The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรม กศน.อำเภอด่านช้าง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cheaw1242, 2023-01-03 10:36:32

นวัตกรรม กศน.อำเภอด่านช้าง

นวัตกรรม กศน.อำเภอด่านช้าง



คำนำ
การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน และการสง่ เสริมการเรียนรู้ เป็นเรื่องท่ีครู
ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความสำคัญ เพราะผลลัพธ์ที่ได้ผู้เรยี นสามารถนำไปใช้
ในการเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ ตลอดจนการนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง
และจากผลการวิเคราะห์คะแนนทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน
(N-NET) ของ กศน.อำเภอด่านช้าง ทำให้สถานศึกษาต้องเร่งดำเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของผู้เรียน โดยการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด จึงได้จัดทำนวัตกรรม
ส่งเสริมการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้สื่อเทคโนโลยี Hologram ข้ึน
เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น และใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการจดั ทำสอ่ื จากเทคโนโลยี Hologram
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า นวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้สื่อเทคโนโลยี Hologram จะเป็นประโยชน์และเป็นแนวทางที่ดีให้กับ
ผสู้ นใจในการนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการพัฒนาการจัดการเรียนรใู้ ห้กบั ผู้เรียนได้

นางสาวนัดธิดา หลา้ อามาตย์
ผจู้ ดั ทำ

สารบญั ข

เร่ือง ก

คำนำ 1
1
สารบญั 1
1
- ชอ่ื ผลงาน 1
- ผสู้ รา้ งนวตั กรรม 2
- แนวทางการคดิ คน้ นวัตกรรม 2
- ประเภทของนวัตกรรม 2
- ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา 2
- วตั ถุประสงค์ 2
- ขอบเขต 2
- ตัวแปรที่ศกึ ษา 4
- เนอ้ื หา/สาระ 7
- ระยะเวลา 8
- หลักการ แนวคดิ ทฤษฎที เ่ี กย่ี วขอ้ ง ที่นำมาใช้ 10
- วธิ ดี ำเนนิ การ 16
- ขน้ั ตอนการสร้างและหาคณุ ภาพเคร่ืองมือ 16
- ผลการพฒั นานวตั กรรม
- ผลการประเมินประสทิ ธิผลของนวตั กรรม
- การเผยแพรน่ วัตกรรม
- ผลการขยายผลนวัตกรรม

อา้ งอิง
ภาคผนวก

ชอ่ื ผลงาน

นวตั กรรมส่งเสริมการเรียนรู้ วิชาวทิ ยาศาสตร์ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
โดยใชส้ ่ือเทคโนโลยี Hologram

ผูส้ รา้ งนวัตกรรม
นางสาวนัดธดิ า หล้าอามาตย์ ตำแหน่ง ครชู ำนาญการ
สังกดั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอด่านช้าง
สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
โทร 035-509665 มือถือ 094-7507863
E-mail address : [email protected]

แนวทางการคิดค้นนวัตกรรม
การจัดทำนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอน

ปลาย โดยใช้สื่อเทคโนโลยี HOLOGRAM เป็นการแสวงหานวัตกรรม/แบบอย่างที่ดีจากแหล่งต่างๆ

ท่เี คยมีผูส้ ร้างหรอื ทำไว้แล้ว นำมาปรบั ปรุงหรือพัฒนาใหม่

ประเภทของนวัตกรรม

การบริหารจดั การศึกษา  การจัดการเรยี นรู้ การนิเทศการจดั การศึกษา

ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา
ผู้เรียนศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอด่านช้าง ระดับ

มัธยมศึกษาตอนปลาย มีผลคะแนนทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ
โรงเรียน (N-NET) รายวิชาวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับต่ำ เมื่อเปรียบเทียบกับผลคะแนนทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ระดับประเทศ สถานศึกษาจึงมีการ
พัฒนาในเรื่องการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ การจัดทำสื่อประกอบการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรยี น
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์เพมิ่ ขน้ึ

1

วัตถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในรายวิชาวิทยาศาสตร์เพ่มิ ขึ้น
2. เพ่อื ให้ผู้เรยี นสามารถจัดทำส่อื จากเทคโนโลยี Hologram ได้

ขอบเขต
กลุ่มเปา้ หมาย
- เชิงปริมาณ ผูเ้ รยี น กศน.อำเภอด่านช้าง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จำนวน 38 คน

- เชงิ คณุ ภาพ ผเู้ รียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในรายวชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มขึ้น

- ผเู้ รยี นสามารถจดั ทำสอ่ื จากเทคโนโลยี Hologram ได้

ตวั แปรท่ีศกึ ษา เทคโนโลยี Hologram
ตัวแปรต้น พฤติกรรมดา้ นการเรียนรู้
ตวั แปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวทิ ยาศาสตร์
เพศ อายุ
ตวั แปรอิสระ

เนื้อหา/สาระ
วชิ าวิทยาศาสตร์ พว31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

- เรอ่ื งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

- เร่ืองสิง่ มชี วี ติ และส่ิงแวดล้อม ระบบการทำงานของเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์ และ

การรกั ษาดุลยภาพ

ระยะเวลา
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม 2565

หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ท่ีนำมาใช้
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์ (B.F. Skinner) สกินเนอร์มี

แนวคิดว่า การเรียนรู้เกิดขึน้ ภายใตเ้ งื่อนไขและสภาวะแวดล้อม ที่เหมาะสม เพราะทฤษฎีนี้ต้องการ

เน้นเรื่องสิง่ แวดล้อม สิ่งสนับสนุนและการลงโทษ สกินเนอรม์ องว่าพฤตกิ รรมของมนษุ ยเ์ ปน็ พฤติกรรม

ท่ีกระทำต่อสิ่งแวดล้อมของตนเอง พฤติกรรมของมนุษย์จะคงอยู่ตลอดไป จำเป็นต้องมีการเสริมแรง

ซงึ่ การเสริมแรงน้มี ที งั้ การเสรมิ แรงทางบวก (Positive Reinforcement) และการเสรมิ แรงทางลบ

(Negative Reinforcement)

2

การเสริมแรง หมายถึง ผลของพฤติกรรมใดๆ ที่ทำให้พฤติกรรมนั้นเข้มแข็งขึ้น การ
เสริมแรงทางบวก หมายถึง สภาพการณ์ที่ช่วยให้พฤติกรรมโอเปอแรนท์เกิดขึ้นในด้านความที่น่าจะ
เป็นไปได้ ส่วนการเสริมแรงทางลบเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์อาจจะทำให้พฤติกรรมโอเปอ
แรนท์เกดิ ขึน้ ไดใ้ นการด้านการเสรมิ แรงนนั้

สกนิ เนอรใ์ หค้ วามสำคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยไดแ้ ยกวธิ กี ารเสรมิ แรงออกเปน็ 2 วธิ ี คือ
1. การให้การเสริมแรงทุกครั้ง (Continuous Reinforcement) เป็นการให้การ
เสริมแรงทกุ ครั้งที่ผเู้ รียนแสดงพฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์ตามท่ีกำหนดไว้
2. การใหก้ ารเสรมิ แรงเป็นคร้ังคราว (Partial Reinforcement) เปน็ การใหก้ าร
เสรมิ แรงเปน็ ครง้ั คราวโดยไม่ให้ทกุ ครง้ั ท่ีผเู้ รียนแสดงพฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค์ โดยแยกการเสริมแรง
เป็นคร้ังคราว ไดด้ ังนี้

2.1 เสริมแรงตามอัตราสว่ นท่ีแนน่ อน
2.2 เสริมแรงตามอัตราสว่ นท่ีไม่แนน่ อน
2.3 เสริมแรงตามช่วงเวลาที่แน่นอน
2.4 เสรมิ แรงตามชว่ งเวลาทไ่ี ม่แน่นอน
การเสริมแรงแต่ละวิธีให้ผลต่อการแสดงพฤติกรรมที่ต่างกันและพบว่าการเสริมแรง
ตามอัตราส่วนที่ไม่แน่นอนจะให้ผลดีในด้านที่พฤติกรรมที่พึงประสงค์จะเกิดขึ้นในอัตราสูงมากและ
เกดิ ขึน้ ตอ่ ไปอีกเป็นเวลานานหลงั จากท่ไี ม่ได้รับการเสริมแรง
จากการศึกษาและทดลองของสกินเนอร์นั้น สามารถสรุปเป็นลักษณะ และทฤษฎี
การเรียนรู้ของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์หรือทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบการกระทำได้
ดงั นี้
1. การกระทำใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีก ส่วนการ
กระทำทไี่ ม่มีการเสรมิ แรง แนวโน้มท่คี วามถขี่ องการกระทำน้ันจะลดลงและหายไปในท่ีสุด
2. การเสรมิ แรงทแี่ ปรเปล่ยี นทำให้การตอบสนองคงทนกว่าการเสริมแรงท่ี
ตายตวั
3. การลงโทษทำใหเ้ รียนรู้ไดเ้ รว็ และลมื เรว็
4. การใหแ้ รงเสรมิ หรอื ใหร้ างวัลเม่อื ผเู้ รียนกระทำพฤตกิ รรมที่ตอ้ งการ สามารถช่วย
ปรบั หรอื ปลูกฝังนิสัยท่ีต้องการได้

3

แนวทางการจัดการศกึ ษา
แนวทางการจัดการศึกษา STEM ศกึ ษาในการประดิษฐ์นวัตกรรม
STEM เปน็ คำย่อจากภาษาอังกฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชา ไดแ้ ก่
1. วิทยาศาสตร์ (Science)
2. เทคโนโลยี (Technology)
3. วศิ วกรรมศาสตร์(Engineering)
4. คณติ ศาสตร์ (Mathematics)
คำว่า “สะเต็ม” “STEM” หมายถึงองค์ความรู้ วิชาการของศาสตร์ทั้งสี่ที่มีความ
เชื่อมโยงกันในโลกของความเป็นจริงที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันในการ
ดำเนินชีวิตและการทำงาน คำว่า STEM ถูกใช้ครั้งแรกโดยสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศ
สหรัฐอเมริกา (the National Science Foundation: NSF) ซึ่งใช้คำนี้เพื่ออ้างถึงโครงการหรือ
โปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ อย่างไรก็ตาม
สถาบนั วทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ได้ใหน้ ยิ ามท่ชี ัดเจนของคำว่า STEM มีผลให้มีการใช้
และให้ความหมายของคำนี้แตกต่างกันไป (Hanover Research, 2011, p.5) เช่น มีการใช้คำว่า
STEM ในการอ้างอิงถึงกลุ่มอาชีพที่มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์
และคณิตศาสตร์
การจัดการเรยี นร้ตู ามแนวทางสะเต็มมีลักษณะ 5 ประการไดแ้ ก่
1) เปน็ การสอนที่เน้นการบรู ณาการ
2) ชว่ ยนกั เรยี นสร้างความเชื่อมโยงระหวา่ งเน้ือหาวิชาท้งั 4 กับชีวิตประจำวนั
3) เนน้ การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
4) ท้าทายความคิดของนักเรียน
5) เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น และความเข้าใจที่สอดคล้องกับ
เน้ือหาทั้ง 4 วิชา จุดประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา คือ ส่งเสริมให้ผู้เรียน
รักและเห็นคุณค่าของการเรียนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ และเห็น
วา่ วิชาเหล่าน้ันเปน็ เรือ่ งใกล้ตัวทสี่ ามารถนำมาใช้ไดท้ ุกวนั

วิธีดำเนนิ การ
นวตั กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้

ส่ือเทคโนโลยี Hologram องค์ประกอบ ได้แก่
1) หลกั การ
2) วตั ถปุ ระสงค์
3) แนวคดิ

4

4) ขัน้ ตอนการสร้างนวตั กรรม
5) ขั้นตอนการใช้นวตั กรรม
คู่มือนวัตกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ วิชาวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
โดยใชส้ ื่อเทคโนโลยี Hologram ประกอบดว้ ย
1) จดุ ประสงค์ของนวัตกรรม
2) ทฤษฎี หลกั การ หรอื แนวคดิ ในการพฒั นานวัตกรรม.
3) คำชีแ้ จงเกยี่ วกบั การใชน้ วัตกรรม
4) ขั้นตอนการใช้นวัตกรรม
เครือ่ งมือประเมิน ไดแ้ ก่
1) แบบทดสอบก่อนเรยี น.
2) แบบทดสอบหลงั เรยี น
3) แบบทดสอบกลางภาค
วธิ ีดำเนินการจดั ทำนวตั กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

โดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี Hologram

ภาพแสดง วธิ ีดำเนินการจดั ทำนวตั กรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ วิชาวทิ ยาศาสตร์
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้สื่อเทคโนโลยี Hologram

5

กระบวนการพัฒนานวัตกรรม โดยใช้ 5D Model
นวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
โดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี Hologram มีการนำรปู แบบพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ 5D Model มาใชร้ ว่ มกับ
การใช้สื่อจากเทคโนโลยี Hologram ดงั นี้
1. Diagnostic teaching : การสอนเพื่อการวินิจฉัย เป็นการนำผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาวิเคราะห์และหาแนวทางในการแก้ไข
สภาพปญั หาทีส่ ่งผลกระทบตอ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผู้เรียน
2. Discovery : ปลูกฝังให้ผู้เรียนสามารถค้นพบ ค้นคว้า เรียนรู้สิ่งต่างๆได้ด้วย
ตนเอง โดยการสืบคน้ จากแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ เชน่ อินเตอร์เนต็ หนงั สอื แบบเรียน หรอื จากผู้ท่ีมีความรู้
ความชำนาญในเร่อื งนนั้ ๆ เปน็ ตน้
3. Design : ให้ผู้เรียนออกแบบและลงมือปฏบิ ัตใิ นการประดิษฐ์ชิน้ งาน การคำนวณ
วัสดุที่ใช้ในการทำ Hologram สามารถทำงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้ และระดมความคิดในการแก้ไข
ปญั หาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเอง
4. Direct experience : ผู้เรียนเกิดประสบการณ์ตรง จากการลงมือปฏิบัติ ทำให้
ผู้เรียนมีคิวามเข้าใจในเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์ เกิดทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ
สามารถนำเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และช่วยให้เกิดการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์ได้
งา่ ยข้นึ
5. Development : ครูนำผลการจัดการเรียนรู้ มาพัฒนาและปรับปรุงการจัด
กระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ และดำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็ว
เพอื่ ให้ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเน่ือง

ภาพแสดง 5D โมเดล ในการนำมาใช้พฒั นานวตั กรรมดา้ นการจัดการเรยี นรู้

6

ขัน้ ตอนการสรา้ งและหาคุณภาพเครอ่ื งมอื
นวัตกรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ วิชาวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้

ส่ือเทคโนโลยี Hologram
1) จดั ทำ เคร่ืองฉาย Hologram โดยใช้แผ่นอะคริรคิ มาประกอบ 4 ด้าน

ให้มลี กั ษณะเปน็ กล่อง และตัดแผ่นอะครริ ิค 1 แผ่น เพอื่ เป็นแผน่ รบั ภาพแลว้ ตดั ฟิล์มกนั แสงสะท้อน
นำจอภาพมาติดต้ังดา้ นบนของเครอ่ื งฉาย

2) จัดทำสือ่ ประกอบการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ พว31001 ระดบั
มัธยมศึกษาตอนปลาย เรื่องส่ิงมชี วี ติ และส่งิ แวดล้อมระบบการทำงานของเซลล์พืชและเซลลส์ ตั วแ์ ละ
การรักษาดลุ ยภาพ

ค่มู ือนวัตกรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ วิชาวทิ ยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
โดยใช้สื่อเทคโนโลยี Hologram

จัดทำคูม่ ือในการใช้นวัตกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้โดยใชเ้ ทคโนโลยี
Hologram เปน็ สือ่ การเรียนรู้ เปน็ Infographic สามารถทำความเขา้ ใจและใช้งานได้งา่ ย

ภาพแสดง Infographic แสดงคูม่ อื นวตั กรรมส่งเสริมการเรียนรู้ วชิ าวทิ ยาศาสตร์
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยใชส้ ื่อเทคโนโลยี Hologram

7

เครื่องมือประเมนิ นวตั กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ วชิ าวิทยาศาสตร์ ระดบั
มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้สอ่ื เทคโนโลยี Hologram

1) จดั ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน หลงั เรียน
เรอื่ งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 20 ข้อ
เรอื่ งส่งิ มชี ีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม ระบบการทำงานของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์
และการรักษาดลุ ยภาพ จำนวน 20 ข้อ
2) จดั ทำแบบทดสอบในเกม Kahoot จำนวน 20 ข้อ

ภาพแสดง แบบทดสอบในเกม Kahoot
ผลการพัฒนานวตั กรรม

ชอื่ นวตั กรรมนวัตกรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ระดบั มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย โดยใช้เทคโนโลยี Hologram

8

องค์ประกอบนวัตกรรม
หลักการ : การใช้เทคโนโลยี Hologram ในการสร้างโอกาสทางการศึกษาและ

พัฒนาทักษะการเรยี นรู้รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายเพ่ือพฒั นาทักษะการเรียนรู้
ดา้ นวิทยาศาสตร์

วตั ถุประสงค์ : 1. เพ่ือให้ผู้เรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในรายวชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ พ่ิมขนึ้
2. เพอื่ ให้ผู้เรียนสามารถจัดทำสอ่ื จากเทคโนโลยี Hologram ได้

กระบวนการ/ขนั้ ตอน/วิธีการ
นวัตกรรมนวัตกรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ วิชาวทิ ยาศาสตรร์ ะดบั มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย โดยใช้เทคโนโลยี Hologram กจิ กรรม การเรียนรูเ้ ร่อื งกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
และการเรยี นรูเ้ ร่ืองสงิ่ มชี ีวติ และสิ่งแวดลอ้ ระบบการทำงานของเซลล์พชื และเซลล์สัตว์และการรักษา
สมดุลยภาพ
ปัจจยั ความสำเร็จ/เงื่อนไข
1. ครมู คี วามเขา้ ใจองค์ประกอบและข้นั ตอนของนวตั กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้โดยใช้
เทคโนโลยี Hologram เปน็ สอื่ การเรียนรู้
2. ครูสรา้ งความเข้าใจใหก้ ับผู้เรยี นและผูท้ ี่มีส่วนเกย่ี วข้องในการนำนวตั กรรมไปใช้
ใหเ้ กิดประสิทธิภาพ
3. ครูกระตุ้นใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ
การวัดและประเมนิ ผล
1. ผ้เู รยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในรายวชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ พมิ่ ขนึ้
2. ผเู้ รยี นสามารถจดั ทำส่อื จากเทคโนโลยี Hologram ได้

9

ผลการประเมนิ ประสทิ ธิผลของนวัตกรรม
ตารางที่ 1 แสดงผลคะแนนทดสอบ กอ่ นเรียน-หลังเรยี น เรอ่ื งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มหนองมะค่าโมง 3

ลำดับ รหสั นักศกึ ษา ชอื่ – สกลุ ก่อนเรยี น หลงั เรยี น ผลต่างของ
ท่ี คะแนน

1 6313000209 นางสาวฟ้า แสนมน่ั 12 17 5
2 6323000218 นายเจนณรงค์ เหลอื งทอง 9 16 7
3 6323000236 นายนำทาง พลู สวสั ด์ิ 9 16 7
4 6323000254 นางสาวสุชาดา นาเอ่ียม 8 14 6
5 6323000263 นางสาวธัญวรรณ ประสงคโ์ ก 11 15 4
6 6323000272 นายธนชาติ ล้ิมกุล 6 10 4
7 6323000281 นายจกั รพงศ์ ส้มฉนุ 9 16 7
8 6323000290 นายอลงกรณ์ คะลา 4 11 7
9 6323000302 นางสาวพชั รินทร์ ปั้นสนี วล 10 14 4
10 6323000320 นางสาวเบญจวรรณ มณอี ินทร์ 8 11 3
11 6323000339 นางสาวกลุ ธดิ า ประจงการ 11 13 2
12 6323000562 นางสาวงามรัตน์ แพรเขยี ว 9 12 3
13 6413000522 นายธรี ะพชรพงศ์ วงศศ์ รีจันทร์ 12 15 3
14 6413000540 นายสทิ ธิชยั บุญจนั ทร์ศรี 13 15 2
15 6413000577 นายนำชัย ปรกึ ษา 6 10 4
16 6413000595 นายพีรพงษ์ วังงาม 10 12 2
17 6413000634 นายกติ ตศิ ักดิ์ พุม่ จำปา 8 12 4
18 6413000661 นายชูเกียรติ แกว้ กำเนดิ 12 14 2
19 6423000426 นางสาวสนุ นั ธิชา กลน่ิ ซอ้ น 9 14 5
20 6423000435 นายธนภัทร ฉายอรณุ 6 12 6
21 6423000444 นางสาววนดิ า ไทยโสภา 13 16 3
22 6423000453 นางสาวบัญจรตั น์ แสนคำ 11 15 4
23 6423000462 นางสาวจตพุ ร ศรภี กั ดี 8 13 5
24 6423000471 นางสาววาสนา นาเอก 12 15 3
25 6423000480 นางสาวใบเฟิรน์ น้อยกลุ 10 13 3

10

ตารางที่ 1 (ต่อ) แสดงผลคะแนนทดสอบ กอ่ นเรียน-หลงั เรียน เรอ่ื งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย กลมุ่ หนองมะค่าโมง 3

ลำดับ รหัสนักศึกษา ชือ่ – สกลุ กอ่ นเรียน หลงั เรียน ผลต่างของ
ที่ คะแนน

26 6423000499 นางสาวนันทิกา มณีอินทร์ 12 16 3

27 6423000501 นางสาวอาทิตยา นิยมทรัพย์ 12 15 3

28 6423000510 นางสาวนิชามล กะตะศลิ า 10 14 4

29 6423000529 นายจริ ายุ แพทองคำ 9 15 6

30 6423000538 นายฉนั ทศิ จะทารมั ย์ 8 12 4

31 6423000707 นายพีรพฒั น์ เพช็ ยาทูนธ์ 7 12 7

32 6513000374 นางสาวพมิ ลรตั น์ ปิตปิ ฎมิ ารัตน์ 6 17 11

33 6513000383 นางสาวน้ำฝน ตมิ อนรัมย์ 14 16 2

34 6513000404 นางสาววันวสิ า สุวรรณศิริ 12 17 5

35 6513000413 นางสาวกนกกาญจน์ ทองแท้ 10 13 3

36 6513000422 นายณาณพัฒน์ เรอื นทอง 6 16 10

37 6513000431 นางสาวเนตรนภา ธัญญเจริญ 13 16 3

38 6513000431 นางสาวเบญจภรณ์ แกว้ บญุ มา 8 13 5

รวม 363 533 171

เฉลยี่ 9.55 14.03 4.50

จากตารางที่ 1 จากการนำนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ โดยใช้สื่อเทคโนโลยี Hologram
เรือ่ งกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์กับกลุ่มผเู้ รียน จำนวน 38 คน พบวา่ ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนก่อนและหลังการนำนวัตกรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ โดยใช้ส่ือเทคโนโลยี Hologram เรื่อง
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้นั้นผลสัมฤทธิ์เป็นไปตามที่วัตถุประสงค์ พบว่าคะแนนหลังเรียน
เพมิ่ ข้นึ

11

ตารางที่ 2 แสดงผลคะแนนทดสอบ ก่อนเรียน-หลงั เรยี น เรือ่ งสงิ่ มีชีวติ และส่ิงแวดล้อม

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กล่มุ หนองมะคา่ โมง 3

ลำดับ รหัสนักศกึ ษา ชื่อ – สกลุ กอ่ นเรียน หลังเรยี น ผลต่างของ
ท่ี คะแนน

1 6313000209 นางสาวฟ้า แสนมนั่ 8 13 5

2 6323000218 นายเจนณรงค์ เหลืองทอง 11 14 3

3 6323000236 นายนำทาง พูลสวัสด์ิ 11 13 2

4 6323000254 นางสาวสชุ าดา นาเอย่ี ม 9 12 3

5 6323000263 นางสาวธญั วรรณ ประสงคโ์ ก 12 15 3

6 6323000272 นายธนชาติ ลิ้มกุล 10 12 2

7 6323000281 นายจักรพงศ์ ส้มฉุน 8 10 2

8 6323000290 นายอลงกรณ์ คะลา 10 12 2

9 6323000302 นางสาวพัชรนิ ทร์ ปั้นสีนวล 9 14 5

10 6323000320 นางสาวเบญจวรรณ มณีอนิ ทร์ 11 13 2

11 6323000339 นางสาวกลุ ธดิ า ประจงการ 10 12 2

12 6323000562 นางสาวงามรตั น์ แพรเขียว 12 15 3

13 6413000522 นายธรี ะพชรพงศ์ วงศศ์ รีจันทร์ 8 13 5

14 6413000540 นายสิทธิชัย บุญจันทรศ์ รี 9 14 5

15 6413000577 นายนำชัย ปรึกษา 10 16 6

16 6413000595 นายพีรพงษ์ วงั งาม 8 11 3

17 6413000634 นายกิตติศักดิ์ พุ่มจำปา 7 12 5

18 6413000661 นายชูเกียรติ แกว้ กำเนิด 11 15 4

19 6423000426 นางสาวสุนันธิชา กลน่ิ ซ้อน 10 14 4

20 6423000435 นายธนภัทร ฉายอรณุ 7 13 6

21 6423000444 นางสาววนดิ า ไทยโสภา 12 16 3

22 6423000453 นางสาวบญั จรตั น์ แสนคำ 10 12 2

23 6423000462 นางสาวจตุพร ศรภี ักดี 8 11 3

24 6423000471 นางสาววาสนา นาเอก 10 13 3

25 6423000480 นางสาวใบเฟิร์น น้อยกลุ 12 14 2

26 6423000499 นางสาวนนั ทิกา มณีอินทร์ 9 11 2

12

ตารางที่ 2 (ต่อ) แสดงผลคะแนนทดสอบ กอ่ นเรยี น-หลงั เรียน เรอื่ งส่งิ มชี ีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย กลมุ่ หนองมะคา่ โมง 3

ลำดบั รหัสนกั ศกึ ษา ชอ่ื – สกลุ กอ่ นเรยี น หลังเรยี น ผลตา่ งของ
ที่ คะแนน

27 6423000501 นางสาวอาทิตยา นยิ มทรัพย์ 11 12 2

28 6423000510 นางสาวนิชามล กะตะศลิ า 9 14 5

29 6423000529 นายจริ ายุ แพทองคำ 7 12 5

30 6423000538 นายฉนั ทิศ จะทารมั ย์ 10 14 3

31 6423000707 นายพีรพัฒน์ เพ็ชยาทนู ธ์ 8 11 3

32 6513000374 นางสาวพิมลรัตน์ ปิตปิ ฎมิ ารัตน์ 8 9 1

33 6513000383 นางสาวน้ำฝน ตมิ อนรมั ย์ 11 12 1

34 6513000404 นางสาววนั วิสา สุวรรณศริ ิ 12 13 1

35 6513000413 นางสาวกนกกาญจน์ ทองแท้ 11 14 3

36 6513000422 นายณาณพฒั น์ เรอื นทอง 10 12 2

37 6513000431 นางสาวเนตรนภา ธัญญเจริญ 6 12 6

38 6513000431 นางสาวเบญจภรณ์ แก้วบญุ มา 12 14 2

รวม 367 489 121

เฉล่ีย 9.66 12.87 3.18

จากตารางท่ี 2 จากการนำนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ โดยใช้สื่อเทคโนโลยี
Hologram เรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์กับกลุ่มผู้เรียน จำนวน 38 คน พบว่าผลการ
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการนำนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ โดยใช้สื่อ
เทคโนโลยี Hologram เรื่องสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมไปใช้นั้น ผลสัมฤทธิ์เป็นไปตามที่วัตถุประสงค์
กำหนด พบว่าคะแนนหลังเรียนเพิ่มขนึ้

13

ตารางท่ี 3 แสดงผลคะแนนทดสอบกลางภาค ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กลุ่มหนองมะคา่ โมง 3

ลำดับท่ี รหัสนกั ศกึ ษา ชื่อ – สกลุ ผลคะแนน

1 6313000209 นางสาวฟา้ แสนมน่ั 15
2 6323000218 นายเจนณรงค์ เหลืองทอง 13
3 6323000236 นายนำทาง พูลสวัสดิ์ 14
4 6323000254 นางสาวสชุ าดา นาเอย่ี ม 15
5 6323000263 นางสาวธญั วรรณ ประสงค์โก 14
6 6323000272 นายธนชาติ ลมิ้ กุล 16
7 6323000281 นายจกั รพงศ์ ส้มฉนุ 14
8 6323000290 นายอลงกรณ์ คะลา 14
9 6323000302 นางสาวพัชรนิ ทร์ ป้นั สนี วล 15
10 6323000320 นางสาวเบญจวรรณ มณอี นิ ทร์ 16
11 6323000339 นางสาวกุลธิดา ประจงการ 17
12 6323000562 นางสาวงามรตั น์ แพรเขยี ว 15
13 6413000522 นายธีระพชรพงศ์ วงศศ์ รีจันทร์ 14
14 6413000540 นายสิทธิชยั บุญจันทรศ์ รี 16
15 6413000577 นายนำชยั ปรกึ ษา 15
16 6413000595 นายพรี พงษ์ วังงาม 16
17 6413000634 นายกิตติศักดิ์ พุ่มจำปา 15
18 6413000661 นายชเู กียรติ แก้วกำเนดิ 17
19 6423000426 นางสาวสุนันธชิ า กล่ินซ้อน 14
20 6423000435 นายธนภทั ร ฉายอรณุ 16
21 6423000444 นางสาววนิดา ไทยโสภา 17
22 6423000453 นางสาวบัญจรตั น์ แสนคำ 16
23 6423000462 นางสาวจตุพร ศรีภกั ดี 15
24 6423000471 นางสาววาสนา นาเอก 13
25 6423000480 นางสาวใบเฟิรน์ นอ้ ยกลุ 14
26 6423000499 นางสาวนันทกิ า มณีอินทร์ 15
27 6423000501 นางสาวอาทติ ยา นยิ มทรัพย์ 14

14

ตารางท่ี 3 (ต่อ) แสดงผลคะแนนทดสอบกลางภาค ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
กศน.ตำบลหนองมะคา่ โมง

ลำดบั ท่ี รหัสนกั ศกึ ษา ช่ือ – สกลุ ผลคะแนน

28 6423000510 นางสาวนชิ ามล กะตะศิลา 14

29 6423000529 นายจริ ายุ แพทองคำ 14

30 6423000538 นายฉันทิศ จะทารมั ย์ 14

31 6423000707 นายพรี พฒั น์ เพช็ ยาทนู ธ์ 16

32 6513000374 นางสาวพมิ ลรตั น์ ปติ ิปฎมิ ารัตน์ 17

33 6513000383 นางสาวนำ้ ฝน ติมอนรมั ย์ 13

34 6513000404 นางสาววันวิสา สวุ รรณศริ ิ 14

35 6513000413 นางสาวกนกกาญจน์ ทองแท้ 16

36 6513000422 นายณาณพัฒน์ เรอื นทอง 15

37 6513000431 นางสาวเนตรนภา ธัญญเจรญิ 17

38 6513000431 นางสาวเบญจภรณ์ แกว้ บญุ มา 16

รวม 571

เฉล่ีย 15.02

จากตารางท่ี 3 จากการนำนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ โดยใช้สื่อเทคโนโลยี

Hologram เรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเรื่องสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม กับกลุ่มผู้เรียน
พบวา่ ผลคะแนนกลางภาคเฉล่ีย คือ 15.02

ตารางที่ 4 แสดงผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ก่อนเรยี นและ
หลงั เรยี น รายวิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้เทคโนโลยี Hologram เปน็ ส่ือการเรยี นรู้

เรือ่ ง ค่าเฉลย่ี ( ̅) คา่ Std. Deviation (SD)

กอ่ นเรียน หลงั เรียน ก่อนเรียน หลงั เรยี น

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 9.55 14.03 2.45 1.98

สงิ่ มีชวี ิตและส่งิ แวดล้อม 9.66 12.87 1.66 1.56

จากตารางที่ 4 จากการนำนวัตกรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ โดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี

Hologram เรอ่ื งกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และเร่ืองส่งิ มีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ใช้กับกลมุ่ ผูเ้ รยี น

พบว่าผลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคะแนนกลางภาค นัน้ ผลสมั ฤทธิเ์ ปน็ ไปตามท่ี

วัตถปุ ระสงค์ พบวา่ คะแนนสอบกลางภาคเพ่ิมข้ึน

15

การเผยแพรน่ วัตกรรม
ตารางที่ 5 แสดงรายละเอียดการเผยแพรน่ วัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ วชิ าวิทยาศาสตร์ระดบั

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โดยใชเ้ ทคโนโลยี Hologram

ท่ี ช่ือหน่วยงาน กลมุ่ เปา้ หมาย ระยะเวลา
วนั ที่ 21 กรกฎาคม 2565
1 กศน.อำเภอหนองหญ้าไซ - ครู กศน.อำเภอหนองหญา้ ไซ

- นักศกึ ษา กศน.อำเภอหนองหญา้ ไซ

2 สำนกั งาน กศน.จงั หวัด - ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการ วนั ที่ 22 กรกฎาคม 2565

สุพรรณบรุ ี ศึกษา 10 อำเภอ สงั กัด สำนักงาน

กศน.จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

3 เพจเฟซบ๊คุ กศน.อำเภอ - ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการ กรกฎาคม 2565

ดา่ นช้าง ศกึ ษา

- นกั ศึกษา

- ประชาชนทั่วไป

ผลการขยายผล

นวตั กรรมส่งเสริมการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย โดย
ใช้ส่อื เทคโนโลยี Hologram ไดร้ ับความสนใจจากผู้เรียน ตลอดจนขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาในสังกัด สำนักงาน กศน.จังหวัดสุพรรณบุรี ในการนำไปต่อยอดและประยุกต์ใช้ในเนื้อหาอื่น
หรือรายวิชาอื่น เพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้
มากขึน้

16

อา้ งอิง
จิตวิทยาสำหรับครู (502 204) รศ.มณั ฑรา ธรรมบุศย์
สะเตม็ ศึกษา ประเทศไทย แหลง่ ท่ีมา http://www.stemedthailand.org/
หนงั สือเรยี น วิชาบังคบั วิทยาศาสตร์ พว31001 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย แหลง่ ท่มี า
http://pattana.nfe.go.th/pattana/download

17

ภาคผนวก

18

ภาพประกอบการจัดทำนวตั กรรมส่งเสริมการเรียนรู้ วิชาวทิ ยาศาสตร์
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี Hologram

ประชุมบุคลากร กศน.อำเภอด่านช้าง วิเคราะห์สภาพปัญหา และอุปสรรคในการจัด
กระบวนการเรยี นรู้ และสร้างการรับรูเ้ ก่ยี วกบั การจดั ทำนวตั กรรมเพ่ือพัฒนาการจดั การศึกษา

19

ภาพประกอบการจดั ทำนวตั กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ วชิ าวิทยาศาสตร์
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โดยใช้สื่อเทคโนโลยี Hologram

ผูเ้ รยี นลงมอื ประดษิ ฐ์เครื่องฉาย Hologram และทดลองใชส้ อ่ื ทจ่ี ดั ทำข้นึ

20

ภาพประกอบการจัดทำนวตั กรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ วิชาวทิ ยาศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้สื่อเทคโนโลยี Hologram

ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน หลงั เรยี น

21

ภาพประกอบการจดั ทำนวัตกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ วชิ าวทิ ยาศาสตร์
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โดยใชส้ ่ือเทคโนโลยี Hologram

เผยแพร่นวตั กรรม ให้กบั ครูและผ้เู รยี น กศน.ตำบลหนองขาม กศน.อำเภอหนองหญา้ ไซ 22

ภาพประกอบการจดั ทำนวตั กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ วชิ าวิทยาศาสตร์
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โดยใช้ส่ือเทคโนโลยี Hologram

เผยแพร่นวตั กรรม ให้กับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนกั งาน กศน.จงั หวัดสุพรรณบุรี ทั้ง 10 อำเภอ
23

24

25

26

27

28

29


Click to View FlipBook Version