็ง มีส่วนร่วมในการ
วางแผนการออกแบบการจัดประสบการณ์ และให้ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาเด็กปฐมวัย

จดุ ควรพัฒนา

1. การนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการติดต้ังคอมพิวเตอร์ ท่ีเช่ือมต่อ อินเทอร์เน็ตครบทุกชั้นเรียน
ในห้องเรยี นปฐมวัยทกุ หอ้ ง

2. ส่งเสริมพฒั นาครใู หม้ คี วามเช่ียวชาญในด้านการจดั ประสบการณ์และการดูแลเด็กปฐมวยั

ขอ้ เสนอแนะ

๑. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการติดตั้งคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตครบทุกชั้นเรียน
ในห้องเรียนปฐมวยั ทกุ หอ้ งเพ่ือใหค้ รูไดล้ งมือใชจ้ นเกดิ ความชานาญ

๒. ส่งเสริมให้ครูทุกคนมีวัฒนธรรมการทางานแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัด
ประสบการณแ์ ละกิจกรรมให้มีประสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน และส่งเสริมใหเ้ ดก็ เรียนร้จู ากประสบการณต์ รงและการทางาน
ร่วมกบั ผ้อู น่ื กระตุน้ ใหเ้ ดก็ ไดค้ ดิ วิเคราะห์ แกป้ ัญหา และสอ่ื สารใหผ้ ู้อื่นรับรู้ เปน็ ผู้กลา้ คดิ กล้าทากลา้ แสดงออก

แนวทางพฒั นาคุณภาพให้ดีขนึ้ กวา่ เดมิ

จัดทาโครงการอบรมพฒั นาครูให้มคี วามรู้เกย่ี วกบั การใชเ้ ทคโนโลยี เพือ่ ใหค้ รูได้มคี วามรู้และชานาญการใน
การช้นั เทคโนโลยีท่ที นั สมยั เพือ่ จะไดน้ ามาปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้กับเด็กปฐมวยั

มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณท์ ่เี น้นเดก็ เป็นสาคญั

ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลศิ

ครูจัดประสบการณ์ให้เด็กที่มีประสิทธิภาพ สามารถใช้สื่อและเทคโนโลยี ท่ีเหมาะสมในการกระตุ้นการ
เรียนรู้ของเด็ก จนทาให้เด็กมีพัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด ครูทุกคนจัด
ประสบการณ์ที่เน้นเด็ก เป็นสาคัญ เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการสมบูรณ์ครบ ๔ ด้าน ครูรู้จักเด็กเป็นรายบุคคล มีการจัด
กจิ กรรมที่สรา้ งโอกาสให้เดก็ ทกุ คนไดร้ ับประสบการณผ์ ่านการเล่น และการลงมอื ปฏิบัตผิ า่ นประสาทสัมผัสท้ัง ๕ ครู
สามารถจัดบรรยากาศและ ส่ิงแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกชั้นเรียนที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็ก ครูใช้ส่ือ และ
เทคโนโลยีเพ่ือกระตุ้นพัฒนาการของเด็ก ครูมีการประเมินผลเด็กเป็นรายบุคคลและ นาผลมาพัฒนาการจัด
ประสบการณใ์ หเ้ ด็กเพื่อบรรลตุ ามเปา้ หมายที่สถานศกึ ษากาหนดไว้

ข้อมูลหลักฐานและเอกสารสนับสนนุ
๑. ครูทุกคนมีแผนประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ครบทุกคน จัด

ประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ ครบทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์
จติ ใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา โดยเปิดโอกาส ให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงได้เลือกเล่นและลงมือปฏิบัติผ่าน
กิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม คือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์
กิจกรรมเล่นตามมุม กจิ กรรมกลางแจง้ กจิ กรรมเกมการศึกษา

๒. ครูจัดกิจกรรมหน้าเสาธง กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
กจิ กรรมน่ังสมาธกิ อ่ นเรียน ๑๐ นาที เปน็ ต้น

๓. ครูจัดบรรยากาศห้องเรียนให้มีมุมประสบการณ์ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็ก ครูใช้สื่อเทคโนโลยีที่
เหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก) มีโทรทัศน์เชื่อมต่ออินเทอร์เนต็ ทีใชช้ ่วยสอนในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน ในหอ้ งเรยี นเน้นความสะอาด ปลอดภยั มอี ากาศถา่ ยเท

๒๒

๔. ครูมีการประเมิน พัฒนาการเด็กตามสภาพจริงโดยการสังเกต ตรวจผลงานเด็ก ฯลฯ ในกิจกรรม
ประจาวันและกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีจัดโดยผู้ปกครองและผู้ท่ีเกี่ยวข้องเข้ามา มีส่วนร่วมในการประเมินพัฒนาการและ
การนาผลมาพฒั นาเด็กเปน็ รายบคุ คล และการจัดประสบการณ์ให้เด็กต่อไป

๕. มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหว่างครู/ผู้ดูแลเด็กและผู้เกี่ยวข้อง เช่น กิจกรรม PLC ครู
อนบุ าลทุกวันศุกร์ เพ่ือเปน็ การแลกเปล่ียนเรียนรู้การจดั ประสบการณเ์ ด็ก เปน็ ตน้

๖. มีวิธีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ที่หลากหลาย ระหวา่ งเพ่ือนครู เช่น การนิเทศการสอนระหวา่ งเพือ่ นครู
เป็นตน้

๗. มกี ารนเิ ทศ กากับ ติดตามการจัดการเรยี นการสอนจากผบู้ ริหาร ภาคเรียนละ ๒ คร้งั
๘. เอกสารต่าง ๆ เชน่ แผนการจดั ประสบการณ์ เกียรติบัตร โลร่ างวลั ภาพถา่ ย ผลงาน ช้นิ งาน
หนงั สือราชการ บันทึกการแสดงความชื่นชม

จุดเดน่

๑. จัดประสบการณ์ให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ผ่านการเล่น กิจกรรมกลางแจ้ง สร้างสื่อตาราง การ
กระโดดผ่านสัญลักษณ์บนพ้ืนอย่างหลากหลาย เด็กได้มีทักษะการสังเกต การสารวจ การสัมผัส และการพัฒนา
กลา้ มเนื้อมดั ใหญ่ ยืนกระโดดไกล กระโดดขาเดยี ว กระโดดอยู่กบั ที่ ได้อย่างคลอ่ งแคลว่ ตอ่ เนอื่ งท่ีเหมาะสมกับวัย

๒. จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ สอดแทรกคาศัพท์ภาษาอังกฤษ ควบคู่กับภาษาไทย ตามหน่วยการจัด
ประสบการณ์ ให้เด็กได้คุ้นเคย ท่อง พูด คาศัพท์ง่าย ๆ ที่เหมาะสมกับวัย และบริหารจัดการชั้นเรียนให้เด็กเรียนรู้
ชว่ ยเหลือพง่ึ พาอาศัยซ่ึงกันและกัน พี่ชว่ ยนอ้ งอยู่ในห้องเดยี วกันคละอายุ (๔-6ป)ี อยา่ งมีความสุข

จดุ ท่คี วรพฒั นา
๑. การจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ท้ังภายในภายนอกห้องเรียนที่เอ้ือต่อการเรียนรู้มีส่ือ อุปกรณ์ท่ี

เพียงพอต่อจานวนของเด็กทเี่ หมาะสมกับวยั
๒. การจัดกิจกรรมให้เดก็ ชน้ั ปีท่ีอนบุ าล ๓ พัฒนาการคิดข้ันพนื้ ฐาน ให้มีความพร้อมในการเรยี นชน้ั

ประถมศึกษาปีที่ ๑

ข้อเสนอแนะ
๑. การจดั บรรยากาศท่ีเอ้อื ต่อการเรียนรู้ท้ังภายในภายนอกหอ้ งเรียนท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ควรมีสื่ออุปกรณ์ที่

เพียงพอต่อจานวนของเด็กที่เหมาะสมกับวัย ได้แก่ การจัดมุมประสบการณ์ในห้องเรียนควรมีมุมเสริมประสบการณ์
อย่างน้อย 4 มุม เช่น มุมบ้านมีส่ืออุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจาวันท้ังสื่อของจริงและของจาลองท่ีมีจานวนเพียงพอ
เหมาะสมกับจานวนเด็ก มุมบล็อก มีส่ือท่ีเป็นรูปร่างรูปทรง หลากหลายมิติ มุมหนังสือ มีหนังสือภาพ นิทานท่ี
หลากหลายเร่ืองท่ีส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม มุมศิลปะ มีอุปกรณ์ การวาดภาพ ระบายสี การปะติด การป้ัน
การร้อย มุมวิทยาศาสตร์ และสือ่ เครอ่ื งเลน่ สนามสาหรบั เด็กปฐมวัยท่ีมสี อ่ื ธรรมชาติ และสอื่ พฒั นาการความท้าทาย
การลอด การมุด การโหน การปีน ป่าย เปน็ ตน้

๒.การจัดกิจกรรมให้เด็กชั้นอนุบาล ๓ มีความพร้อมในการเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ โดยจัด
ประสบการณ์ให้เด็กด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การส่งเสริมการใช้ภาษา ให้เด็กได้เห็นแบบอย่างการเขียนที่
ถูกต้อง เขียนช่ือตนเอง เขียนตัวอักษร เขียนคา หรือข้อความท่ีเด็กคิดข้ึนเอง การอ่านนิทานหรือหนังสือภาพ
ท่ีเด็กสนใจ อ่านภาพ อ่านสัญลักษณ์ การพัฒนาการคิดข้ันพื้นฐาน บอกลักษณะ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ
การจับคู่ การเปรียบเทียบ ให้เห็นความหมาย ความแตกต่าง จาแนก จัดกลุ่มส่ิงต่าง ๆ เรียนลาดับส่ิงของและ
เหตกุ ารณ์ได้เหมาะสมกับวยั เปน็ ต้น

๒๓

แนวทางพัฒนาคณุ ภาพให้ดขี นึ้ กวา่ เดิม
จัดทาโครงการพัฒนาทักษะภาษาไทยจากสื่อนิทานคุณธรรม เพือ่ ไดน้ าคาศัพทใ์ นนิทานแตล่ ะเร่ืองมา

อา่ น เขยี นให้เด็กไดท้ ่องจาคาตา่ งๆในนิทานที่ครูนามาเลา่ เดก็ จะไดเ้ รียนรูแ้ ละจดจาคาตา่ งๆในนิทาน

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

มาตรฐาน ระดับคุณภาพ
๑ คุณภาพของผเู้ รียน ดี
๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นท่ผี ูเ้ รยี นเป็นสาคัญ ยอดเย่ียม
ดีเลิศ
สรุปผลการประเมิน ดี

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รียน

ระดบั คณุ ภาพ : ดี
สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกาหนดโครงการ/ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนใน

หลากหลายวธิ ีการ เช่น โครงการส่งเสริมรักการอ่าน การประเมินการรู้เรื่องการอา่ น (PISA) 1 คร้ัง การประเมนิ การ
อ่าน การเขียน 1 คร้ัง โครงการแข่งขันทักษะทางวิชาการ โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โครงการเข้า
ค่ายคุณธรรมจิตอาสาทาความดี กิจกรรมการจัดทาโครงงาน เช่น โครงงานวิทยาศาสตร์ โครงงานคณิตศาสตร์ฯลฯ
กิจกรรมการเขียนเรียงความ การอ่านในวันสาคัญ เช่น วันพ่อ วันแม่ วันไหว้ครู กิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ
กจิ กรรมวันคริสต์มาส ส่งเสริมนักเรยี น ฝึกสมองประลองปญั ญา เลขคณติ คิดในใจ แบบฝึกคูณคลอ่ ง การบรู ณาการ
ตัวช้ีวัดของการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ร่วมกับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แล้วนาผลการ
ประเมินมาปรับปรุงแก้ไขความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ การเขียน การส่ือสาร และการคิด คานวณ ตาม
รปู แบบและวิธีการที่กาหนดอยา่ งต่อเน่อื ง

ข้อมูลหลักฐาน และเอกสารสนับสนนุ
๑. ด้านคุณภาพผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
๑.๑ สถานศึกษาได้ตั้งคณะกรรมการประเมินภายในของสถานศึกษาขึ้น และรวบรวมข้อมูลผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนของผู้เรียนด้านต่าง ๆ ตามแผน การเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียนทุกคน (จานวน 404 คน) ของ
สถานศึกษา แล้วนามาประเมนิ ตามเกณฑข์ องสถานศกึ ษา พบว่า

๑. การประเมินด้านการอ่าน พบว่า นักเรียนจานวน 329 คน มีผลการทดสอบการอ่านในระดับดี
ขึน้ ไป คดิ เป็นรอ้ ยละ 81.43 (สงู กว่า คา่ เปา้ หมายร้อยละ ๘0.00)

๒. การประเมินด้านการเขียน พบว่านักเรียนจานวน 325 คน มีผลการทดสอบการเขยี นในระดับดี
ขึ้นไป คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.45 (สงู กวา่ คา่ เป้าหมายรอ้ ยละ ๘0.00)

๓. การประเมินด้านการส่ือสาร พบว่า ผู้เรียนมีผลการประเมิน การส่ือสารในระดับดีขึ้นไป จานวน
355 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 87.87 (สงู กว่า ค่าเป้าหมายร้อยละ ๘0.00)

๔. ผลการประเมนิ ดา้ นการคดิ คานวณ พบวา่ ผเู้ รยี นมีผล การประเมินในระดับดีขนึ้ ไป จานวน 258
คน คิดเปน็ ร้อยละ 63.86 ( ตา่ กว่าคา่ เปา้ หมายรอ้ ยละ 75.00 )

๕. ผลการประเมินการคิดวิเคราะห์ พบว่า ผู้เรียนมีผล การประเมินในระดับดีขึ้นไป จานวน 260
คน คดิ เป็นร้อยละ ๖๔.36 ( ต่ากวา่ ค่าเป้าหมายรอ้ ยละ ๘๐.00 )

๖. ผลการประเมินด้านความสามารถในการสร้างนวัตกรรม พบว่า ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับดี
ขนึ้ ไป จานวน 324 คน คดิ เป็นร้อยละ 80.19 (สงู กวา่ ค่าเปา้ หมายร้อยละ ๘0.00)

๒๔

๗. การประเมินความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ พบวา่ ผู้เรียนมีผลการประเมินในระดับ
ดขี ึ้นไป จานวน 360 คน คิดเป็นร้อยละ ๘๙.11 (สงู กวา่ คา่ เปา้ หมายร้อยละ ๘0.00)

๘. ผลการประเมินด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน โดยเฉลี่ยทุกคน ทุกระดับช้ันพบว่า กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศสถานศึกษาต้งั ค่า เป้าหมายผู้เรยี นร้อยละ
๖0 มีผลการเรียนเฉล่ียต้ังแต่ ๒.๕๐ ข้ึนไป ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาพลศึกษา
และกล่มุ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี สถานศกึ ษาต้ังค่าเป้าหมาย ผู้เรียนร้อยละ ๖0 มีผลการเรียน
เฉลี่ยต้ังแต่ ๓.0๐ ขึ้นไป โดยทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงกว่าค่าเป้าหมาย
แต่ผลสมั ฤทธ์ิ ในแต่ละปยี ังไมม่ พี ฒั นาการในทางบวกตดิ ต่อกนั ทั้ง ๓ ปียอ้ นหลัง

๙. สว่ นผลการประเมินระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET)
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ พบว่า ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มผี ล การประเมินทตี่ ่ากว่าเกณฑก์ ารผา่ นโดย

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมีคะแนนผล การทดสอบ 63.33 คะแนน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ มี
คะแนนผลการทดสอบ 35.00 คะแนน กล่มุ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ มีคะแนนผลการทดสอบ 32.00 คะแนน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ มีคะแนนผลการทดสอบ 32.87 คะแนน โดยทุกสาระการเรียนรู้ มีพัฒนาการ
เชิงบวก ๒ ปยี อ้ นหลัง

๒. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
- คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ทุกคุณลักษณะ ในระดับดีข้นึ ไป ร้อยละ ๙2.91 ผู้เรียนร้อยละ ๙6.47 มี

ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย โดยประเมินจากการการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีสถานศึกษา จัดข้ึน
ผู้เรียนร้อยละ ร้อยละ ๙๕.43 มีการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง และหลากหลาย และผู้เรียนร้อยละ
ร้อยละ ๙4.38 มสี ุขภาวะทางรา่ งกาย จติ สงั คม ผา่ นตามเกณฑม์ าตรฐานของกรมอนามยั

๑. รายงานและเปิดเผยผลการประเมนิ คุณภาพของผูเ้ รียนต่อผู้ปกครอง หน่วยงานตน้
สังกัด ชุมชน เช่น การลงเว็ปไซตข์ องสถานศึกษา ไลน์กลุ่ม จลุ สาร แผ่นพบั รายงาน เสียงตามสาย และชี้แจงในการ
ประชมุ เปน็ ต้น

2. การจัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาใหห้ น่วยงานตน้ สังกัดในทกุ ปี
การศึกษาและเสนอผลการพฒั นาผูเ้ รียนให้ผู้ปกครองรับทราบ

3. เอกสารต่างๆ เช่น เกียรติบัตร โล่รางวัล ภาพถ่าย ผลงาน/ช้ินงานนักเรียน หนังสือราชการ
บนั ทึกการแสดงความช่ืนชม ภาพการปฏบิ ัตงิ านเก่ียวกบั ผูเ้ รียนได้แสดงใน คิวอารโ์ คค้

จดุ เดน่
คณุ ภาพผูเ้ รียน
๑. นักเรยี นมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น มคี ุณธรรม จริยธรรม
๒. นกั เรยี นมีน้าหนัก ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑม์ าตรฐาน มีสุขภาพรา่ งกายแข็งแรง

และจติ ใจท่ดี ี แสดงออกอยา่ งเหมาะสมกบั ช่วงวยั และไม่เก่ียวขอ้ งกบั ยาเสพติด

จุดควรพฒั นา
๑. การสงเสรมิ ความสามารถในการเขียนภาษาไทย
๒. การสงเสริมความสามารถในการสร้างนวตั กรรม
๓. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นกล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

๒๕

ข้อเสนอแนะ
๑. สงเสริมการเรยี นภาษาไทย ดว้ ยวิธีการแจกรปู สะกดคา ผันเสียง การอานออกเสียงการคัดลายมอื และ

การเขียนตามคาบอก โดยใชหนังสือแบบเรียนเร็วใหม่ รวมท้ังใชส่ือแผ่นชาร์ตภูมิ ใชฝกทักษะการแจกลูก สะกดคา
ผันเสียง การอานออกเสียง การคัดลายมือ และการเขียนตามคาบอก ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ถึงช้ัน
ประถมศึกษาปท่ี ๓ เนนการฝกซา้ ยา้ ทวน

๒. สงเสริมความสามารถในการสร้างนวัตกรรม จัดกิจกรรมการเรียนแบบโครงงานหรือการเรียนรูโดยใช
โครงงานเป็นฐาน PBL. แลวนา PBL มาใชกับ STEM เป็นโครงงานทางวิทยาศาสตร์เพื่อแกปญหาที่ “กาลังเกิดขึ้น
จริง หรือจะเกิดข้ึนไดใ้ นอนาคต

๓. ดาเนินงานยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ ตัง้ แต่ระดบั ช้ันประถมศกึ ษา
ปีที่ ๑ ถึงช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ เชน่ กิจกรรมสอนเสรมิ เตมิ เต็ม กจิ กรรมเขา้ ค่ายภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ ฯลฯ
แนวทางพฒั นาคณุ ภาพให้ดขี ้นึ กว่าเดิม

1. จดั ทาโครงการอบรมพัฒนาครใู หม้ คี วามรู้เก่ียวกบั การใชเ้ ทคโนโลยี
2. กิจกรรมสอนเสริมเตมิ เต็ม
3. กิจกรรมเขา้ ค่ายภาษาไทย
4. กจิ กรรมเขา้ ค่ายภาษาอังกฤษ

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ

ระดบั คณุ ภาพ: ยอดเย่ียม
สถานศึกษาดาเนินการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่าง ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของ

สถานศกึ ษา ความต้องการของชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ นโยบายของรฐั บาลและของ
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา โดยได้ประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อการดาเนินงาน จัดทาแผนพัฒนาการศึกษา และ
แผนปฏิบัติการประจาปี ผ่านการเห็นชอบโดยคณะกรรมการ สถานศึกษา ทาให้สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการ
คุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดย
ความร่วมมือของผ้เู กี่ยวข้องทุกฝ่าย มีการนาข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุง อย่างต่อเน่ือง สถานศึกษามีการดาเนินงาน
พัฒนาวชิ าการผูเ้ รียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศกึ ษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่ือมโยงกับชวี ิตจริง พัฒนาครู และ
บุคลากรใหม้ ีความเชีย่ วชาญทางวิชาชพี ตรงตามความตอ้ งการของครู และ สถานศึกษา และจัดให้มีชมุ ชนการเรยี นรู้
ทางวิชาชีพเพ่ือพัฒนางาน จัดสภาพแวดล้อม ทางกายภาพและสังคมที่เอ้อื ต่อการจัดการเรยี นรู้อย่างมคี ุณภาพ และ
มีความปลอดภัย จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ

จัดการ เรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา แต่สถานศึกษายังไม่มีกระบวนการ วิจัยและพัฒนาระบบการ
บริหารทีถ่ กู ต้องตามหลักวชิ าการ

ข้อมลู หลักฐาน และเอกสารสนบั สนุน
๑. สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา

ความตอ้ งการชุมชน นโยบายรฐั บาล แผนการศึกษาแห่งชาติ โดยผูเ้ ก่ียวข้องทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วมในการดาเนินการ และ
มีการทบทวน ปรบั ปรุงให้สามารถนาไปใชจ้ รงิ และทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลง

๒. สถานศึกษามีโครงสร้างการบริหาร ๔ งาน ๑) งานวิชาการ ๒) งานบุคลากร ๓) งานแผนงานและ
งบประมาณ ๔) งานบริหารทั่วไป ที่มีบุคลากรทุกฝ่ายเข้าร่วมงาน กาหนดบทบาทการทางานอย่างเป็นระบบและ
ชัดเจนมีรูปแบบการบริหารงานตามกระบวนการ PDCA มีการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561-
2564/แผนปฏิบัติการประจาปี 2563 อย่างเป็นระบบ มีความชัดเจน กาหนดติดตามตรวจสอบ โครงการ/

๒๖

กิจกรรม ตามกรอบระยะเวลาปฏิทินท่ีกาหนดอย่างต่อเน่ือง จัดอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา ด้วยความ

โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ โดยคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้มีส่วนเกี่ยวของทุกฝ่ายเห็นชอบมีการนิเทศภายใน

ตามกรอบระยะเวลาปฏิทินกาหนด ภาคเรียนละ 2 คร้ัง มีการนาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาพัฒนาบุคลากร โดยมี

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 กลุ่มเครือข่ายพัฒนาวิชาการเข้ามามีส่วนร่วมในการ

วางแผน ปรับปรุง และพัฒนาและร่วมรับผิดชอบต่อการศึกษาอย่างต่อเน่ือง สถานศึกษามีระบบดูแล ช่วยเหลือ

นักเรียน ครูทุกคนมีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ทาหน้าท่ีเป็นครูแนะแนว เย่ียมบ้านนักเรียน มีคณะกรรมการ

เครือข่ายผู้ปกครองระดับห้องเรียน และสถานศึกษาได้รับความร่วมมือจากสถานีตารวจภูธรกันทรลักษ์ จัดทา

โครงการครู D.A.R.E ส่งวทิ ยากรตารวจมาสอนการปอ้ งกนั ตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพตดิ และกฎจราจรผูป้ กครอง

๓. สถานศกึ ษาบริหารจัดการโดยมกี ารจัดทาหลักสตู รสถานศึกษา โดยยึด หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐ มีการบริหารเก่ียวกับงานวิชาการโดยจัดให้ผู้เรียนเข้า
ร่วมกิจกรรม วิชาการ ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามความรู้ ความสามารถและความถนัด พร้อมท้ังเข้าร่วมแข่งขัน
กิจกรรมวิชาการระดับสถานศึกษา ระดับเครือข่ายการศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศึกษามีการพัฒนา
หลักสตู ร ปีละ ๑ ครั้ง มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียน จดั ครตู ่างชาติเข้าสอน จัดจ้างครวู ิชาเอกท่ีขาด
แคลนครบทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดทารายวิชาเพิ่มเติม พัฒนาห้องเรียนดิจิทัล ศูนย์สถานศกึ ษาพอเพียง กิจกรรม
ลกู เสือ แนะแนว สะเตม็ ศึกษา กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ ฯ

๔. สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้ครูทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบ
ออนไลน์ ท้ังในระดบั เขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา และหนว่ ยงานอื่น ๆ เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี และจัดใหม้ ีชุมชน
การเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC) มาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรขู้ องผู้เรียน สง่ เสริมให้ครเู ป็นวทิ ยากร
ภายนอก ใหค้ วามรดู้ า้ นวิชาชีพ โดยการสอนกจิ กรรม ลูกเสอื เนตรนารี

๕. สถานศึกษาจัดให้มโี ครงการปรับปรุง พัฒนาอาคารสถานท่ีและ สง่ิ แวดล้อม มีการจดั สภาพแวดลอ้ มทั้ง
ภายในและภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้ มีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น ปลอดภัย จัดให้มีอาคารเรียน
อาคาร ประกอบอยา่ งเพียงพอ จัดใหม้ ีห้องสมดุ การเรียนรทู้ ท่ี นั สมัย ห้องปฏิบตั ิการเพยี งพอ จดั หาวสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีเอ้ือ
ต่อการเรียนรู้ และแหล่งสบื คน้ ข้อมูลทางอินเทอร์เนต็ ทนี่ กั เรียนสามารถเข้าถึงและใชป้ ระโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ตา่ ง
ๆ ไดง้ ่าย

๖. สถานศึกษาจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใช้ในการบริหาร จัดการและการจัดการเรียนรู้ที่
เหมาะสม โดยมีข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นาไปประยุกต์ใช้ได้ มีการดาเนินงานอย่างเป็น
ระบบ มีการจัด ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้ เช่น มีคอมพิวเตอร์
สาหรับห้องปฏิบัติการ และติดตั้ง TV LCD และคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊คในห้องพิเศษและห้องปฏิบัติการ ติดตั้งระบบ
สัญญาณอินเทอร์เน็ต เพื่อกระจายสัญญาณ WIFI ให้ครอบคลุมทั่วถึงท้ังบริเวณสถานศึกษา เพื่อให้ครู นักเรียน
ผู้ปกครอง และประชาชนสามารถเข้าถึงระบบสารสนเทศของสถานศึกษา ได้ง่ายข้ึน สะดวกต่อการติดต่อ
ประสานงานและอานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ ได้มากขึ้น และนาเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการวัดและ
ประเมินผลจดั ทาการทดสอบด้วยระบบออนไลน์ในทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้

๗. การประชมุ ผปู้ กครอง เพ่ือรายงานผลการดาเนนิ งาน ของสถานศึกษาในทกุ ปีการศึกษา
๘. การจดั ส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้หนว่ ยงานต้นสังกดั ในทุกปีการศึกษา มีการ
สอ่ื สาร ประชาสัมพนั ธผ์ ลงานของสถานศึกษาผา่ นส่ือในรปู แบบต่างๆ ทงั้ ในรปู แบบออนไลน์ และเอกสาร
๙. เอกสารตา่ ง ๆ เช่น แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจาปี เกียรติบตั ร โล่
รางวลั ภาพถา่ ย ผลงาน ชน้ิ งาน หนงั สอื ราชการ บนั ทึกการแสดงความช่ืนชม ภาพการปฏบิ ัติงาน

จุดเดน่
๑. มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน พันธกิจที่ชัดเจน สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษาและความตอง

การของชมุ ชน

๒๗

๒. ผู้บริหารมีความต้ังใจ มีความมุงม่ัน มีหลักการบริหาร และมีวิสัยทัศนท่ีดี ในการบริหารงาน สามารถ
เป็นแบบอยงที่ดีในการทางาน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีความต้ังใจและมีความพร อมในการ
ปฏิบตั ิหนาทต่ี ามบทบาทหนาที่

๓. สถานศึกษาปรับปรุง พัฒนาอาคารสถานท่ีและ ส่ิงแวดล้อม มีการจัดสภาพแวดล้อมท้ังภายในและ
ภายนอกห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อ การจัดการเรียนรู้ มีสภาพแวดล้อมท่ีร่มร่ืน ปลอดภัย มีอาคารเรียน อาคารประกอบ
อย่างเพยี งพอ มีหอ้ งสมุดการเรยี นรทู้ ่ที ันสมัย หอ้ งปฏบิ ัติการเพยี งพอ

จดุ ควรพัฒนา
๑. การสงเสริมใหครูและบุคลากรทางการศึกษาใชนวัตกรรมประกอบการเรียนการสอนและการรายงาน

ผลการใชนวัตกรรมท่ีเกดิ ขนึ้ กบั ผเู้ รยี นอยา่ งจรงิ จัง
๒. การจัดหองเรยี นและหองปฏิบัติการต่าง ๆ ใหเปน็ หองเรียนคุณภาพ โดยมสี อ่ื และโสตทศั นูปกรณ

ทเี่ พยี งพอ รวมทง้ั การตกแต่งภายในหองที่มีความเปน็ ระเบยี บและสวยงาม
๓. การสงเสริมการใชสื่อสังคมออนไลน์ ใหครอบคลุมทุกชุมชนแหงการเรียนรู PLC) เพ่ือรายงานผลต่อ

สาธารณชนใหทนั ตอเหตุการณ์
๔. การจัดใหมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเขาถึงแหล่งขอมูล และการเรียนรู โดยการใช Google

Applications รวมท้ังการใชหองเรียนออนไลน์ สอดคลองกบั แนวปฏิรปู การศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑

ข้อเสนอแนะ
๑. สงเสริมใหครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใชนวัตกรรมประกอบการเรียนการสอน และมีการรายงานผล

การใชนวัตกรรมที่เกิดขนึ้ กับผูเรยี นเป็นประจาทกุ ป
๒. ปรบั ปรงุ หองเรยี นและหองปฏบิ ตั ิการต่างๆ โดยการจัดตกแต่งภายในท่เี อื้อตอการเรียนรู้ มคี วาม

เป็นระเบยี บ สวยงาม และจัดสภาพแวดลอมภายนอก เชน สวนหยอมใหรมรน่ื และสวยงาม
๓. ควรสงเสริมการใชสื่อสังคมออนไลน ใหครอบคลุมทุกชุมชนแหงการเรียนรู PLC) เพื่อรายงานผลต่อ

สาธารณชน โดยผาน Facebook , Line และ website ใหเป็นปจจบุ นั และทันตอเหตกุ ารณ
๔. ควรสงเสรมิ การใชสื่อหองเรียนออนไลน Google Classroom) ประกอบการเรียนการสอนทีเ่ หมาะสม

กับแนวทางการปฏิรปู การศกึ ษาในศตวรรษที่ ๒๑

แนวทางพฒั นาคุณภาพใหด้ ขี น้ึ กวา่ เดมิ
1. จดั ทาโครงการอบรมพัฒนาครใู ห้มคี วามร้เู ก่ยี วกับการใชเ้ ทคโนโลยี

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ทีผ่ ้เู รยี นเป็นสาคญั

ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลิศ
สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐาน การเรียนรู้ ตัวชี้วัดของ

หลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถ นาไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตได้ครูมีนวัตกรรม ในการจัดการเรียนรู้และครูบางส่วนมีการเผยแพร่ ครูใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่ง
เรียนรู้รวมท้ังภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาส ให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ครูมี
กระบวนการตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ใช้เครื่องมือ และวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม
กับเป้าหมายในการจดั การเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรยี นและนาผลมาพัฒนา ผู้เรียน ครูมีการบริหารจัดการช้ัน
เรียนเชิงบวก เด็กรักท่ีจะเรียนรู้ และเรียนรู้ร่วมกัน อย่างมีความสุข ครูจัดทาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพมีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลับเพื่อพฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้

๒๘

ขอ้ มูลหลักฐานและเอกสารเชงิ ประจกั ษ์สนบั สนนุ
๑. ครูทุกคนจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ มากกว่าเน้ือหาวิชา โดย

ร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตร จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา
โดยจัดกระบวนการ เรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน การสอน แบบสะเต็ม
ศกึ ษา เปน็ ต้น และครูรอ้ ยละ ๕๐ มกี ารจัดทาวจิ ยั ในชนั้ เรยี น เพ่ือพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน

๒. ครูร้อยละ ๘๐ สามารถผลติ และใช้สอื่ การสอนที่สอดคล้องกับกิจกรรม การเรียนรู้ในกล่มุ สาระการ สอน
โดยส่ือการสอนท่ีใช้ ประกอบด้วย ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกทักษะ บัตรภาพ บัตรคา และเกมต่าง ๆ เป็นต้น
นอกจากน้ี ครูของสถานศึกษาทกุ คนจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรูเ้ พื่อเพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรยี น ได้เรยี นรู้จาก
แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ครูทุกคนต้องมีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนจัด
ทาการศึกษาค้นคว้าจากศูนย์ข้อมูล สารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
สถานศกึ ษาเชน่ หอ้ งสมุด ปา้ ยนิเทศหน้าอาคาร หรอื หนา้ ช้นั เรียน แผ่นปา้ ยความรู้ ต้นไม้พูดไดส้ วนเกษตร เปน็ ตน้

๓. ครูทุกคนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนท่ีเป็นระบบ จัดทาเอกสาร ในช้ันเรียนอย่างถูกต้องและครบถ้วน
มีการวิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล และนาผลการไปออกแบบการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ
ความสามารถ ความต้องการและสภาพบริบทของนักเรียน มีการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็น ระบบ โดยมีการ
ตดิ ตอ่ สือ่ สารกบั ผู้ปกครองนกั เรยี นในหลายชอ่ งทาง คือ ทางโทรศัพท์ ทาง Facebook การจดั ตัง้ กลมุ่ Line และการ
ประชุมผู้ปกครอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับนักเรียนอย่างต่อเน่ือง นอกจากน้ีมีครูทุกคน ต้องดาเนินการ
เย่ียมบ้านนักเรียนในความรบั ผดิ ชอบปีการศึกษาละ ๑ คร้งั แล้วจดั ทาขอ้ มลู พ้นื ฐานของนกั เรียนเป็นรายบุคคล

๔. ครูทุกคนมีการออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน อย่างเป็นระบบ แบ่งสัดส่วนของ
ประเมินผลก่อนกลางภาค กลางภาค และ ปลายภาคแล้วส่งแผนการวัดประเมินผลต่อฝ่ายวิชาการ ครูร้อยละ ๑๐๐
ใช้เคร่ืองมือวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับการประเมิน (A, P, K) และให้ข้อมูล ย้อนกลับแก่ผู้เรียน เพื่อให้
นักเรียนจดั ทาแฟ้มสะสมงาน มกี ารแจ้งผลการประเมิน ใหผ้ ู้ปกครองทราบ เพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายการเรยี นรู้

๕. ครูทุกคนรวมกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้กันเก่ียวกับปัญหาที่
เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ท่ีรับผิดชอบ พัฒนาส่ือ/นวัตกรรมและแนว
ทางการแก้ปญั หา จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ สังเกตการสอน และสะทอ้ นผลการสังเกตการสอน ร่วมกันในวันศุกร์
วันละ ๑ ชัว่ โมง มีการนเิ ทศ กากับ ติดตามการจัดการเรียนการสอนจากผู้บริหาร ภาคเรยี นละ ๒ คร้งั นอกจากน้คี รู
ทุกคนได้รับการพัฒนาความรู้ที่ตรงกับความต้องการของตนเองและสถานศึกษา และนาความรู้ท่ีได้รับมาใช้ในการ
พฒั นาการจดั การเรยี นการสอนตอ่ ไป

จุดเดน่
๑. ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามคี วามตั้งใจ มุงมั่นในการพฒั นาการสอนเพิ่มยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการ

เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ และชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 (O-net) และ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๓ ( NT)
๒. ครูผู้สอนทุกคนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี สร้างกระบวนการเรียนรู้ในชั้นเรียนให้น่าสนใจด้วยแรงกระตุ้น

การบูรณาการด้วยสื่อ และสารสนเทศท่ีทันสมัย การส่งเสริมการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ภายใน
หอ้ งเรียน และนอกหอ้ งเรยี น ด้วยบรรยากาศในห้องเรียน มกี ารจดั มุมหนงั สือ มมุ สอ่ื มุมโชว์ผลงานผูเ้ รยี น ห้องเรยี น
มคี วามสะอาด เรยี บร้อย ปลอดภัย

๓. ครทู ุกคนมีการออกแบบการวดั และประเมินผลการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น อยา่ งเป็นระบบ แบง่ สดั ส่วนของ
ประเมินผลก่อนกลางภาค กลางภาค และ ปลายภาคแล้วส่งแผนการวัดประเมนิ ผลตอ่ ฝ่ายวิชาการ ครรู อ้ ยละ ๑๐๐
ใชเ้ ครื่องมือวดั และประเมินผลทเี่ หมาะสมกบั การประเมิน (A, P, K) และใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับแก่ผ้เู รยี น เพ่ือให้นักเรียน
จดั ทาแฟ้มสะสมงาน มกี ารแจ้งผลการประเมิน ให้ผปู้ กครองทราบ เพ่ือให้บรรลเุ ป้าหมายการเรยี นรู้

๒๙

จดุ ควรพฒั นา
๑. การสงเสรมิ การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ (Active Learning) โดยจดั การเรียนรูผาน

กระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ เนนการใชสื่อ เทคโนโลยี เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน
๒. การเรียนรู Digital และใช Digital เปน็ เครือ่ งมอื การศึกษาเรยี นรู เพ่อื พฒั นาการเรียนการสอน
๓. การจดั การเรยี นรูแบบบูรณาการทห่ี ลากหลาย ทีเ่ ช่ือมโยงส่พู ื้นฐานอาชพี และการมงี านทาในอนาคต
๔. สงเสรมิ ความมวี นิ ัยของผู้เรยี น ดา้ นพฤติกรรมการรักษาความสะอาด เพอื่ การนาไปใชในชีวิตประจาวนั

ขอ้ เสนอแนะ
๑. จดั การเรยี นการสอนด้วยวิธีการท่หี ลากหลาย โดยเนนทักษะอาชพี เพอื่ เป็นพื้นฐานในการศกึ ษาต่อและ

อาชพี ในอนาคต
๒. สงเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาจัดการเรียนการสอนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาใน

ศตวรรษที่ ๒๑ เนนกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ
๓. สงเสริมการเรียนรูภาษาไทย เพื่อเปน็ พน้ื ฐานในการเรียนรูวชิ าอื่น
๔. จัดสภาพแวดลอมทัง้ ภายในและภายนอกหองเรยี นใหเอ้อื ตอการเรียนการสอน โดยจดั หองเรยี นคณุ ภาพ

เพื่อการสรา้ งโอกาสทางการศึกษา
๕. สงเสริมการมีวินัย ด้านพฤติกรรมการดูแลรักษาความสะอาด ท้ังภายในและภายนอกหองเรียนและ

นาไปใชในชีวิตประจาวันได้

แนวทางพฒั นาคุณภาพใหด้ ีขึน้ กว่าเดิม
๑. จัดกจิ กรรมการเรียนรูน้ อกสถานท่ี

๓๐

ภาคผนวก

๓๑

ความเหน็ ชอบและรบั รองผลการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศกึ ษา

โดยทีม่ ปี ระกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ.256๑ ลงวันท่ี ๒๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๑
ได้กาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ให้สถานศึกษาจัดทารายงานผลการประเมิน
ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ตามาตรฐานของสถานศึกษา นาเสนอรายงานผลการประเมินตนเองต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานให้ความเห็นชอบ และจัดส่งรายงานดังกล่าวต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เป็นประจาทกุ ปี

จากการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และคณะครู โรงเรียนบ้านท่าสว่าง คร้ังท่ี3
/2564 เมื่อวันท่ี 9 เมษายน 256๔ ท่ีประชุมได้ดาเนินการพิจารณา ตรวจสอบข้อมูลผลการประเมินคุณภาพ
ภายใน ตามมาตรฐานของสถานศึกษา โดยมติที่ประชุมได้พิจารณาให้ความเห็นชอบและรับรองรายงานผลการ
ประเมินตนเอง ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 256๓ โรงเรียนบ้านท่าสว่าง เพ่ือเป็น
เอกสารหลักฐานข้อมูลในการรายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัด เผยแพร่ต่อสาธารณชน ผู้มีส่วนเก่ียวข้อง เป็นเอกสาร
หลักฐานข้อมูลในการประเมินคุณภาพภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องคก์ ารมหาชน) และนาไปวางแผนในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาต่อไป

( นายถาวร โพธ์ิขาว )
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

โรงเรยี นบา้ นบ้านท่าสวา่ ง
วนั ที่ 9 เดือน เมษายน พ.ศ. 256๔

๓๒

ประกาศโรงเรียนบา้ นท่าสว่าง

เรื่อง ประกาศแต่งตัง้ คณะกรรมการประเมนิ ผลและติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษา

ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓

..............................................................................................

อาศัยอานาจตามความในขอ้ ๕ วรรคหนึ่ง พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ซ่ึงแกไ้ ข

เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติ

การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวง การประกันคุณภาพ

การศึกษา ๒๕๖๑ กาหนดให้มกี ารประเมนิ ผลและติดตามตรวจสอบคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาท่ีสถานศึกษาจัดข้ึน เพ่ือให้เกิดการพัฒนา

และสร้างความเช่ือม่ันให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่า สถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมี

คุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย โรงเรียน

บ้านท่าสว่าง จึงประกาศแต่งต้ังคณะกรรมการติดตามตรวจสอบระบบประกันคุณภาพและประเมินคุณภาพภายใน

สถานศกึ ษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ดังน้ี

๑. นายจนิ ดา ศรีรวฒั น์ ผ้อู านวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

๒. นางสาวสรุ ตั ยิ า ปานจนั ดี รองผ้อู านวยการโรงเรียน รองประธาน

๓. นางนันทิยา ศรีรวฒั น์ ผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการ

๔. นางอสิ ราภรณ์ แกว้ คาสอน ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการ

๕. นายดิเรก บุญเร่มิ ครโู รงเรยี นบา้ นทา่ สวา่ ง กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการท่ีได้รับการแต่งต้ัง มีหน้าท่ี ตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และประเมนิ คุณภาพ
ภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอยา่ งน้อยปีละ ๑ ครัง้ เพื่อนาผลการตดิ ตาม ตรวจสอบคณุ ภาพ
การศกึ ษาไปใช้ประโยชน์ในการปรบั ปรุงพัฒนาสถานศกึ ษาต่อไป และสรปุ ผลการรายงานผลการประเมินคณุ ภาพ
ภายในตามมาตรฐานฐานภายของสถานศกึ ษา ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

ให้คณะกรรมการท่ไี ดร้ ับการแต่งตัง้ ปฏิบัตหิ น้าทที่ ่ไี ดร้ ับมอบหมายใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย
มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงประโยชน์ของทางราชการเป็นสาคญั

ท้งั นี้ ตั้งแตบ่ ดั นี้เปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี 15 เดอื น มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายจินดา ศรรี วัฒน์)
ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นทา่ สวา่ ง

๓๓

คาสง่ั โรงเรียนบ้านทา่ สวา่ ง

ที่ ๑๖ / 256๔

เร่อื ง แต่งต้งั คณะกรรมการจัดทารายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ประจาปีการศกึ ษา 2563

………………………………………..

อาศยั อานาจตามความในขอ้ ๕ วรรคหนงึ่ พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ซ่งึ แก้ไข

เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวง การประกันคุณภาพ
การศกึ ษา ๒๕๖๑ ลงวนั ท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ไดก้ าหนดระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการประกันคณุ ภาพการศึกษา
ให้สถานศึกษาจัดทารายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานของสถานศึกษา

นาเสนอรายงานผลการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการรสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ความเห็นชอบ และจัดส่งรายงาน
ดังกล่าวต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นประจาทุกปี และเปิดเผยให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องและผู้ปกครอง ชุมชนได้
รับทราบ และรองรับการประเมินภายนอก เพ่ือให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โรงเรียนจึงแต่งต้ังคณะกรรมการจัดทาผล

การประเมนิ ตนเอง ดังน้ี ผอู้ านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
1. นายจินดา ศรีรวัฒน์ รองผอู้ านวยการโรงเรยี น รองประธานกรรมการ
2. นางสาวสุรตั ิยา ปานจนั ดี

3. นายดเิ รก บุญเริ่ม ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

4. นายบรรจง ยาตรา ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ
5. นางสาววิไลวรรณ บัวแก้ว ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ
6. นางพรชนก ชมุ คา ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

7. นายชยั วฒั น์ ทบเทบิ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ
8. นายกฤตเมธ เพง็ กระจ่าง ครูชานาญการ กรรมการ
9. นางปรยี าภรณ์ ห่วงเพชร ครู กรรมการ

10.นางสาวสภุ าวดี พรานัก ครูอตั ราจา้ ง กรรมการ
11.นางสาวลดั ดา วงคล์ ะคร ครูพเ่ี ล้ียงเด็ก กรรมการ
12.นางสาวจีระนันท์ เสนาพันธ์ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร

ทั้งนี้ขอให้บุคลากรที่ได้รับแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเคร่งครัด เพ่ือให้เกิดความเรียบร้อยตามวัตถุประสงค์
และเกิดผลดตี อ่ ทางราชการตอ่ ไป

ส่ัง ณ วันท่ี 15 มีนาคม พ.ศ. 256๔

(นายจนิ ดา ศรรี วฒั น์)
ผอู้ านวยโรงเรียนบา้ นท่าสว่าง

๓๔

การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
โรงเรียนบ้านทา่ สว่าง

สภาพบรบิ ทโรงเรยี น
โรงเรียนบ้านท่าสว่าง ต้ังอยู่ท่ี หมู่ที่ ๒ ตาบลโนนสาราญ อาเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ เปิดสอน

ระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีนักเรียนระดับช้ันอนุบาลปีที่ ๒ – ๓ จานวน ๔๙ คน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ จานวน 355 คน รวมนักเรียนท้ังหมด 404 คน
ข้าราชการครูท้ังหมด 21 คน ผู้บริหาร ๒ คน ผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณีท้องถิ่น
ได้แก่ ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา งานสงกรานต์ และงานวันลอยกระทง ผู้ปกครองนักเรียนประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมรอ้ ยละ 60 ค้าขายร้อยละ ๒๕ รบั จา้ งร้อยละ ๑0 อาชีพอ่ืน ๆ ร้อยละ ๕ นับถอื ศาสนาพุทธรอ้ ยละ ๙๙
นักเรียนระดับอนุบาลทุกคนเป็นเด็กในหมู่บ้านท้ังหมดและหมู่บ้านใกล้เคียง ความต้องการของผู้ปกครองส่วนใหญ่
คือ นักเรียนจบการศึกษาอย่างมีคุณภาพ อนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถ่ิน รู้ทันการใช้เทคโนโลยีที่เข้ามาสู่ชุมชนอย่าง
รวดเร็ว รู้จักการใช้ชวี ิตอย่างพอเพยี ง

วิสัยทศั น์(Vision)
“ภายในปี ๒๕๖๔ โรงเรยี นบา้ นบ้านทา่ สว่าง จดั การศกึ ษาภาคบังคบั โดยความรว่ มมอื ของชุมชน

พัฒนานกั เรยี นให้มคี ุณภาพ มีทกั ษะและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพยี ง”

พันธกจิ (Misson)
๑. จัดการเรยี นรเู้ พอื่ พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา
๒. สง่ เสรมิ อนรุ กั ษ์ วฒั นธรรมไทย สืบสานประเพณที ้องถ่นิ
๓. พัฒนาสื่อเทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศกึ ษา
๔. สง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๕. สรา้ งภาคีเครือขา่ ยเพอื่ สนบั สนนุ การจดั การศึกษา

อตั ลกั ษณ์ ระเบียบวนิ ัย

เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา ลูกเสอื เนตรนารี

เปา้ ประสงค(์ Goals)
ด้านผเู้ รียน

๑. ผ้เู รียนมีความรแู้ ละทักษะท่ีจาเปน็ ตามหลกั สตู รการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
๒. ผเู้ รยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
๓. ผเู้ รยี นมีทักษะชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ด้านคณุ ภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
๑. ครูมคี วามสามารถในการจดั การเรยี นรู้ และจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชพี
๒. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีการพฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง

ดา้ นคุณภาพบริหารการจัดการ
๑. โรงเรียนมีระบบบรหิ ารการจัดการศึกษาที่มีประสทิ ธิภาพท่ีดีตามหลักธรรมาภิบาล
๒. โรงเรยี นมีระบบเครอื ข่ายรว่ มมือกับชมุ ชนในการพฒั นาการจัดการศึกษาอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

๓๕

กลยุทธ์(Strategy)
กลยุทธ์ข้อท่ี ๑ พัฒนาคุณภาพผู้เรยี นทุกระดับตามมาตรฐานการศึกษา สง่ เสริมความสามารถดา้ นเทคโนโลยี
กลยทุ ธข์ อ้ ที่ ๒ เพม่ิ ศักยภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผ้เู รยี น

เป็นสาคญั
กลยทุ ธ์ข้อที่ ๓ ส่งเสริมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ข้อท่ี ๔ พฒั นาประสิทธภิ าพการบริหารการจดั การศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาล เน้นการมสี ่วนร่วมจากทุก

ภาคส่วน
กลยุทธข์ อ้ ท่ี ๕ สง่ เสริมและอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทย สืบสานประเพณที ้องถิ่นโดยบูรณาการในการจดั การเรยี นรู้

จดุ เนน้
๑. เด็กปฐมวัยมีร่างกายเจริญเติบโตแข็งแรง สมกับวัย จิตใจดีงาม สนใจใฝ่รู้สู่ทักษะการคิดและใช้

ชีวติ พ้ืนฐาน
๒. พัฒนาผลการเรียนรู้เฉลี่ย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ เป็นเป้าหมายในการจัดการศกึ ษาท่ีควบคู่ไปกับการสร้างเสริม
ความร้แู ละทกั ษะด้านอื่น ๆ

๓. เพิ่มศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคญั ตามจรรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชพี

๔. เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารการจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล เน้นการมี
สว่ นรว่ มจากทกุ ภาคส่วน

๓๖

ประกาศ โรงเรียนบา้ นท่าสว่าง
เรือ่ ง มาตรฐานการศกึ ษา และเปา้ หมายความสาเรจ็ ตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวยั และระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน
......................................................................................................................
ตามที่กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ขอ้ ๑ ระบใุ ห้สถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่
จัดใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา โดยกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้
เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการประกาศไว้ ทั้งนี้
เพื่อสร้างความม่ันใจและความพึงพอใจในการจัดการศึกษานั้น และอาศัยอานาจตามความในมาตรา 9 (3) มาตรา
48 แหง่ พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทีแ่ ก่ไชเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 กฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษาระดับ
ปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ประกอบกับมติ
คณะกรรมการการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานโรงเรยี นบ้านทา่ สว่างในการประชมุ คร้ังท่ี 3/2564 เมือ่ วนั ที่ 18 มนี าคม
พ.ศ. 2564 โรงเรียนบ้านท่าสว่าง จึงประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพ่ือใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการส่งเสริมและกากับดูแลในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การตรวจสอบ
การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา ตามเอกสารแนบท้ายฉบับนี้ ทั้งน้ีตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๓
เปน็ ตน้ ไป จนกว่าจะมกี ารเปล่ียนแปลงในเวลาท่ีเหมาะสมต่อไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2564

(นายจนิ ดา ศรีรวัฒน์)
ผอู้ า,นวยการโรงเรียนบ้านทา่ สวา่ ง

๓๗

เอกสารแนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นบ้านท่าสวา่ ง
ค่าเปา้ หมายความสาเร็จรายการตามประเดน็ พิจารณาในมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

ทสี่ อดคล้องกบั ประเดน็ พิจารณาตามมาตรฐานการศึกษา : ระดบั ปฐมวัย
.............................................................................................

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเดก็
จานวน 4 ประเด็นพิจารณา ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ (4)

1.1 เดก็ มีการพัฒนาด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มีสขุ นสิ ยั ทีด่ ี และดแู ลความปลอดภัยของ ตนเองได้
1) เดก็ รอ้ ยละ ๙๐ ขึน้ ไป มีน้าหนกั และส่วนสงู ตามเกณฑ์อนามัย กระทรวงสาธารณสุข
2) เดก็ รอ้ ยละ ๙๐ มสี ขุ ภาพอนามยั และนสิ ยั ที่ดี
3) เด็กรอ้ ยละ ๙๐ ทากจิ กรรม ไดอ้ ย่างปลอดภัยท้ังตวั เองและผูอ้ ื่น
4) เด็กรอ้ ยละ ๙๐ สามารถเคลือ่ นไหวรา่ งกายอย่างคล่องแคลว่ ประสานสัมพันธแ์ ละทรงตวั ได้

1.2 เด็กมีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
1) เดก็ รอ้ ยละ ๙๐ สามารถแสดงอารมณ์ ความรู้สึก ไดส้ อดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสมตามวยั
2) เดก็ ร้อยละ ๙๐ กล้าพดู กล้าแสดงออกได้อยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์
3) เด็กร้อยละ 90 สนใจ มคี วามสขุ และแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลงจังหวะ และดนตรไี ด้
1.3 มีพฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสังคม
1) เดก็ รอ้ ยละ ๙๐ มีความเมตตา กรุณา มนี า้ ใจ ชว่ ยเหลอื และแบง่ ปนั
2) เดก็ ร้อยละ 90 สามารถทางานทไี่ ดร้ ับมอบหมายจนสาเรจ็ ไดด้ ้วยตนเอง
3) เดก็ รอ้ ยละ ๙๐ สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจาวันไดเ้ หมาะสม
4) เดก็ ร้อยละ ๙๐ มวี นิ ัยในตนเอง เก็บของเล่น ของใช้เขา้ ที่อยา่ งเรียบร้อยดว้ ยตนเอง
5) เด็กรอ้ ยละ 90 ใชส้ ่ิงของเครือ่ งใช้อย่างประหยดั และพอเพียงดว้ ยตนเอง
6) เดก็ รอ้ ยละ 90 สามารถดูแลรกั ษาธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม และทิ้งขยะได้ถูกท่ีได้ด้วยตนเอง
7) เด็กร้อยละ 90 สามารถปฏบิ ัตติ นตามมารยาทไทยได้ตามกาลเทศะ
8) เด็กรอ้ ยละ 90 สามารถเลน่ หรือทางานร่วมมือกับเพื่อนได้
9) เดก็ รอ้ ยละ ๙๐ สามารถทักทาย พดู คยุ กบั ผู้ใหญ่และบุคคลทค่ี นุ้ เคยได้อยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์
10) เดก็ รอ้ ยละ ๙๐ สามารถปฏิบตั ติ นตามข้อตกลงได้
11) เดก็ รอ้ ยละ ๙๐ สามารถปฏิบตั ิตนเปน็ ผนู้ าและผู้ตามไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์
1.4 เด็กมีพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา สื่อสารได้ มีทกั ษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้
1) เดก็ รอ้ ยละ ๘0 สามารถฟัง และสนทนาโตต้ อบ และเลา่ เป็นเรอ่ื งราวได้
2) เด็กรอ้ ยละ 80 สามารถจับคู่ เปรียบเทยี บ จาแนก จัดกลุ่ม เรยี งลาดับเหตุการณ์ได้
3) เด็กรอ้ ยละ ๘๐ สามารถอธบิ าย เชอื่ มโยงสาเหตุ และผลท่ีเกิดข้นึ ในสถานการณ์หรอื การกระทาได้
4) เดก็ ร้อยละ ๘๐ สามารถระบปุ ญั หา สร้างทางเลอื ก และเลอื กวธิ แี ก้ปัญหาได้
5) เด็กรอ้ ยละ ๘๐ สามารถค้นหาคาตอบของข้อสงสยั โดยใชว้ ิธีการท่ีหลากหลายดว้ ยตนเอง

วธิ คี านวณ *** ผลการประเมนิ (ร้อยละ) = 100 x จานวนเด็กผา่ นเกณฑ์ทโี่ รงเรยี นกาหนด
จานวนเด็กทั้งหมด

แปลผลการประเมินคณุ ภาพท่ไี ด้
ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเยยี่ ม ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ดีเลศิ รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดี
รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง ตา่ กว่ารอ้ ยละ ๕๐.00 = กาลงั พัฒนา

๓๘

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
จานวน 6 ประเดน็ พิจารณา ระดับคณุ ภาพดเี ลิศ (๔)

2.1 มหี ลกั สูตรครอบคลมุ พัฒนาการทงั้ ๔ ดา้ น สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถน่ิ

1) สถานศกึ ษามหี ลกั สตู รสถานศกึ ษาที่ยืดหย่นุ และสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั
2) สถานศึกษาออกแบบการจัดประสบการณ์ทเ่ี ตรียมความพร้อมและไม่เร่งรดั วิชาการ
๓) สถานศกึ ษาออกแบบการจัดประสบการณ์ทีเ่ นน้ การเรียนรผู้ ่านการเล่น และการลงมือปฏิบัติ (Active
learning)
๔) สถานศึกษาออกแบบการจัดประสบการณ์ทีต่ อบสนองความตอ้ งการและความแตกต่างของเด็กปกติและ
กลมุ่ เป้าหมายเฉพาะทสี่ อดคล้องกับวถิ ชี วี ติ ของครอบครัว ชมุ ชนและท้องถิน่
5) มกี ารประเมนิ ตรวจสอบ และปรับปรงุ / พฒั นาหลักสูตรอยา่ งต่อเน่ือง

2.2 การจดั ครูใหเ้ พียงพอกับช้ันเรยี น

1) จัดครคู รบชัน้ เรียน
2) จดั ครูใหม้ ีความเหมาะสมกับภารกจิ การจัดประสบการณ์
๓) จัดครไู ม่จบการศึกษาปฐมวยั แต่ผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย
๔) จดั ครจู บการศึกษาปฐมวยั
5) จัดครจู บการศึกษาปฐมวยั และผา่ นการอบรมการศึกษาปฐมวัย

2.3 การสง่ เสรมิ ให้ครมู คี วามเชี่ยวชาญด้านการจดั ประสบการณ์

1) มีการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลกั สตู รสถานศึกษา
๒) ส่งเสริมครูใหม้ ที ักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพฒั นาการเด็ก
3) สง่ เสริมครูใช้ประสบการณ์สาคญั ในการออกแบบการจดั กจิ กรรม จัดกจิ กรรม สังเกตและประเมิน
พัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล
4) สง่ เสริมใหค้ รมู ีปฏิสมั พันธท์ ่ีดกี ับเด็กและครอบครวั
๕) ส่งเสริมใหค้ รพู ัฒนาการจัดประสบการณ์โดยใช้ชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี (PLC)

2.4 การจัดสภาพแวดลอ้ ม และสื่อเพอื่ การเรียนรูอ้ ยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ

1) จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนท่ีคานงึ ถึงความปลอดภยั
๒) จดั สภาพแวดลอ้ มภายนอกห้องเรยี นท่ีคานึงถงึ ความปลอดภยั
3) สง่ เสริมให้เกดิ การเรียนรู้ที่เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบร่วมมอื รว่ มใจ
4) จัดให้มมี ุมประสบการณ์หลากหลาย มีส่ือการเรยี นรู้ ท่ีปลอดภยั และเพยี งพอ เช่น ของเล่น หนังสอื นทิ าน
ส่ือจากธรรมชาติ สอื่ สาหรบั เด็กมดุ ลอด ปนี ป่าย สื่อเทคโนโลยีการสบื เสาะหาความรู้
๕) จดั หอ้ งประกอบทีเ่ ออื้ ต่อการจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก

2.5 ใหบ้ รกิ ารส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และส่ือการเรยี นร้เู พ่ือสนบั สนุนการจัดประสบการณ์

1) อานวยความสะดวกและใหบ้ ริการส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ วสั ดุ อุปกรณแ์ ละส่ือการเรยี นรู้
2) พฒั นาครใู ห้มคี วามรู้ความสามารถในการผลิตและใช้สือ่ ในการจัดประสบการณ์
๓) มีการนเิ ทศติดตามการใช้สื่อในการจัดประสบการณ์
4) มกี ารนาผลการนเิ ทศตดิ ตามการใช้ส่อื มาใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการพัฒนา
5) สง่ เสริม สนับสนนุ การเผยแพร่การพฒั นาสอื่ และนวตั กรรมเพอื่ การจัดประสบการณ์

๓๙

2.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพท่เี ปิดโอกาสใหผ้ เู้ กี่ยวข้องทุกฝา่ ยมสี ่วนร่วม

1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาทสี่ อดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัยและอัตลักษณ์ของ
สถานศึกษา
2) สถานศึกษาจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาทีส่ อดรบั กับมาตรฐานท่สี ถานศึกษากาหนดและดาเนินการตามแผน
3) สถานศกึ ษามีการประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
๔) สถานศกึ ษามีการติดตามผลการดาเนนิ งาน และจดั ทารายงานผล การประเมนิ ตนเองประจาปี และรายงาน
ผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกดั
5) สถานศึกษานาผลการประเมินไปปรับปรงุ และพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา โดยผปู้ กครองและผู้เกยี่ วขอ้ งทกุ
ฝ่ายมสี ่วนร่วม

หมายเหตุ : *** คา่ เป้าหมาย = จานวนข้อการปฏบิ ัติในแตล่ ะประเด็นพิจารณา

แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพทไี่ ด้ ค่าเฉลยี่ ผลการประเมนิ คุณภาพทไี่ ด้
ปฏบิ ตั ิ ๑ ข้อ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ก้าลังพฒั นา 1.00 – 1.49 ระดับคณุ ภาพ กาลงั พัฒนา
ปฏิบตั ิ ๒ ขอ้ ได้ระดบั คณุ ภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดบั คณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏิบัติ ๓ ขอ้ ได้ระดับคณุ ภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดบั คณุ ภาพ ดี
ปฏิบัติ ๔ ขอ้ ได้ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ 3.50 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ

ปฏิบัติ ๕ ขอ้ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม

มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเนน้ เด็กเป็นสาคัญ
จานวน 4 ประเดน็ พจิ ารณา ระดับคุณภาพดีเลศิ (๔)

3.1 จัดประสบการณท์ ่ีส่งเสริมให้เด็กมพี ัฒนาการทุกด้านอย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ
1) ครูวิเคราะหข์ ้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล
2) ครจู ัดทาแผนการจัดประสบการณ์จากการวิเคราะหม์ าตรฐานคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ในหลกั สูตร

สถานศกึ ษา
๓) ครูจดั กจิ กรรมท่ีส่งเสรมิ พัฒนาการของเดก็ ครบทุกดา้ นทัง้ ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นอารมณ์ จิตใจ

ดา้ นสังคม และด้านสตปิ ัญญา ไมเ่ นน้ การพฒั นาด้านใดด้านหน่ึงเพียงดา้ นเดียว
3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รบั ประสบการณ์ตรงเล่นและปฏบิ ตั ิอย่างมีความสขุ
1) ครูจัดประสบการณท์ เ่ี ช่ือมโยงกบั ประสบการณ์เดิม
๒) ครูจดั กจิ กรรมใหเ้ ดก็ มีโอกาสเลอื กทากจิ กรรมอย่างอสิ ระตามความตอ้ งการ ความสนใจ ความสามารถ
ตอบสนองตอ่ วิธกี ารเรยี นรูข้ องเดก็ เปน็ รายบุคคล หลายรูปแบบจากแหล่งเรยี นรู้อย่างหลากหลาย
๓) ครูจดั ประสบการณ์ใหเ้ ด็กไดเ้ ลือกเลน่ เรยี นรู้ ลงมอื กระทา และสรา้ งองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง
3.3 จดั บรรยากาศทเี่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ใช้สอ่ื และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับวยั

1) ครจู ดั ห้องเรยี นให้สะอาด อากาศถา่ ยเท ปลอดภยั
๒) ครูจัดกิจกรรมให้มีพืน้ ท่ีแสดงผลงานเดก็ พ้นื ทสี่ าหรบั มมุ ประสบการณ์
๓) ครทู กุ คนใช้ส่อื เทคโนโลยี เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ แทบ็ เล็ตท่ีเหมาะสมกับกบั ช่วงอายุ ระยะความสนใจ
และวิถกี ารเรยี นรู้ของเดก็

๔๐

3.4 ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ไปปรับปรงุ การจดั
ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก
1) ครูมีการประเมนิ พฒั นาการเด็กจากกจิ กรรมและกจิ วัตรประจาวันดว้ ยเคร่ืองมอื และวิธกี ารที่หลากหลาย

และไมใ่ ช้แบบทดสอบ
2) ครมู กี ารวิเคราะห์ และประเมนิ พัฒนาการเด็ก โดยผปู้ กครองและผู้เกย่ี วข้องมีสว่ นรว่ ม
3) ครมู กี ารนาผลการประเมนิ ไปพฒั นาคณุ ภาพเด็ก อย่างเป็นระบบที่ต่อเน่ือง
4) นาผลการประเมนิ แลกเปลี่ยนเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชีพ

หมายเหตุ : วธิ คี านวณ *** ผลการประเมนิ (ร้อยละ) = 100 x จานวนครผู ่านเกณฑท์ ่โี รงเรียนกาหนด

จานวนครทู ้งั หมด
แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพที่ได้

รอ้ ยละ 90.00 – 100 = ยอดเยยี่ ม
รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลศิ
ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดี
ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง
ตา่ กวา่ รอ้ ยละ ๕๐.00 = กาลงั พัฒนา

๔๑

ค่าเป้าหมายความสาเร็จ
รายการตามประเด็นพิจารณาในมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ทีส่ อดคล้องกับประเดน็ พจิ ารณาตามมาตรฐานการศึกษา : ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน
จานวน 10 ประเดน็ พิจารณา ระดบั คณุ ภาพ ดี (4)
1.1 ประเด็นพจิ ารณาดา้ นผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รียน จานวนพิจารณา 6 ประเด็น
ระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ

1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
1) มคี วามสามารถการอ่าน การเขียน การสือ่ สาร การคิดคานวณ

1.1) นกั เรียนร้อยละ ๘๐ มที ักษะในการอ่านออกเสียง อ่านร้เู รอ่ื งในแต่ละระดับชัน้ อยู่ในระดบั ดีข้นึ ไปตาม
เกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด

1.๒) นักเรยี นร้อยละ ๘๐ มีทักษะเขยี นคา เขียนเร่อื ง ในแตล่ ะระดับชนั้ อยู่ในระดบั ดีขึ้นไป ตามเกณฑ์
สถานศกึ ษาท่ีกาหนด

1.๓) นกั เรยี นรอ้ ยละ ๘๐ มคี วามสามารถใช้ภาษาองั กฤษแนะนาตนเอง แนะนาสถานศึกษา และสนทนา
อยา่ งง่าย

1.๔) นกั เรียนร้อยละ ๗๕ มรี ะดบั ผลการเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์อย่ใู นระดับ 3 ขน้ึ ไปตามเปา้ หมายของ
สถานศกึ ษา
2) นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น และ
แก้ปัญหา

2.1) นักเรียนร้อยละ 80 มคี วามสามารถในการคิดจาแนกแยกแยะ ใครค่ รวญไตร่ตรองอย่างรอบคอบโดย
ใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สนิ ใจ ในแตล่ ะระดับชั้นอยใู่ นระดับดีขน้ึ ไปตามเกณฑส์ ถานศึกษาทีก่ าหนด

๒.๒) นักเรียนรอ้ ยละ 80 มีการอภิปรายแลกเปลยี่ นความคดิ เห็น ในแตล่ ะระดบั ช้นั อยู่ในระดบั ดขี ึ้นไป ตาม
เกณฑ์สถานศึกษาทกี่ าหนด

๒.๓) นกั เรียนร้อยละ 80 มีการแก้ปญั หาอยา่ งมเี หตผุ ลในแต่ละระดับชัน้ อยใู่ นระดบั ดีข้นึ ไปตามเกณฑ์
สถานศกึ ษาท่ีกาหนด
3) มีความสามารถสร้างนวตั กรรม

3.1) นักเรียนร้อยละ ๘๐ มคี วามรแู้ ละทกั ษะพ้นื ฐานในการทาโครงงาน/ผลงานประดิษฐใ์ หม่
3.2) นักเรยี นรอ้ ยละ ๘๐ มผี ลงานจากทาโครงงาน/ผลงานผลงานประดิษฐใ์ หม่ และสามารถอธิบาย
หลักการแนวคิด ขนั้ ตอนการทางาน และปัญหาอุปสรรคของการทางานได้

4) นกั เรยี นมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร
4.1) นักเรียนรอ้ ยละ 80 สามารถสบื คน้ ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และสรุปความดว้ ยตนเอง
4.2) นกั เรียนทุกคนผา่ นการประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียนดา้ นความสามารถการใชเ้ ทคโนโลยตี าม

เกณฑ์ประเมนิ ของสถานศึกษา

5) มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สตู ร
5.1) นกั เรียนรอ้ ยละ 80 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สูตรทงั้ 8 กลุ่มสาระการ เรยี นรู้ เฉล่ียระดบั 3

ขน้ึ ไป
5.2) ผลการสอบระดับชาติ O-NET,NT มีค่าเฉลี่ยสูงขน้ึ ร้อยละ 3 หรือนักเรียนมี ผลการทดสอบระดบั ชาติ

เฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 50

๔๒

6) มคี วามรทู้ ักษะพนื้ ฐานและเจตคติทดี่ ีต่องานอาชีพ
๖.๑) นักเรียนรอ้ ยละ ๙๐ มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐานและเจตคตทิ ีด่ ใี นการศึกษาต่อ
6.๒) นักเรียนร้อยละ ๙๐ มีความรูท้ ักษะพืน้ ฐาน มีเจตคติทดี่ ีในการจัดการ การทางานตอ่ งานอาชพี
1.๒ ประเดน็ พจิ ารณาด้านคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผู้เรียน จานวนพจิ ารณา 4 ประเด็น
ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ (๔)

1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
1) มีคุณลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามท่ีสถานศึกษากาหนด

1.1) นักเรียนร้อยละ 90 มีคุณธรรม มีพฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกาตามท่ี
สถานศกึ ษากาหนด

๑.๒) นักเรียนร้อยละ ๙๐ มคี ่านิยมและจติ สานกึ ตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและ
วัฒนธรรมอนั ดขี องสังคม
2) ภาคภมู ใิ จในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย

2.1) นักเรียนร้อยละ ๙๐ มคี วามภูมิใจในทอ้ งถ่ิน เหน็ คุณคา่ ของความเปน็ ไทยในการทากิจกรรมวันสาคญั
ตามวฒั นธรรมและประเพณีไทยที่โรงเรยี น และชมุ ชนจัดข้ึน

2.๒) นกั เรียนรอ้ ยละ ๙๐ มีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและประเพณีไทยเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรม
ทอ้ งถ่ินมคี วามภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเปน็ ไทย
3) ยอมรับทีจ่ ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและความหลากหลาย

๓.๑) นกั เรียนร้อยละ ๙๐ ปรบั ตัวอยู่ร่วมกบั พี่ เพอื่ น นอ้ ง ในโรงเรียน และคนอ่ืนอยา่ งมคี วามสขุ เขา้ ใจ ให้
เกียรตกิ ันไมท่ ะเลาะวิวาทในโรงเรียน ไมม่ คี วามขัดแย้งกบั ผูอ้ ่ืน

๓.๒) นกั เรียนร้อยละ ๙๐ เขา้ รว่ มกจิ กรรมส่งเสรมิ ประชาธิปไตยในโรงเรยี น
๓.๓) นกั เรียนรอ้ ยละ ๙๐ เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมของสถานศึกษาทกี่ าหนด
4) มสี ุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ ใจสงั คม
4.1 นกั เรียนร้อยละ 90 มีนา้ หนกั ส่วนสงู และมสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
4.2 นกั เรียนทุกคนไม่เกีย่ วขอ้ งกับยาเสพติด
4.3 นักเรียนทกุ คนมีสขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง และจิตใจท่ีดี แสดงออกอยา่ งเหมาะสมกับชว่ งวยั และ

ประพฤติตนตามสุขบญั ญัติ 10 ประการ

หมายเหตุ : วธิ ีคานวณ *** ผลการประเมนิ (รอ้ ยละ) = 100 x จานวนนักเรยี นผ่านเกณฑท์ โี่ รงเรยี นกาหนด

จานวนนักเรียนท้งั หมด
แปลผลการประเมินคณุ ภาพที่ได้

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเยย่ี ม
รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลศิ
ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดี
ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง
ต่ากว่าร้อยละ ๕๐.00 = กาลงั พัฒนา

๔๓

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
จานวน 6 ประเดน็ พิจารณา ระดับคุณภาพดีเลิศ (๔)

1. มีเปา้ หมายวสิ ัยทัศน์ และพันธกจิ ท่ีสถานศึกษากาหนดชดั เจน
1.1 กาหนดเป้าหมายทสี่ อดคล้องกับบริบทของสถานศกึ ษา ความตอ้ งการของชุมชน ท้องถ่ิน

วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาตินโยบายของรฐั บาลและต้นสงั กัด
1.2 กาหนดวิสัยทศั น์ และพนั ธกิจ ทส่ี อดคล้อง เช่ือมโยงกบั เป้าหมาย แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการศึกษา

แห่งชาติ นโยบายของรฐั บาลและต้นสงั กัด
1.3 กาหนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกิจทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสงั คม
1.4 นาเป้าหมาย วิสยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ผ่านความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น
1.5 นาเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจของโรงเรียนเผยแพรต่ ่อสาธารณชน

2. มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
2.1 มีการวางแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ
2.2 มกี ารนาแผนไปปฏบิ ัติ ตดิ ตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างตอ่ เนื่อง
2.3 มกี ารบริหารอัตรากาลงั ทรัพยากรทางการศกึ ษาจัดระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น และระบบการนเิ ทศ

ภายใน
2.4 สถานศกึ ษามีการนาขอ้ มลู มาใช้ในการพฒั นาสถานศึกษา
2.5 สถานศึกษาใหบ้ ุคลากรและผทู้ ีเกี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ยมีส่วนรว่ มในการวางแผน ปรบั ปรุง พฒั นา และรว่ ม

รับผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา
3. การดาเนินงานพฒั นาวชิ าการทีเ่ นน้ คุณภาพผูเ้ รียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย

3.1 บริหารจดั การเกีย่ วกับงานวิชาการ ในดา้ นการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา
3.2 บรหิ ารจัดการเกีย่ วกับงานวิชาการ ในด้านการพฒั นาหลักสูตรตามความต้องการของผูเ้ รยี น ที่
สอดคล้องกับบริบทของสถานศกึ ษา ชมุ ชน และทอ้ งถิ่น
3.3 บริหารจัดการเกยี่ วกับกิจกรรมเสรมิ หลักสตู รทเ่ี น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ นเชือ่ มโยงวถิ ีชวี ติ จรงิ
3.4 กาหนดหลกั สูตรสถานศึกษาครอบคลมุ การจัดการเรียนการสอนทุกกล่มุ เป้าหมาย
3.5 สถานศึกษามีการปรับปรงุ และพัฒนาหลักสูตรให้ทันตอ่ การเปล่ยี นแปลงของสังคม
4. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี
4.1 ส่งเสริม สนบั สนุน พฒั นาครู บุคลากร ใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี
4.2 จดั ใหม้ ีชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี
4.3 นาชุมชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพเขา้ มาใช้ในการพฒั นางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน
4.4 มกี ารตรวจสอบ ทบทวน การปฏบิ ัติงานของครู บุคลากร ทม่ี ผี ลต่อการเรยี นรูข้ องผู้เรียน
4.5 ถอดบทเรยี นเพอ่ื สร้างนวตั กรรมหรอื วิธกี ารท่ีเปน็ แบบอย่างที่ดที ่ีสง่ ผลต่อการเรียนรขู้ องผู้เรยี น
5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ อ้ือตอ่ การจดั การเรียนรู้
5.1 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายในห้องเรยี น ทีเ่ อ้อื ต่อการเรยี นรู้ และคานึงถงึ ความปลอดภัย
5.2 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพภายนอกห้องเรียน ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ และคานึงถึงความปลอดภยั
5.3 จดั สภาพแวดลอ้ มทีส่ ่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เป็นรายบคุ คล และเปน็ กลุ่ม
5.4 จัดสภาพแวดล้อมทางสงั คม ทีเ่ อ้อื ต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภยั
5.5 จัดให้ผเู้ รยี นได้ใช้ประโยชนจ์ ากการจดั สภาพแวดล้อมตามศกั ยภาพของผเู้ รยี น
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรกิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้
6.1 ได้ศึกษาความต้องการเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีเหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา

๔๔

6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นร้ทู เ่ี หมาะสมกบั สภาพของ
สถานศึกษา

6.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ที่เหมาะสมกบั สภาพของ
สถานศึกษา

6.4 ใหบ้ ริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใช้ในการบริการจัดการและการจดั การเรียนร้ทู เ่ี หมาะสมกับ
สภาพของสถานศึกษา

6.5 ตดิ ตามผลการใชบ้ ริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศกึ ษาเพื่อใชใ้ นการบรกิ ารจดั การและ
การจัดการเรียนรูท้ ่ีเหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

หมายเหตุ : *** คา่ เปา้ หมาย = จานวนข้อการปฏิบัตใิ นแตล่ ะประเด็นพจิ ารณา

แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพทไ่ี ด้ คา่ เฉล่ยี ผลการประเมนิ คณุ ภาพทไี่ ด้
ปฏิบัติ ๑ ขอ้ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ก้าลังพฒั นา 1.00 – 1.49 ระดับคณุ ภาพ กาลังพัฒนา
ปฏิบัติ ๒ ขอ้ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดบั คณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏิบตั ิ ๓ ขอ้ ได้ระดบั คณุ ภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดับคณุ ภาพ ดี
ปฏบิ ตั ิ ๔ ขอ้ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ 3.50 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ
4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม
ปฏิบัติ ๕ ขอ้ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสาคญั
จานวน 5 ประเดน็ พิจารณา ระดับคณุ ภาพดีเลศิ (4)

๑. จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และการปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้
๑.1 ครผู ูส้ อนทุกคน จดั กิจกรรมการเรยี นร้ตู ามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัดของหลักสูตรสถานศึกษาทเี่ นน้

ให้ผเู้ รียนได้เรยี นรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง
1.2 ครูผู้สอนทุกคน มีแผนการจัดการเรียนรู้ทีส่ ามารถนาไปจัดกจิ กรรมไดจ้ ริง
1.3 ครผู ู้สอนทุกคนมรี ูปแบบการจดั การเรียนรู้เฉพาะสาหรับผ้ทู ีม่ ีความจาเป็น และต้องการความชว่ ยเหลือ

พเิ ศษ
1.4 ครผู สู้ อนทุกคนฝึกทักษะใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สดงออก แสดงความคิดเหน็ สรปุ องค์ความรู้ และนาเสนอ

ผลงาน
1.5 ครผู ู้สอนทุกคนสามารถจดั กิจกรรมการเรียนรู้ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้

2. ครูใชส้ อื่ เทคโนโลยี แหลง่ เรยี นร้ภู ูมิปญั ญาท้องถ่นิ มาใช้ในการจดั การเรยี นรู้และให้นักเรียนไดใ้ ชใ้ นการ
แสวงหาความรู้

๒.1 ครูผูส้ อนทุกคนใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดการเรยี นรู้
๒.2 ครูผูส้ อนทกุ คนใชแ้ หลง่ เรียนรู้ และภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ในการจัดการเรยี นรู้
๒.3 ครูผู้สอนทุกคนสรา้ งโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนไดแ้ สวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อทหี่ ลากหลาย

3. ครบู รหิ ารจดั การเชงิ บวก นกั เรียนรกั ท่จี ะเรยี นรู้และเรียนร้รู ่วมกนั อย่างมคี วามสุข
3..1 ครผู สู้ อนร้อยละ 90 มีการบรหิ ารจดั การช้ันเรยี น โดยเน้นการการมีปฏสิ มั พนั ธเ์ ชิงบวกใหเ้ ด็กรกั ครู

ครูรกั เดก็ และเด็กรกั เด็ก เดก็ รกั ที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้รว่ มกนั อย่างมีความสุข
3.2 ครูผู้สอนทุกคนจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในชัน้ เรยี นเอือ้ ต่อการเรียนรู้ของผ้เู รยี น
3.3 ครผู ู้สอนทุกคนมีพฤตกิ รรมการสอนทสี่ ร้างบรรยากาศอยากรู้อยากเรยี นใหก้ ับผู้เรียน และผเู้ รยี นมี

ความสุขในการเรยี นรู้

๔๕

4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รียน
4.1 ครผู สู้ อนทกุ คนมีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรยี นรูอ้ ยา่ งเป็นระบบ
4.2 ครผู ูส้ อนทุกคนมีข้นั ตอนโดยใช้เครอ่ื งมือและวธิ ีการวดั และประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกบั เปา้ หมายในการ

จัดการเรียนรู้
4.3 ครูผสู้ อนทกุ คนเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนและผ้มู ีสว่ นเกี่ยวข้องมสี ว่ นร่วมในการวดั และประเมินผล
4.4 ครูผ้สู อนทุกคนให้ข้อมูลยอ้ นกลบั แก่ผเู้ รียนเพ่ือนาไปใชใ้ นการพัฒนาการเรียนรู้

5. ครูและผู้มสี ว่ นเก่ียวข้องรว่ มแลกเปล่ียนเรียนรูแ้ ละประสบการณ์ รวมท้ังให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั เพ่ือนนาไปใชใ้ น
การปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นรู

5.1 ครูทกุ คนและผู้มีส่วนเกยี่ วขอ้ งมกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลบั เพือ่ พฒั นาและ
ปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้

5.2 ครผู ู้สอนรอ้ ยละ 80 มีการทาวจิ ยั ชน้ั เรยี นเพื่อพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งน้อย 1 เรอ่ื ง/
คน/ปีการศกึ ษา

หมายเหตุ : วธิ คี านวณ *** ผลการประเมิน (ร้อยละ) = 100 x จานวนครผู า่ นเกณฑท์ ่ีโรงเรียนกาหนด

จานวนครูทง้ั หมด
แปลผลการประเมินคณุ ภาพทไ่ี ด้

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเยยี่ ม
ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ดีเลิศ
รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดี
รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง
ต่ากวา่ รอ้ ยละ ๕๐.00 = กาลังพฒั นา

๔๖


Click to View FlipBook Version