The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียน รายวิชาทักษะการเรียนรู้ ทร21001

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mamaii, 2021-05-19 23:44:12

หนังสือเรียน รายวิชาทักษะการเรียนรู้ ทร21001

หนังสือเรียน รายวิชาทักษะการเรียนรู้ ทร21001

Keywords: หนังสือเรียน,แบบเรียน กศน.,กศน.,หนังสือ

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้

รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้

(ทร21001)

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
(ฉบบั ปรับปรุง 2560)

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

ห้ามจาหน่าย

หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิ
เป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้

รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ (ทร21001)

ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

(ฉบบั ปรับปรุง 2560)

ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 33 /2555

คานา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 เมื่อวนั ท่ี 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544 ซ่ึงเป็ นหลกั สูตรท่ีพฒั นาข้ึนตามหลกั ปรัชญาและ
ความเช่ือพ้ืนฐานในการจดั การศึกษานอกโรงเรียนท่ีมีกลุ่มเป้ าหมายเป็ นผูใ้ หญ่มีการเรียนรู้และส่ังสม
ความรู้และประสบการณ์อยา่ งตอ่ เนื่อง

ในปี งบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดแผนยุทธศาสตร์ในการขบั เคล่ือน
นโยบายทางการศึกษาเพื่อเพ่ิมศกั ยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขนั ให้ประชาชนได้มีอาชีพ
ท่ีสามารถสร้างรายไดท้ ่ีมงั่ คงั่ และมน่ั คง เป็ นบุคลากรที่มีวนิ ยั เป่ี ยมไปดว้ ยคุณธรรมและจริยธรรม และ
มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อตนเองและผูอ้ ื่น สานักงาน กศน. จึงได้พิจารณาทบทวนหลกั การ จุดหมาย
มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั และเน้ือหาสาระ ท้งั 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ของหลกั สูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ให้มีความสอดคล้องตอบสนองนโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงส่งผลให้ตอ้ งปรับปรุงหนงั สือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเน้ือหาสาระ
เก่ียวกบั อาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพร้อม เพ่ือเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความ
เก่ียวขอ้ งสัมพนั ธ์กนั แต่ยงั คงหลกั การและวิธีการเดิมในการพฒั นาหนงั สือท่ีให้ผูเ้ รียนศึกษาคน้ ควา้
ความรู้ด้วยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทาแบบฝึ กหัด เพ่ือทดสอบความรู้ความเข้าใจ มีการอภิปราย
แลกเปล่ียนเรียนรู้กบั กลุ่ม หรือศึกษาเพ่ิมเติมจากภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน แหล่งการเรียนรู้และสื่ออื่น

การปรับปรุงหนังสือเรียนในคร้ังน้ี ได้รับความร่วมมืออย่างดีย่ิงจากผูท้ รงคุณวุฒิในแต่ละ
สาขาวิชา และผูเ้ กี่ยวขอ้ งในการจดั การเรียนการสอนที่ศึกษาคน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มูลองค์ความรู้จาก
สื่อต่าง ๆ มาเรียบเรียงเน้ือหาให้ครบถว้ นสอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั ตวั ช้ีวดั และ
กรอบเน้ือหาสาระของรายวิชา สานกั งาน กศน. ขอขอบคุณผูม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งทุกท่านไว้ ณ โอกาสน้ี
และหวงั ว่าหนงั สือเรียนชุดน้ีจะเป็ นประโยชน์แก่ผูเ้ รียน ครู ผูส้ อน และผเู้ ก่ียวขอ้ งในทุกระดบั หากมี
ขอ้ เสนอแนะประการใด สานกั งาน กศน. ขอนอ้ มรับดว้ ยความขอบคุณยงิ่

สารบัญ หน้า

คานา 1
สารบัญ 49
คาแนะนาการใช้ หนังสื อเรียน 67
โครงสร้างรายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 115
152
บทที่ 1 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 163
บทที่ 2 การใชแ้ หล่งเรียนรู้
บทท่ี 3 การจดั การความรู้
บทที่ 4 การคิดเป็ น
บทที่ 5 การวจิ ยั อยา่ งง่าย
บทท่ี 6 ทกั ษะการเรียนรู้และศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนท่ีในการพฒั นาอาชีพ

คาแนะนาการใช้หนังสือเรียน

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ เป็ นแบบเรียนที่จดั ทาข้ึนสาหรับ
ผเู้ รียนท่ีเป็นนกั ศึกษานอกระบบ

ในการศึกษาหนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ ผเู้ รียนควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี
1. ศึกษาโครงสร้างรายวชิ าใหเ้ ขา้ ใจในสาระสาคญั ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั และขอบข่ายเน้ือหา
2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแต่ละบทอย่างละเอียด และทากิจกรรมตามที่กาหนด
แล้วตรวจสอบกบั แนวตอบกิจกรรมท่ีกาหนด ถา้ ผูเ้ รียนตอบผิดควรกลบั ไปศึกษาและทาความเขา้ ใจ
ในเน้ือหาใหมใ่ หเ้ ขา้ ใจก่อนท่ีจะศึกษาเรื่องต่อไป
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมท้ายเร่ืองของแต่ละเรื่อง เพื่อเป็ นการสรุปความรู้ความเข้าใจของเน้ือหา
ในเร่ืองน้นั ๆ อีกคร้ัง และการปฏิบตั ิกิจกรรมของเน้ือหาแต่ละเร่ือง ผเู้ รียนสามารถนาไปตรวจสอบกบั ครู
และเพอื่ น ๆ ที่ร่วมเรียนในรายวชิ าและระดบั เดียวกนั ได้
4. แบบเรียนน้ีมี 6 บท คือ

บทท่ี 1 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
บทที่ 2 การใชแ้ หล่งเรียนรู้
บทท่ี 3 การจดั การความรู้
บทที่ 4 การคิดเป็น
บทที่ 5 การวจิ ยั อยา่ งง่าย
บทท่ี 6 ทกั ษะการเรียนรู้และศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนท่ีในการพฒั นาอาชีพ

โครงสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

สาระสาคญั
รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้ มีเน้ือหาเก่ียวกบั การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ของนักเรียนในด้าน

การเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจดั การความรู้ การคิดเป็ นและการวิจยั อย่างง่าย โดยมี
วตั ถุประสงคเ์ พื่อให้ผเู้ รียนสามารถกาหนดเป้ าหมาย วางแผนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เขา้ ถึงและเลือกใช้
แหล่งเรียนรู้จัดการความรู้ กระบวนการแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างมีเหตุผล ท่ีจะสามารถใช้เป็ น
เครื่องมือช้ีนา ในการเรียนรู้ และการประกอบอาชีพให้สอดคลอ้ งกบั หลกั การพ้ืนฐานและการพฒั นา 5
ศกั ยภาพของพ้นื ที่ ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์
การบริหารจดั การและการบริการ ตามยทุ ธศาสตร์ 2555กระทรวงศึกษาธิการ ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ

ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั
บทที่ 1 การเรียนรู้ด้วยตนเอง
1. สามารถวเิ คราะห์ความรู้จากการอา่ น การฟัง การสังเกต และสรุปไดถ้ ูกตอ้ ง
2. สามารถจดั ระบบการแสวงหาความรู้ใหก้ บั ตนเอง
3. ปฏิบตั ิตามข้นั ตอนในการแสวงหาความรู้เก่ียวกบั ทกั ษะการอ่าน ทกั ษะการฟัง และ

ทกั ษะการจดบนั ทึก
4. สามารถนาความรู้ ความเขา้ ใจในเรื่อง 5 ศกั ยภาพของพ้ืนที่ และหลกั การพ้ืนฐาน

ตามยุทธศาสตร์ 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ไปเพ่ิมขีดความสามารถการประกอบอาชีพโดยเน้นที่
กลุ่มอาชีพใหม่ ใหแ้ ข่งขนั ไดใ้ นระดบั ทอ้ งถิ่น

บทที่ 2 การใช้แหล่งเรียนรู้
1. จาแนกความแตกต่างของแหล่งเรียนรู้ และตดั สินใจเลือกใชแ้ หล่งเรียนรู้
2. เรียงลาดบั ความสาคญั ของแหล่งเรียนรู้ และจดั ทาระบบการใชแ้ หล่งเรียนรู้ของตนเอง
3. สามารถปฏิบตั ิการใชแ้ หล่งเรียนรู้ตามข้นั ตอนไดถ้ ูกตอ้ ง
4. สามารถใช้แหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิด

สร้างสรรค์ การบริหารจดั การและการบริการ เก่ียวกบั อาชีพของพ้ืนที่ที่ตนอาศยั อยไู่ ดต้ ามความตอ้ งการ
บทที่ 3 การจัดการความรู้
1. วเิ คราะห์ผลท่ีเกิดข้ึนของขอบขา่ ยความรู้ ตดั สินคุณค่า กาหนดแนวทางพฒั นา
2. เห็นความสัมพนั ธ์ของกระบวนการจดั การความรู้ กบั การนาไปใชก้ ารพฒั นาชุมชน

ปฏิบตั ิการ

3. ปฏิบตั ิตามกระบวนการจดั การความรู้ไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ
4. สามารถนากระบวนการจดั การความรู้ของชุมชน จาแนกอาชีพในด้านต่าง ๆ ของ
ชุมชน คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจดั การและการ
บริการ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
บทที่ 4 การคิดเป็ น
1. อธิบายหรือทบทวนปรัชญาคิดเป็ นและลกั ษณะของขอ้ มูลดา้ นวชิ าการ ตนเอง สังคม
ส่ิงแวดลอ้ ม ที่จะนามาวเิ คราะห์และสังเคราะห์เพอ่ื ประกอบการคิดและตดั สินใจแกป้ ัญหา
2. จาแนก เปรียบเทียบ ตรวจสอบขอ้ มูลดา้ นวชิ าการ ตนเอง สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม ที่จดั เก็บ
และทกั ษะในการวเิ คราะห์ สังเคราะห์ขอ้ มลู ท้งั สามดา้ น เพ่อื ประกอบการตดั สินใจแกป้ ัญหา
3. ปฏิบตั ิการตามเทคนิคกระบวนการคิดเป็น ประกอบการตดั สินใจไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ
4. สามารถนาความรู้ ความเขา้ ใจในเรื่อง 5 ศกั ยภาพของพ้ืนท่ี และหลกั การพ้ืนฐานตาม
ยทุ ธศาสตร์ 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ไปเพ่ิมขีดความสามารถการประกอบอาชีพโดยเนน้ ท่ีกลุ่มอาชีพ
ใหมใ่ หแ้ ข่งขนั ไดใ้ นระดบั ชาติ
บทท่ี 5 การวจิ ัยอย่างง่าย
1. ระบุปัญหา ความจาเป็ น วตั ถุประสงค์ และประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับจากการวิจยั
และสืบคน้ ขอ้ มูล เพอ่ื ทาความกระจ่างในปัญหาการวจิ ยั รวมท้งั กาหนดวธิ ีการหาความรู้ความจริง
2. เห็นความสัมพนั ธ์ของกระบวนการวจิ ยั กบั การนาไปใชใ้ นชีวติ
3. ปฏิบตั ิการศึกษา ทดลอง รวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มูล และสรุปความรู้ความจริงตาม
ข้นั ตอนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ชดั เจน เช่น การวเิ คราะห์อาชีพ
บทที่ 6 ทกั ษะการเรียนรู้และศักยภาพหลกั ของพนื้ ทใ่ี นการพฒั นาอาชีพ

1. บอกความหมาย ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของทกั ษะการเรียนรู้และ

ศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนที่

2. สามารถบอกอาชีพในกลุ่มอาชีพใหม่ 5 ดา้ น

3. ยกตวั อยา่ งอาชีพที่สอดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพหลกั ของพ้นื ที่

ขอบข่ายเนือ้ หา

บทที่ 1 การเรียนรู้ด้วยตนเอง
เรื่องที่ 1 ความหมาย และความสาคญั ของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
เร่ืองที่ 2 การกาหนดเป้ าหมาย และการวางแผนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
เร่ืองที่ 3 ทกั ษะพ้ืนฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทกั ษะการแกป้ ัญหา

และเทคนิคในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
เร่ืองท่ี 4 ปัจจยั ที่ทาใหก้ ารเรียนรู้ดว้ ยตนเองประสบความสาเร็จ

บทที่ 2 การใช้แหล่งเรียนรู้
เร่ืองท่ี 1 ความหมาย และความสาคญั ของแหล่งเรียนรู้
เร่ืองท่ี 2 หอ้ งสมุด : แหล่งเรียนรู้
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้สาคญั ในชุมชน

บทท่ี 3 การจัดการความรู้
เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ความสาคญั หลกั การกระบวนการจดั การความรู้
เร่ืองที่ 2 การฝึกทกั ษะ และกระบวนการจดั การความรู้

บทท่ี 4 การคดิ เป็ น
เรื่องท่ี 1 ความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้ หญ่ และการเช่ือมโยงสู่กระบวนการคิดเป็น

และปรัชญาคิดเป็ น
เรื่ องท่ี 2 ลักษณะและความแตกต่างของข้อมูลด้านวิชาการ ตนเอง และสังคม

สิ่งแวดล้อม รวมท้งั เทคนิคการเก็บขอ้ มูลและวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล การคิดเป็ นที่จะนามาใช้
ประกอบการคิด การตดั สินใจ แกป้ ัญหาของคนคิดเป็น

เรื่องท่ี 3 กรณีตวั อยา่ งเพื่อการฝึกปฏิบตั ิ

บทท่ี 5 การวจิ ัยอย่างง่าย
เรื่องที่ 1 ความหมายและประโยชนข์ องการวจิ ยั อยา่ งง่าย
เรื่องที่ 2 ข้นั ตอนการวจิ ยั อยา่ งง่าย
เรื่องท่ี 3 สถิติง่าย ๆ เพ่ือการวจิ ยั
เร่ืองที่ 4 เครื่องการวจิ ยั เพอ่ื เก็บรวบรวมขอ้ มลู
เรื่องที่ 5 การเขียนโครงการวจิ ยั อยา่ งง่าย

บทท่ี 6 ทกั ษะการเรียนรู้และศักยภาพภาพหลกั ของพนื้ ทใี่ นการพฒั นาอาชีพ
เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ความสาคญั ของศกั ยภาพหลกั ของพ้นื ที่
เร่ืองท่ี 2 กลุ่มอาชีพใหม่ 5 ดา้ น และศกั ยภาพหลกั ของพ้นื ท่ี 5 ประการ

เร่ืองที่ 3 ตวั อยา่ งการวิเคราะห์ศกั ยภาพหลกั ของพ้นื

1

บทที่ 1
การเรียนรู้ด้วยตนเอง

สาระสาคญั

การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนริเริ่มการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ตามความสนใจ
ความตอ้ งการ และความถนดั มีเป้ าหมาย รู้จกั แสวงหาแหล่งทรัพยากรของการเรียนรู้ เลือกวธิ ีการเรียนรู้
จนถึงการประเมินความกา้ วหน้าของการเรียนรู้ของตนเอง โดยจะดาเนินการด้วยตนเองหรือร่วมมือ
ช่วยเหลือกบั ผูอ้ ่ืนหรือไม่ก็ได้ ทุกวนั น้ีคนส่วนใหญ่แสวงหาการศึกษาระดบั ท่ีสูงข้ึน จาเป็ นตอ้ งรู้วิธี
วินิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียนของตนเอง สามารถกาหนดเป้ ามายในการเรียนรู้ของตนเอง สามารถ
ระบุแหล่งความรู้ท่ีตอ้ งการ และวางแผนการใชย้ ทุ ธวธิ ี สื่อการเรียน และแหล่งความรู้เหล่าน้นั หรือแมแ้ ต่
ประเมินและตรวจสอบความถูกตอ้ งของผลการเรียนรู้ของตนเอง มาตรฐานการเรียนรู้สามารถวิเคราะห์
เห็นความสาคญั และปฏิบตั ิการแสวงหาความรู้จากการอ่าน ฟัง และสรุปไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการ

ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั
1. สามารถวเิ คราะห์ความรู้จากการอ่าน การฟัง การสงั เกต และสรุปไดถ้ ูกตอ้ ง
2. สามารถจดั ระบบการแสวงหาความรู้ใหก้ บั ตนเอง
3. ปฏิบตั ิตามข้นั ตอนในการแสวงหาความรู้เก่ียวกบั ทกั ษะการอ่าน ทกั ษะการฟัง และทกั ษะการ
จดบนั ทึก

ขอบข่ายเนือ้ หา
เรื่องท่ี 1 ความหมาย และความสาคญั ของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
เรื่องที่ 2 การกาหนดเป้ าหมาย และการวางแผนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
เร่ืองท่ี 3 ทกั ษะพ้ืนฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทกั ษะการแกป้ ัญหา และเทคนิคในการเรียนรู้
ดว้ ยตนเอง
เร่ืองท่ี 4 ปัจจยั ที่ทาใหก้ ารเรียนรู้ดว้ ยตนเองประสบความสาเร็จ

เรื่องท่ี 1 ความหมาย และความสาคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ในปัจจุบนั โลกมีความกา้ วหนา้ ทางดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้ต่าง ๆ ไดเ้ พิ่มข้ึน

เป็ นอนั มาก การเรียนรู้จากสถาบนั การศึกษาไม่อาจทาให้บุคคลศึกษาความรู้ได้ครบท้งั หมด การ
ไขว่ควา้ หาความรู้ดว้ ยตนเอง จึงเป็ นอีกวิธีหน่ึงที่จะสนองความตอ้ งการของบุคคลได้ เพราะเม่ือใด
ก็ตามที่บุคคลมีใจรักที่จะศึกษาคน้ ควา้ สิ่งท่ีตนตอ้ งการจะรู้ บุคคลน้ันก็จะดาเนินการศึกษาเรียนรู้
อยา่ งต่อเน่ืองโดยไม่มีใครตอ้ งบอก ประกอบกบั ระบบการศึกษาและปรัชญาการศึกษาเพื่อเตรียมคน

2

ให้สามารถเรียนรู้ไดต้ ลอดชีวิต แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง ใฝ่ หาความรู้ รู้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
วิธีการหาความรู้ มีความสามารถในการคิดเป็ น ทาเป็ น แกป้ ัญหาเป็ น มีนิสัยในการทางานและการ
ดารงชีวติ และมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ

การเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถช่วยใหผ้ เู้ รียนพฒั นาและเพ่ิมศกั ยภาพ
ของตนเองโดยการคน้ พบความสามารถและส่ิงที่มีคุณค่าในตนเองท่ีเคยมองขา้ มไป
(“...it is possible to help learners expand their potential by discovered that which is yet
untapped…”) (Brockett & Hiemstra, 1991)

การศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เป็ น
การจดั การศึกษาท่ีมีความเหมาะสมกบั สภาพปัญหา และความตอ้ งการของผเู้ รียนที่อยนู่ อกระบบ ซ่ึงเป็ น
ผทู้ ่ีมีประสบการณ์จากการทางานและการประกอบอาชีพ โดยการกาหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการ
เรียนรู้ การจดั การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล ใหก้ ารพฒั นากบั กลุ่มเป้ าหมายดา้ นจิตใจ ใหม้ ีคุณธรรม
ควบคูไ่ ปกบั การพฒั นาการเรียนรู้ สร้างภมู ิคุม้ กนั สามารถจดั การกบั องคค์ วามรู้ ท้งั ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นและ
เทคโนโลยี เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสามารถปรับตวั อยใู่ นสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุม้ กนั ตาม
แนวเศรษฐกิจพอเพียง รวมท้งั คานึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผทู้ ่ีอยนู่ อกระบบ และสอดคลอ้ งกบั สภาพ
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ดงั น้นั ใน
การศึกษาแต่ละรายวิชา ผูเ้ รียนจะตอ้ งตระหนักว่า การศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 น้ี จะสัมฤทธิผลไดด้ ว้ ยดีหากผเู้ รียนไดศ้ ึกษาพร้อมท้งั การปฏิบตั ิ
ตามคาแนะนาของครูแต่ละวิชาที่ไดก้ าหนดเน้ือหาเป็ นบทต่าง ๆ โดยแต่ละบทจะมีคาถาม รายละเอียด
กิจกรรมและแบบฝึ กปฏิบตั ิต่าง ๆ ซ่ึงผเู้ รียนจะตอ้ งทาความเขา้ ใจในบทเรียน และทากิจกรรม ตลอดจน
ทาตามแบบฝึกปฏิบตั ิที่ไดก้ าหนดไวอ้ ยา่ งครบถว้ น ซ่ึงในหนงั สือแบบฝึ กปฏิบตั ิของแต่ละวิชาไดจ้ ดั ให้มี
รายละเอียดต่าง ๆ ดงั กล่าว ตลอดจนแบบประเมินผลการเรียนรู้เพ่ือให้ผูเ้ รียนได้วดั ความรู้เดิมและ
วดั ความกา้ วหนา้ หลงั จากที่ไดเ้ รียนรู้ รวมท้งั การที่ผเู้ รียนจะไดม้ ีการทบทวนบทเรียน หรือสิ่งที่ไดเ้ รียนรู้
อนั จะเป็นประโยชนใ์ นการเตรียมสอบตอ่ ไปไดอ้ ีกดว้

การเรียนรู้ในสาระทกั ษะการเรียนรู้ เป็ นสาระเกี่ยวกบั รายวชิ าการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง รายวชิ าการ
ใชแ้ หล่งเรียนรู้ รายวชิ าการจดั การความรู้ รายวิชาการคิดเป็ น และรายวชิ าการวจิ ยั อยา่ งง่าย ในส่วนของ
รายวชิ าการเรียนรู้ดว้ ยตนเองเป็ นสาระการเรียนรู้เกี่ยวกบั การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ ในดา้ นการเรียนรู้
ดว้ ยตนเอง เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รียนไดศ้ ึกษา คน้ ควา้ ฝึ กทกั ษะในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เพื่อมุ่งเสริมสร้าง

3

ใหผ้ เู้ รียนมีนิสัยรักการเรียนรู้ซ่ึงเป็ นทกั ษะพ้ืนฐานของบุคคลแห่งการเรียนรู้ที่ยงั่ ยืน เพื่อใชเ้ ป็ นเครื่องมือ
ในการช้ีนาตนเองในการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวติ

การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Directed Learning) เป็ นแนวทางการเรียนรู้หน่ึงที่สอดคลอ้ งกบั การ
เปลี่ยนแปลงของสภาพปัจจุบนั และเป็ นแนวคิดท่ีสนบั สนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคม
สู่การเป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็ นการเรียนรู้ที่ทาให้บุคคลมีการริเริ่มการ
เรียนรู้ดว้ ยตนเอง มีเป้ าหมายในการเรียนรู้ท่ีแน่นอน มีความรับผิดชอบในชีวติ ของตนเอง ไม่พ่ึงคนอ่ืน
มีแรงจูงใจ ทาให้ผเู้ รียนเป็ นบุคคลท่ีใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน ที่มีการเรียนรู้ตลอดชีวติ เรียนรู้วธิ ีเรียน สามารถเรียนรู้
เร่ืองราวต่าง ๆ ไดม้ ากกวา่ การเรียนที่มีครูป้ อนความรู้ใหเ้ พยี งอยา่ งเดียว

การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็ นหลักการทางการศึกษาซ่ึงได้รับความสนใจมากข้ึนโดยลาดับ
ในทุกองคก์ รการศึกษา เพราะเป็ นแนวทางหน่ึงที่สนบั สนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในอนั ที่จะหล่อหลอม
ผเู้ รียนให้มีทกั ษะการเรียนรู้ตลอดชีวติ ตามท่ีมุ่งหวงั ไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เป็ นหลกั การทางการศึกษาท่ีมีแนวคิด
พ้ืนฐานมาจากทฤษฎีของกลุ่มมนุษยนิยม (Humanism) ซ่ึงเชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีธรรมชาติเป็ นคนดี
มีเสรีภาพและความเป็นตนเอง มีความเป็นปัจเจกชนและศกั ยภาพ มีตนและการรับรู้ตนเอง มีการเป็ นจริง
ในส่ิงที่ตนสามารถเป็นได้ มีการรับรู้ มีความรับผดิ ชอบและความเป็นมนุษย์

ดงั น้ัน การที่ผูเ้ รียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้นับว่าเป็ นคุณลกั ษณะท่ีดีท่ีสุดซ่ึงมีอยู่ในตวั
บุคคลทุกคน ผูเ้ รียนควรจะมีคุณลักษณะของการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้ด้วยตนเองจัดเป็ น
กระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ยอมรับในศกั ยภาพของผเู้ รียนว่าผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถท่ีจะเรียนรู้
สิ่งต่าง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง เพ่ือท่ีตนเองสามารถท่ีดารงชีวิตอยใู่ นสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงอยูต่ ลอดเวลา
ไดอ้ ยา่ งมีความสุข

ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 1 การเรียนรู้ด้วยตนเองนี้ ผู้เรียนจะต้องรวบรวม
ผลการปฏิบัติกิจกรรมซึ่งเป็ นหลักฐานของการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนบรรจุในแฟ้ มสะสมผลงาน
(Portfolio) ของผู้เรียนแต่ละบุคคล ดงั น้ัน เม่ือสิ้นสุดการเรียนรู้ในบทที่ 1 การเรียนรู้ด้วยตนเองนี้
ผ้เู รียนจะต้องมแี ฟ้ มสะสมผลงานส่งครู

แบบประเมนิ ตนเองก่อนเรีย4น

แบบวดั ระดบั ความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองของผ้เู รียน

ช่ือ........................................................นามสกุล................................................ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

คาชี้แจง แบบสอบถามฉบบั น้ี เป็นแบบสอบถามที่วดั ความชอบและเจตคติเกี่ยวกบั การเรียนรู้ของท่าน
ใหท้ า่ นอา่ นขอ้ ความต่าง ๆ ต่อไปน้ี ซ่ึงมีดว้ ยกนั 58 ขอ้ หลงั จากน้นั โปรดทาเครื่องหมาย 

ลงในช่องท่ีตรงกบั ความเป็ นจริง ของตวั ทา่ นมากท่ีสุด

ระดับความคดิ เห็น หมายถึง ท่านรู้สึกว่า ข้อความน้ันส่วนใหญ่เป็นเช่นน้ีหรือมีนอ้ ยคร้ังท่ีไมใ่ ช่
มากท่ีสุด หมายถึง ท่านรู้สึกว่า ข้อความเกนิ คร่ึงมกั เป็นเช่นน้ี
มาก หมายถึง ท่านรู้สึกว่า ข้อความจริงบา้ งไม่จริงบา้ งครึ่งต่อครึ่ง
ปานกลาง

นอ้ ย หมายถึง ท่านรู้สึกว่า ข้อความเป็นจริงบ้างไม่บ่อยนัก
นอ้ ยที่สุด หมายถึง ท่านรู้สึกว่า ข้อความไม่จริง ไม่เคยเป็ นเช่นนี้

ความคดิ เห็น

รายการคาถาม มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ทส่ี ุด กลาง ทสี่ ุด

1. ขา้ พเจา้ ตอ้ งการเรียนรู้อยเู่ สมอตราบชว่ั ชีวติ

2. ขา้ พเจา้ ทราบดีวา่ ขา้ พเจา้ ตอ้ งการเรียนอะไร

3. เมื่อประสบกบั บางสิ่งบางอยา่ งที่ไมเ่ ขา้ ใจ ขา้ พเจา้ จะหลีกเล่ียงไปจากส่ิงน้นั

4. ถา้ ขา้ พเจา้ ตอ้ งการเรียนรู้ส่ิงใด ขา้ พเจา้ จะหาทางเรียนรู้ใหไ้ ด้

5. ขา้ พเจา้ รักที่จะเรียนรู้อยเู่ สมอ

6. ขา้ พเจา้ ตอ้ งการใชเ้ วลาพอสมควรในการเริ่มศึกษาเรื่องใหม่ ๆ

7. ในช้นั เรียนขา้ พเจา้ หวงั ท่ีจะให้ผูส้ อนบอกผเู้ รียนท้งั หมดอยา่ งชดั เจนวา่ ตอ้ งทา

อะไรบา้ งอยตู่ ลอดเวลา

8. ขา้ พเจา้ เช่ือวา่ การคิดเสมอวา่ ตวั เราเป็ นใครและอยทู่ ่ีไหน และจะทาอะไร เป็ น

หลกั สาคญั ของการศึกษาของทุกคน

9. ขา้ พเจา้ ทางานดว้ ยตนเองไดไ้ มด่ ีนกั

10. ถา้ ตอ้ งการขอ้ มูลบางอยา่ งท่ียงั ไมม่ ี ขา้ พเจา้ ทราบดีวา่ จะไปหาไดท้ ่ีไหน

11. ขา้ พเจา้ สามารถเรียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเองไดด้ ีกวา่ คนส่วนมาก

12. แมข้ า้ พเจา้ จะมีความคิดท่ีดี แตด่ ูเหมือนไมส่ ามารถนามาใชป้ ฏิบตั ิได้

13. ขา้ พเจา้ ตอ้ งการมีส่วนร่วมในการตดั สินใจวา่ ควรเรียนอะไร และจะเรียนอยา่ งไร

14. ขา้ พเจา้ ไมเ่ คยทอ้ ถอยต่อการเรียนสิ่งท่ียาก ถา้ เป็ นเร่ืองที่ขา้ พเจา้ สนใจ

15. ไมม่ ีใครอื่นนอกจากตวั ขา้ พเจา้ ท่ีจะตอ้ งรับผดิ ชอบในส่ิงท่ีขา้ พเจา้ เลือกเรียน

16. ขา้ พเจา้ สามารถบอกไดว้ า่ ขา้ พเจา้ เรียนสิ่งใดไดด้ ีหรือไม่

5

ความคดิ เห็น

รายการคาถาม มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ทสี่ ุด กลาง ทส่ี ุด

17. สิ่งท่ีขา้ พเจา้ ตอ้ งการเรียนรู้ไดม้ ากมาย จนขา้ พเจา้ อยากใหแ้ ตล่ ะวนั มีมากกวา่

24 ชว่ั โมง

18. ถา้ ตดั สินใจท่ีจะเรียนรู้อะไรก็ตาม ขา้ พเจา้ สามารถจะจดั เวลาท่ีจะเรียนรู้ส่ิงน้นั

ได้ ไมว่ า่ จะมีภารกิจมากมายเพยี งใดกต็ าม

19. ขา้ พเจา้ มีปัญหาในการทาความเขา้ ใจเร่ืองท่ีอ่าน

20. ถา้ ขา้ พเจา้ ไม่เรียนก็ไม่ใช่ความผิดของขา้ พเจา้

21. ขา้ พเจา้ ทราบดีวา่ เมื่อไรท่ีขา้ พเจา้ ตอ้ งการจะเรียนรู้ในเร่ืองใดเรื่องหน่ึงให้

มากข้ึน

22. ขา้ พเจา้ มีความเขา้ ใจพอ ที่จะทาขอ้ สอบใหไ้ ดค้ ะแนนสูง ๆ ก็พอใจแลว้ ถึงแมว้ า่

ขา้ พเจา้ ยงั ไม่เขา้ ใจเรื่องน้นั อยา่ งถ่องแทก้ ็ตามที

23. ขา้ พเจา้ คิดวา่ หอ้ งสมดุ เป็ นสถานท่ีที่น่าเบ่ือ

24. ขา้ พเจา้ ช่ืนชอบผทู้ ี่เรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ อยเู่ สมอ

25. ขา้ พเจา้ สามารถคิดคน้ วธิ ีการตา่ ง ๆ ไดห้ ลายแบบสาหรับการเรียนรู้หวั ขอ้ ใหม่ ๆ

26. ขา้ พเจา้ พยายามเช่ือมโยงสิ่งท่ีกาลงั เรียนกบั เป้ าหมายระยะยาวท่ีต้งั ไว้

27. ขา้ พเจา้ มีความสามารถเรียนรู้ ในเกือบทุกเรื่อง ท่ีขา้ พเจา้ ตอ้ งการจะรู้

28. ขา้ พเจา้ สนุกสนานในการคน้ หาคาตอบสาหรับคาถามต่าง ๆ

29. ขา้ พเจา้ ไมช่ อบคาถามท่ีมีคาตอบถกู ตอ้ งมากกวา่ หน่ึงคาตอบ

30. ขา้ พเจา้ มีความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกบั สิ่งตา่ ง ๆ มากมาย

31. ขา้ พเจา้ จะดีใจมาก หากการเรียนรู้ของขา้ พเจา้ ไดส้ ิ้นสุดลง

32. ขา้ พเจา้ ไม่ไดส้ นใจการเรียนรู้ เม่ือเปรียบเทียบกบั ผอู้ ื่น

33. ขา้ พเจา้ ไมม่ ีปัญหา เกี่ยวกบั ทกั ษะเบ้ืองตน้ ในการศึกษาคน้ ควา้

ไดแ้ ก่ ทกั ษะการฟัง อ่าน เขียน และจา

34. ขา้ พเจา้ ชอบทดลองสิ่งใหม่ๆ แมไ้ มแ่ น่ใจ วา่ ผลน้นั จะออกมา อยา่ งไร

35. ขา้ พเจา้ ไมช่ อบ เมื่อมีคนช้ีใหเ้ ห็นถึงขอ้ ผิดพลาด ในส่ิงที่ขา้ พเจา้ กาลงั ทาอยู่

36. ขา้ พเจา้ มีความสามารถในการคิดคน้ หาวธิ ีแปลก ๆ ท่ีจะทาสิ่งต่าง ๆ

37. ขา้ พเจา้ ชอบคิดถึงอนาคต

38. ขา้ พเจา้ มีความพยายามคน้ หาคาตอบในส่ิงท่ีตอ้ งการรู้ไดด้ ี เม่ือเทียบกบั ผอู้ ื่น

39. ขา้ พเจา้ เห็นวา่ ปัญหาเป็ นส่ิงท่ีทา้ ทาย ไม่ใช่สญั ญาณใหห้ ยดุ ทา

40. ขา้ พเจา้ สามารถบงั คบั ตนเองใหก้ ระทาสิ่งท่ีคิดวา่ ควรกระทา

41. ขา้ พเจา้ ชอบวธิ ีการของขา้ พเจา้ ในการสารวจตรวจสอบปัญหาตา่ ง ๆ

42. ขา้ พเจา้ มกั เป็ นผนู้ ากลมุ่ ในการเรียนรู้

43. ขา้ พเจา้ สนุกที่ไดแ้ ลกเปล่ียนความคิดเห็นกบั ผอู้ ื่น

6

ความคดิ เหน็

รายการคาถาม มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ทส่ี ุด กลาง ทส่ี ุด

44. ขา้ พเจา้ ไม่ชอบสถานการณ์การเรียนรู้ที่ทา้ ทาย

45. ขา้ พเจา้ มีความปรารถนาอยา่ งแรงกลา้ ท่ีจะเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ

46. ยง่ิ ไดเ้ รียนรู้มาก ขา้ พเจา้ ก็ยง่ิ รู้สึกวา่ โลกน้ีน่าตื่นเตน้

47. การเรียนรู้เป็ นเรื่องสนุก

48. การยดึ การเรียนรู้ท่ีใชไ้ ดผ้ ลมาแลว้ ดีกวา่ การลองใชว้ ธิ ีใหม่ ๆ

49. ขา้ พเจา้ ตอ้ งการเรียนรู้ใหม้ ากยง่ิ ข้ึน เพือ่ จะได้ เป็ นคนท่ีมีความเจริญกา้ วหนา้

50. ขา้ พเจา้ เป็ นผรู้ ับผดิ ชอบเกี่ยวกบั การเรียนรู้ของขา้ พเจา้ เอง ไม่มีใครมารับผดิ ชอบ

แทนได้

51. การเรียนรู้ถึงวธิ ีการเรียน เป็ นสิ่งที่สาคญั สาหรับขา้ พเจา้

52. ขา้ พเจา้ ไม่มีวนั ที่จะแก่เกินไป ในการเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ

53. การเรียนรู้อยตู่ ลอดเวลา เป็ นส่ิงท่ีน่าเบื่อหน่าย

54. การเรียนรู้เป็ นเครื่องมือในการดาเนินชีวติ

55. ในแต่ละปี ขา้ พเจา้ ไดเ้ รียนรู้สิ่งใหม่ ๆ หลาย ๆ อยา่ งดว้ ยตนเอง

56. การเรียนรู้ไมไ่ ดท้ าใหช้ ีวติ ของขา้ พเจา้ แตกต่างไปจากเดิม

57. ขา้ พเจา้ เป็ นผเู้ รียนที่มีประสิทธิภาพ ท้งั ในช้นั เรียน และการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

58 ขา้ พเจา้ เห็นดว้ ยกบั ความคิดที่วา่ “ผเู้ รียนคือ ผนู้ า”

การเริ่มต้นเรียนรู้ด้วยตนเองท่ีดีที่สุดน้ัน เรามาเริ่มต้นท่ีความพร้อมในการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง และท่านคงทราบในเบือ้ งต้นแล้วว่า ระดับความพร้อมในการ
เรียนรู้ด้วยตนเองของท่าน อยู่ในระดับใด (มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย
น้อยทสี่ ุด)

ความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองเป็นบุคลิกลกั ษณะส่วนบุคคลของผเู้ รียน ท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนในตวั

ผเู้ รียนตามเป้ าหมายของการศึกษา ผเู้ รียนที่มีความพร้อมในการเรียนดว้ ยตนเองจะมีความรับผดิ ชอบ
ส่วนบุคคล ความรับผดิ ชอบต่อความคิดและการกระทาของตนเอง สามารถควบคุมและโตต้ อบ
สถานการณ์ สามารถควบคุมตนเองใหเ้ ป็ นไปในทิศทางที่ตนเลือก โดยยอมรับผลท่ีเกิดข้ึนจากการ
กระทาที่มาจากความคิดตดั สินใจของตนเอง

7

ความหมาย และความสาคญั ของการเรียนรู้ด้วยตนเอง

“เด็กตามธรรมชาติตอ้ งพ่ึงพิงผอู้ ื่นและตอ้ งการผปู้ กครองปกป้ องเล้ียงดูและตดั สินใจแทน เมื่อเติบโต
เป็นผใู้ หญ่ มีความอิสระ พ่ึงพิงจากภายนอกลดลงและเป็นตวั ของตวั เอง จนมีคุณลกั ษณะการช้ีนาตนเอง
ในการเรียนรู้”

การเรียนรู้เป็ นเรื่องของทุกคน ศกั ด์ิศรีของผเู้ รียนจะมีไดเ้ มื่อมีโอกาสในการเลือกเรียนในเร่ืองท่ี
หลากหลายและมีความหมายแก่ตนเอง การเรียนรู้มีองคป์ ระกอบ 2 ดา้ น คือ องคป์ ระกอบภายนอก ไดแ้ ก่
สภาพแวดลอ้ ม โรงเรียน สถานศึกษา สิ่งอานวยความสะดวก และครู องคป์ ระกอบภายใน ไดแ้ ก่ การคิด
เป็ น พ่ึงตนเองได้ มีอิสรภาพ ใฝ่ รู้ ใฝ่ สร้างสรรค์ มีความคิดเชิงเหตุผล มีจิตสานึกในการเรียนรู้ มีเจตคติ
เชิงบวกต่อการเรียนรู้ การเรียนรู้ที่เกิดข้ึนมิไดเ้ กิดข้ึนจากการฟังคาบรรยายหรือทาตามที่ครูผสู้ อนบอก
แตอ่ าจเกิดข้ึนไดใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ ตอ่ ไปน้ี

1. การเรียนรู้โดยบังเอญิ การเรียนรู้แบบน้ีเกิดข้ึนโดยบงั เอิญ มิไดเ้ กิดจากความต้งั ใจ
2. การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นการเรียนรู้ดว้ ยความต้งั ใจของผเู้ รียน ซ่ึงมีความปรารถนาจะรู้ใน
เร่ืองน้นั ผูเ้ รียนจึงคิดหาวิธีการเรียนดว้ ยวิธีการต่าง ๆ หลงั จากน้นั จะมีการประเมินผลการเรียนรู้ด้วย
ตนเองจะเป็ นรูปแบบการเรียนรู้ที่ทวีความสาคญั ในโลกยุคโลกาภิวตั น์ บุคคลซ่ึงสามารถปรับตนเอง
ให้ตามทนั ความกา้ วหน้าของโลกโดยใช้ส่ืออุปกรณ์ยุคใหม่ได้ จะทาให้เป็ นคนที่มีคุณค่าและประสบ
ความสาเร็จไดอ้ ยา่ งดี
3. การเรียนรู้โดยกลุ่ม การเรียนรู้แบบน้ีเกิดจากการท่ีผเู้ รียนรวมกลุ่มกนั แลว้ เชิญผทู้ รงคุณวุฒิ
มาบรรยายใหก้ บั สมาชิกทาใหส้ มาชิกมีความรู้เร่ืองท่ีวทิ ยากรพดู
4. การเรียนรู้จากสถาบันการศึกษา เป็ นการเรียนแบบเป็ นทางการ มีหลกั สูตร การประเมินผล
มีระเบียบการเขา้ ศึกษาที่ชดั เจน ผเู้ รียนตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎระเบียบท่ีกาหนด เม่ือปฏิบตั ิครบถว้ นตามเกณฑ์
ที่กาหนดกจ็ ะไดร้ ับปริญญา หรือประกาศนียบตั ร
จากสถานการณ์การเรียนรู้ดงั กล่าวจะเห็นไดว้ า่ การเรียนรู้อาจเกิดไดห้ ลายวิธี และการเรียนรู้น้นั
ไมจ่ าเป็นตอ้ งเกิดข้ึนในสถาบนั การศึกษาเสมอไป การเรียนรู้อาจเกิดข้ึนไดจ้ ากการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง หรือ
จากการเรียนโดยกลุ่มก็ได้ และการที่บุคคลมีความตระหนักเรียนรู้อยู่ภายในจิตสานึกของบุคคลน้ัน
การเรียนรู้ด้วยตนเองจึงเป็ นตวั อย่างของการเรียนรู้ในลกั ษณะที่เป็ นการเรียนรู้ ท่ีทาให้เกิดการเรียนรู้
ตลอดชีวิต ซ่ึงมีความสาคญั สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน และสนับสนุนสภาพ
“สงั คมแห่งการเรียนรู้” ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

“การเรี ยนรู้เป็ นเพื่อนที่ดีท่ีสุดของมนุษย”์
(LEARNING makes a man fit company for himself) ... (Young)...

8

การเรียนรู้ด้วยตนเองคอื อะไร

เมื่อกล่าวถึง การเรียนด้วยตนเอง แล้วบุคคลโดยทว่ั ไปมกั จะเขา้ ใจว่าเป็ นการเรียนท่ีผูเ้ รียน
ทาการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองตามลาพงั โดยไม่ตอ้ งพ่ึงพาผสู้ อน แต่แทท้ ่ีจริงแลว้ การเรียนดว้ ยตนเองท่ี
ตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนในตวั ผเู้ รียนน้นั เป็ นกระบวนการเรียนรู้ท่ผี ู้เรียนริเริ่มการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความ
สนใจ ความต้องการ และความถนัด มเี ป้ าหมาย รู้จักแสวงหาแหล่งทรัพยากรของการเรียนรู้ เลอื กวธิ ีการ
เรียนรู้ จนถึงการประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเอง โดยจะดาเนินการด้วยตนเองหรือ
ร่วมมอื ช่วยเหลอื กบั ผ้อู น่ื หรือไม่กไ็ ด้ ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรับผิดชอบและเป็ นผู้ควบคุมการเรียนของ
ตนเอง

ท้งั น้ีการเรียนดว้ ยตนเองน้นั มีแนวคิดพ้ืนฐานมาจากแนวคิดทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยมท่ีมีความเชื่อ
ในเร่ืองความเป็ นอิสระและความเป็ นตวั ของตวั เองของมนุษยว์ ่ามนุษยท์ ุกคนเกิดมาพร้อมกบั ความดี มี
ความเป็นอิสระ เป็นตวั ของตวั เอง สามารถหาทางเลือกของตนเอง มีศกั ยภาพและสามารถพฒั นาศกั ยภาพ
ของตนเองไดอ้ ยา่ งไม่มีขีดจากดั รวมท้งั มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผอู้ ่ืน ซ่ึงการเรียนดว้ ยตนเอง
ก่อใหเ้ กิดผลในทางบวกต่อการเรียน โดยจะส่งผลให้ผเู้ รียนมีความเชื่อมน่ั ในตนเอง มีแรงจูงใจในการ
เรียนมากข้ึน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน และมีการใชว้ ิธีการเรียนท่ีหลากหลาย การเรียนดว้ ยตนเอง
จึงเป็นมาตรฐานการศึกษาที่ควรส่งเสริมใหเ้ กิดข้ึนในตวั ผเู้ รียนทุกคน เพราะเม่ือใดก็ตามท่ีผเู้ รียนมีใจรัก
ท่ีจะศึกษาคน้ ควา้ จากความตอ้ งการของตนเอง ผเู้ รียนก็จะมีการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งต่อเนื่องต่อไปโดยไม่
ตอ้ งมีใครบอกหรือบงั คบั เป็ นแรงกระตุน้ ให้เกิดความอยากรู้อยากเห็นต่อไปไม่มีที่สิ้นสุด ซ่ึงจะนาไปสู่
การเป็นผเู้ รียนรู้ตลอดชีวติ ตามเป้ าหมายของการศึกษาต่อไป

การเรียนดว้ ยตนเองมีอยู่ 2 ลกั ษณะคือ ลกั ษณะที่เป็ นการจดั การเรียนรู้ท่ีมีจุดเนน้ ใหผ้ เู้ รียนเป็ น
ศูนยก์ ลางในการเรียนโดยเป็ นผรู้ ับผิดชอบและควบคุมการเรียนของตนเองโดยการวางแผน ปฏิบตั ิการ
เรียนรู้ และประเมินการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ซ่ึงไมจ่ าเป็นจะตอ้ งเรียนดว้ ยตนเองเพียงคนเดียวตามลาพงั และ
ผเู้ รียนสามารถถ่ายโอนการเรียนรู้และทกั ษะที่ไดจ้ ากสถานการณ์หน่ึงไปยงั อีกสถานการณ์หน่ึงไดใ้ นอีก
ลกั ษณะหน่ึงเป็ นลกั ษณะทางบุคลิกภาพที่มีอยู่ในตวั ผูท้ ่ีเรียนด้วยตนเองทุกคนซ่ึงมีอยู่ในระดบั ที่ไม่
เท่ากนั ในแต่ละสถานการณ์การเรียน โดยเป็นลกั ษณะที่สามารถพฒั นาใหส้ ูงข้ึนไดแ้ ละจะพฒั นาไดส้ ูงสุด
เมื่อมีการจดั สภาพการจดั การเรียนรู้ท่ีเอ้ือกนั

การเรียนด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผ้เู รียนริเร่ิมการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง ตามความสนใจ ความต้องการ และความถนัด มีเป้ าหมาย รู้จักแสวงหาแหล่งทรัพยากรของการ
เรียนรู้ เลือกวิธีการเรียนรู้ จนถึงการประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเอง โดยจะดาเนินการด้วย
ตนเองหรือร่ วมมือช่วยเหลือกับผ้อู ื่นหรือไม่กไ็ ด้ ซ่ึงผ้เู รียนจะต้องมีความรับผิดชอบและเป็ นผ้คู วบคุมการ
เรียนของ ตนเอง

9

การเรียนรู้ด้วยตนเองมคี วามสาคญั อย่างไร

การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self - Directed Learning) เป็นแนวทางการเรียนรู้หน่ึงท่ีสอดคลอ้ งกบั การ
เปลี่ยนแปลงของสภาพปัจจุบนั และเป็ นแนวคิดท่ีสนบั สนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคม
สู่การเป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็ นการเรียนรู้ท่ีทาให้บุคคลมีการริเริ่มการ
เรียนรู้ดว้ ยตนเอง มีเป้ าหมายในการเรียนรู้ที่แน่นอน มีความรับผดิ ชอบในชีวติ ของตนเอง ไม่พ่ึงคนอ่ืน มี
แรงจูงใจ ทาใหผ้ เู้ รียนเป็ นบุคคลที่ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน ท่ีมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต เรียนรู้วิธีเรี ยน สามารถเรียนรู้
เรื่องราวต่าง ๆ ไดม้ ากกวา่ การเรียนท่ีมีครูป้ อนความรู้ใหเ้ พียงอยา่ งเดียว การเรียนรู้ดว้ ยตนเองไดน้ บั วา่
เป็นคุณลกั ษณะท่ีดีที่สุดซ่ึงมีอยใู่ น ตวั บุคคลทุกคน ผเู้ รียนควรจะมีคุณลกั ษณะของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
การเรียนรู้ดว้ ยตนเองจดั เป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวติ ยอมรับในศกั ยภาพของผเู้ รียนวา่ ผเู้ รียนทุกคน
มีความสามารถท่ีจะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง เพื่อท่ีตนเองสามารถที่ดารงชีวิตอยใู่ นสังคมท่ีมีการ
เปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลาไดอ้ ยา่ งมีความสุข ดงั น้นั การเรียนรู้ดว้ ยตนเองมีความสาคญั ดงั น้ี

1. บุคคลที่เรียนรู้ดว้ ยการริเริ่มของตนเองจะเรียนไดม้ ากกวา่ ดีกวา่ มีความต้งั ใจ มีจุดมุ่งหมาย
และมีแรงจูงใจสูงกว่า สามารถนาประโยชน์จากการเรียนรู้ไปใช้ได้ดีกว่าและยาวนานกว่าคนท่ีเรียน
โดยเป็นเพยี งผรู้ ับ หรือรอการถ่ายทอดจากครู

2. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองสอดคล้องกบั พฒั นาการทางจิตวิทยา และกระบวนการทางธรรมชาติ
ทาให้บุคคลมีทิศทางของการบรรลุวุฒิภาวะจากลกั ษณะหน่ึงไปสู่อีกลกั ษณะหน่ึง คือ เม่ือตอนเด็ก ๆ
เป็ นธรรมชาติที่จะตอ้ งพ่ึงพิงผูอ้ ่ืน ตอ้ งการผูป้ กครองปกป้ องเล้ียงดู และตดั สินใจแทนให้ เม่ือเติบโต
มีพฒั นาการข้ึนเร่ือย ๆ พฒั นาตนเองไปสู่ความเป็ นอิสระ ไม่ตอ้ งพ่ึงพิงผูป้ กครอง ครู และผอู้ ื่น การพฒั นา
เป็นไปในสภาพท่ีเพ่มิ ความเป็นตวั ของตวั เอง

3. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองทาใหผ้ เู้ รียนมีความรับผดิ ชอบ ซ่ึงเป็ นลกั ษณะท่ีสอดคลอ้ งกบั พฒั นาการ
ใหม่ ๆ ทางการศึกษา เช่น หลักสูตร ห้องเรียนแบบเปิ ด ศูนยบ์ ริการวิชาการ การศึกษาอย่างอิสระ
มหาวทิ ยาลยั เปิ ด ลว้ นเนน้ ใหผ้ เู้ รียนรับผดิ ชอบการเรียนรู้เอง

4. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองทาใหม้ นุษยอ์ ยรู่ อด การมีความเปล่ียนแปลงใหม่ ๆ เกิดข้ึนเสมอ ทาใหม้ ี
ความจาเป็นท่ีจะตอ้ งศึกษาเรียนรู้ การเรียนรู้ดว้ ยตนเองจึงเป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวติ

การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นคุณลกั ษณะที่สาคัญต่อการดาเนินชีวิตท่ีมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ผ้เู รียน
มีความตั้งใจและมีแรงจูงใจสูง มีความคิดริเร่ิมสร้ างสรรค์ มีความยืดหย่นุ มากขึน้ มีการปรับพฤติกรรม
การทางานร่ วมกับผ้อู ่ืนได้ รู้จักเหตุผล รู้จักคิดวิเคราะห์ ปรับและประยุกต์ใช้วิธีการแก้ปัญหาของตนเอง
จัดการกบั ปัญหาได้ดีขึน้ และสามารถนาประโยชน์ของการเรียนรู้ไปใช้ได้ดีและยาวนานขึน้ ทาให้ผ้เู รียน
ประสบความสาเร็จในการเรี ยน

10

การเรียนรู้ด้วยตนเองมลี กั ษณะอย่างไร

การเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถจาแนกออกเป็น 2 ลกั ษณะสาคัญ ดังนี้
1. ลกั ษณะที่เป็ นบุคลิกคุณลักษณะส่วนบุคคลของผูเ้ รียนในการเรียนด้วยตนเอง จดั เป็ น
องคป์ ระกอบภายในท่ีจะทาใหผ้ เู้ รียนมีแรงจูงใจอยากเรี ยนต่อไป โดยผเู้ รียนที่มี คุณลกั ษณะในการเรียน
ดว้ ยตนเองจะมีความรับผดิ ชอบต่อความคิดและการกระทาเก่ียวกบั การเรียน รวมท้งั รับผดิ ชอบในการ
บริหารจดั การตนเอง ซ่ึงมีโอกาสเกิดข้ึนไดส้ ูงสุดเมื่อมีการจดั สภาพการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมกนั
2. ลกั ษณะท่ีเป็ นการจดั การเรียนรู้ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนดว้ ยตนเอง ประกอบดว้ ย ข้นั ตอนการวางแผน
การเรียน การปฏิบตั ิตามแผน และการประเมินผลการเรียน จดั เป็ นองคป์ ระกอบ ภายนอกท่ีส่ง ผลต่อการ
เรียนดว้ ยตนเองของผูเ้ รียน ซ่ึงการจดั การเรียนรู้แบบน้ีผูเ้ รียนจะได้ประโยชน์จากการเรียนมากที่สุด
Knowles (1975) เสนอให้ใชส้ ัญญาการเรียน (Learning contracts) เป็ นการมอบหมายภาระงานให้แก่
ผเู้ รียนวา่ จะตอ้ งทาอะไรบา้ งเพ่อื ใหไ้ ดร้ ับความรู้ตามเป้ าประสงคแ์ ละผเู้ รียนจะปฏิบตั ิตามเงื่อนไขน้นั

องค์ประกอบของการเรียนรู้ด้วยตนเองมอี ะไรบ้าง

องค์ประกอบของการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีดงั นี้
1. การวิเคราะห์ความตอ้ งการของตนเองจะเริ่มจากให้ผูเ้ รียนแต่ละคนบอกความตอ้ งการ
และความสนใจของตนในการเรียนกบั เพ่ือนอีกคน ทาหนา้ ท่ีเป็ นที่ปรึกษา แนะนา และเพ่ือนอีกคน
ทาหนา้ ท่ีจดบนั ทึก และใหก้ ระทาเช่นน้ีหมุนเวียน ท้งั 3 คน แสดงบทบาทครบท้งั 3 ดา้ น คือ ผเู้ สนอ
ความตอ้ งการ ผใู้ หค้ าปรึกษา และผคู้ อยจดบนั ทึก การสังเกตการณ์ เพ่ือประโยชน์ในการเรียนร่วมกนั
และช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ในทุก ๆ ดา้ น
2. การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน โดยเร่ิมจากบทบาทของผเู้ รียนเป็นสาคญั ผเู้ รียนควรศึกษา
จุดมุ่งหมายของวิชา แลว้ เขียนจุดมุ่งหมายในการเรียนของตนใหช้ ดั เจน เนน้ พฤติกรรมที่คาดหวงั วดั ได้
มีความแตกต่างของจุดมุง่ หมายในแตล่ ะระดบั
3. การวางแผนการเรียน ให้ผเู้ รียนกาหนดแนวทางการเรียนตามวตั ถุประสงคท์ ี่ระบุไวจ้ ดั เน้ือหา
ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพความตอ้ งการและความสนใจของตน ระบุการจดั การเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง
มากท่ีสุด
4. การแสวงหาแหล่งวทิ ยาการท้งั ที่เป็นวสั ดุและบุคคล

4.1 แหล่งวทิ ยาการที่เป็นประโยชนใ์ นการศึกษาคน้ ควา้ เช่น หอ้ งสมุด พพิ ธิ ภณั ฑ์ เป็นตน้
4.2 ทกั ษะตา่ ง ๆ ท่ีมีส่วนช่วยในการแสวงแหล่งวทิ ยาการไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็ว เช่น
ทกั ษะการต้งั คาถาม ทกั ษะการอา่ น เป็นตน้

11

5. การประเมินผล ควรประเมินผลการเรียนดว้ ยตนเองตามที่กาหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนไว้
และใหส้ อดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคเ์ กี่ยวกบั ความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ ทศั นคติ ค่านิยม
มีข้นั ตอนในการประเมิน คือ

5.1 กาหนดเป้ าหมาย วตั ถุประสงคใ์ หช้ ดั เจน
5.2 ดาเนินการใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคซ์ ่ึงเป็นสิ่งสาคญั
5.3 รวบรวมหลกั ฐานจากผลการประเมินเพอ่ื ตดั สินใจซ่ึงตอ้ งต้งั อยบู่ นพ้นื ฐานของ
ขอ้ มูลที่สมบรู ณ์และเช่ือถือได้
5.4 เปรียบเทียบขอ้ มลู ก่อนเรียนกบั หลงั เรียนเพื่อดูวา่ ผเู้ รียนมีความกา้ วหนา้ เพียงใด
5.5 ใชแ้ หล่งขอ้ มูลจากครูและผเู้ รียนเป็นหลกั ในการประเมิน

องค์ประกอบของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผเู้ รียนควรมีการวเิ คราะห์ความตอ้ งการ วเิ คราะห์
เน้ือหา กาหนดจุดมุ่งหมายและการวางแผนในการเรียน มีความสามารถในการแสวงหาแหล่ง
วทิ ยาการ และมีวธิ ีในการประเมินผลการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง โดยมีเพ่ือนเป็นผรู้ ่วมเรียนรู้ไปพร้อมกนั
และมีครูเป็นผชู้ ้ีแนะ อานวยความสะดวก และใหค้ าปรึกษา ท้งั น้ี ครูอาจตอ้ งมีการวเิ คราะห์ความ
พร้อมหรือทกั ษะท่ีจาเป็นของผเู้ รียนในการกา้ วสู่การเป็ นผเู้ รียนรู้ดว้ ยตนเองได้

รายละเอยี ดกจิ กรรมการเรียนรู้

กจิ กรรมที่ 1 ใหอ้ ธิบายความหมายของคาวา่ “การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง” โดยสงั เขป
กจิ กรรมท่ี 2 ใหอ้ ธิบาย “ความสาคญั ของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง” โดยสงั เขป
กจิ กรรมท่ี 3 ใหส้ รุปสาระสาคญั ของ “ลกั ษณะการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง” มาพอสังเขป
กจิ กรรมท่ี 4 ใหส้ รุปสาระสาคญั ของ “องคป์ ระกอบของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง” มาพอสงั เขป

12

เร่ืองท่ี 2 การกาหนดเป้ าหมาย และการวางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง

กระบวนการในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ความรับผิดชอบในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองของผเู้ รียน เป็ น
ส่ิงสาคญั ท่ีจะนาผูเ้ รียนไปสู่การเรียนรู้ด้วยตนเอง เพราะความรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเองน้ัน
หมายถึง การที่ผูเ้ รียนควบคุมเน้ือหา กระบวนการ องคป์ ระกอบของสภาพแวดลอ้ มในการเรียนรู้ของ
ตนเอง ไดแ้ ก่ การวางแผนการเรียนของตนเอง โดยอาศยั แหล่งทรัพยากรทางความรู้ต่าง ๆ ท่ีจะช่วย นา
แผนสู่การปฏิบตั ิ แต่ภายใตค้ วามรับผดิ ชอบของผเู้ รียน ผเู้ รียนรู้ดว้ ยตนเองตอ้ งเตรียมการวางแผน การ
เรียนรู้ของตน และเลือกส่ิงท่ีจะเรียนจากทางเลือกที่กาหนดไว้ รวมท้งั วางโครงสร้างของแผนการเรียนรู้
ของตนอีกดว้ ย ในการวางแผนการเรียนรู้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถปฏิบตั ิงานที่กาหนด วินิจฉยั ความช่วยเหลือ
ท่ีตอ้ งการ และทาใหไ้ ดค้ วามช่วยเหลือน้นั สามารถเลือกแหล่งความรู้ วเิ คราะห์ และวางแผนการเรียน
ท้งั หมด รวมท้งั ประเมินความกา้ วหนา้ ในการเรียนของตน

ในการเรียนรู้ด้วยตนเองผู้เรียนและครูควรมีบทบาทอย่างไร
การเปรียบเทยี บบทบาทของครูและผู้เรียนตามกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง

บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทบาทของครูในการเรียนรู้ด้วยตนเอง

1. การวเิ คราะห์ความต้องการในการเรียน 1. การวเิ คราะห์ความต้องการในการเรียน

 วนิ ิจฉยั การเรียนรู้  สร้างความคุน้ เคยใหผ้ เู้ รียนไวว้ างใจ เขา้ ใจ

 วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียนรู้ของตน บทบาทครู บทบาทของตนเอง

 รับรู้และยอมรับความสามารถของตน  วเิ คราะห์ความตอ้ งการการเรียนรู้ของผเู้ รียน

 มีความรับผดิ ชอบในการเรียนรู้ และพฤติกรรมท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดแก่ผเู้ รียน

 สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีพอใจดว้ ยตนเอง  กาหนดโครงสร้างคร่าว ๆ ของหลกั สูตร

 มีส่วนร่วมในการระบุความตอ้ งการในการเรียน ขอบเขตเน้ือหากวา้ ง ๆ สร้างทางเลือกท่ี

 เลือกสิ่งที่จะเรียนจากทางเลือกต่างๆ ท่ี หลากหลาย

กาหนด  สร้างบรรยากาศใหเ้ กิดความตอ้ งการการเรียน

 วางโครงสร้างของโครงการเรียนของตน  วเิ คราะห์ความพร้อมในการเรียนรู้ของผเู้ รียน

โดยการตรวจสอบความพร้อมของผเู้ รียน

 มีส่วนร่วมในการตดั สินใจในทางเลือกน้นั

 แนะนาขอ้ มลู ใหผ้ เู้ รียนคิด วเิ คราะห์เอง

13

การเปรียบเทยี บบทบาทของครูและผ้เู รียนตามกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (ต่อ)

บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทบาทของครูในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
2. การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน
 ฝึกการกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน 2. การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน
 รู้จุดมุง่ หมายในการเรียน และเรียนใหบ้ รรลุ  กาหนดโครงสร้างคร่าว ๆ วตั ถุประสงคก์ าร
เรียนของวชิ า
จุดมุ่งหมาย  ช่วยใหผ้ เู้ รียนเปล่ียนความตอ้ งการที่มีอยใู่ ห้
 ร่วมกนั พฒั นาเป้ าหมายการเรียนรู้ เป็นจุดมุง่ หมายการเรียนรู้ท่ีวดั ไดเ้ ป็นไดจ้ ริง
 กาหนดจุดมุง่ หมายจากความตอ้ งการของตน  เปิ ดโอกาสใหม้ ีการระดมสมอง ร่วมแสดง
ความคิดเห็นและการนาเสนอ
3. การออกแบบแผนการเรียน  แนะนาขอ้ มลู ใหผ้ เู้ รียนคิด วเิ คราะห์เอง
 ฝึกการทางานอยา่ งมีข้นั ตอนจากง่ายไปยาก
 การใชย้ ทุ ธวธิ ีที่เหมาะสมในการเรียน 3. การออกแบบแผนการเรียน
 มีความรับผดิ ชอบในการดาเนินงานตามแผน  เตรียมความพร้อมโดยจดั ประสบการณ์การ
 ร่วมมือ ร่วมใจรับผดิ ชอบการทางานกลุ่ม เรียนรู้ เสริมทกั ษะท่ีจาเป็นในการเรียนรู้
 รับผดิ ชอบควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของ  มีส่วนร่วมในการตดั สินใจ วธิ ีการทางาน ตอ้ ง
ตนเองตามแผนการเรียนท่ีกาหนดไว้ ทราบวา่ เรื่องใดใชว้ ธิ ีใด สอนอยา่ งไร มีส่วนร่วม
ตดั สินใจเพยี งใด
4. การแสวงหาแหล่งวทิ ยาการ  ยว่ั ยใุ หเ้ กิดพฤติกรรมการเรียนรู้
 ฝึกคน้ หาความรู้ตามที่ไดร้ ับมอบหมายจาก  ผปู้ ระสานสิ่งท่ีตนเองรู้กบั ส่ิงท่ีผเู้ รียนตอ้ งการ
 แนะนาขอ้ มูลให้ผเู้ รียนคิด วิเคราะห์เองจนได้
แหล่งการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย แนวทางท่ีแจม่ แจง้ สร้างทางเลือกที่หลากหลาย
 กาหนดบุคคล และส่ือการเรียนที่เกี่ยวขอ้ ง ใหผ้ เู้ รียนเลือกปฏิบตั ิตามแนวทางของตน
 มีส่วนร่วมในการสืบคน้ ขอ้ มลู ร่วมกบั เพ่อื นๆ
4. การแสวงหาแหล่งวทิ ยาการ
ดว้ ยความรับผดิ ชอบ  สอนกลยทุ ธ์การสืบคน้ ขอ้ มูล ถ่ายทอดความรู้
 เลือกใชป้ ระโยชน์จากกิจกรรมและยทุ ธวธิ ีท่ีมี
ประสิทธิภาพเพอื่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนด ถา้ ผเู้ รียนตอ้ งการ
 กระตุน้ ความสนใจช้ีแหล่งความรู้ แนะนาการใชส้ ื่อ
 จดั รูปแบบเน้ือหา ส่ือการเรียนท่ีเหมาะสม

บางส่วน
 สงั เกต ติดตาม ใหค้ าแนะนาเม่ือผเู้ รียนเกิด
ปัญหาและตอ้ งการคาปรึกษา

14

การเปรียบเทยี บบทบาทของครูและผู้เรียนตามกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (ต่อ)

บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทบาทของครูในการเรียนรู้ด้วยตนเอง

5. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5. การประเมินผลการเรียนรู้
 ฝึกการประเมินผลการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง  ใหค้ วามรู้และฝึกผเู้ รียนในการประเมินผล
 มีส่วนร่วมในการประเมินผล การเรียนรู้ที่หลากหลาย
 ผเู้ รียนประเมินผลสัมฤทธ์ิดว้ ยตนเอง  เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนนาเสนอวธิ ีการ เกณฑ์
ประเมินผล และมีส่วนร่วมในการตดั สินใจ
 จดั ทาตารางการประเมินผลท่ีจะใชร้ ่วมกนั
 แนะนาวธิ ีการประเมินเมื่อผเู้ รียนมีขอ้ สงสัย

จะเห็นได้ว่า ท้งั ผูเ้ รียนและครูต้องมีการวินิจฉัยความต้องการส่ิงที่จะเรียน ความพร้อม
ของผเู้ รียนเกี่ยวกบั ทกั ษะท่ีจาเป็นในการเรียน การกาหนดเป้ าหมาย การวางแผนการเรียนรู้ การแสวงหา
แหล่งวิทยาการ การประเมินผลการเรียนรู้ ซ่ึงครูเป็ นผฝู้ ึ กฝน ให้แรงจูงใจ แนะนา อานวยความสะดวก
โดยเตรียมการเบ้ืองหลงั และให้คาปรึกษา ส่วนผเู้ รียนตอ้ งเป็ นผเู้ ริ่มตน้ ปฏิบตั ิ ดว้ ยความกระตือรือร้น
เอาใจใส่ และมีความรับผดิ ชอบ กระทาอยา่ งต่อเน่ืองดว้ ยตนเอง เรียนแบบมีส่วนร่วม จึงทาให้ผเู้ รียน
เป็ นผเู้ รียนรู้ดว้ ยตนเองได้ ดงั หลกั การที่วา่ “การเรียนรู้ตอ้ งเริ่มตน้ ท่ีตนเอง” และ ศกั ยภาพอนั พร้อมท่ี
จะเจริญเติบโตดว้ ยตนเองน้นั ผเู้ รียนควรนาหวั ใจนกั ปราชญ์ คือ สุ จิ ปุ ลิ หรือ ฟัง คิด ถาม เขียน มาใช้
ในการสังเคราะห์ความรู้ นอกจากน้ี กระบวนการเรียนรู้ในบริบททางสังคม จะเป็ นพลงั อนั หน่ึงใน
การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ซ่ึงเป็ นการเรียนรู้ในสภาพชีวติ ประจาวนั ท่ีตอ้ งอาศยั สภาพแวดลอ้ มมีส่วนร่วมใน
กระบวนการ ทาให้เกิดบรรยากาศการแลกเปล่ียน พ่ึงพากนั แต่ภายใตค้ วามเป็ นอิสระในทางเลือก
ของผเู้ รียนดว้ ยวิจารณญาณที่อาศยั เหตุผล ประสบการณ์ หรือคาช้ีแนะจากผรู้ ู้ ครู และผเู้ รียนจึงเป็ น
ความรับผดิ ชอบร่วมกนั ตอ่ ความสาเร็จในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

15

ลกั ษณะสาคญั ในการเรียนรู้ด้วยตนเองของผ้เู รียน มีดงั น้ี
1. การมีส่วนร่วมในการวางแผน การปฏิบตั ิตามแผน และการประเมินผลการเรียนรู้ ไดแ้ ก่

ผเู้ รียนมีส่วนร่วมวางแผนกิจกรรมการเรียนรู้บนพ้ืนฐานความตอ้ งการของกลุ่มผเู้ รียน
2. การเรียนรู้ที่คานึงถึงความสาคญั ของผเู้ รียนเป็ นรายบุคคล ไดแ้ ก่ ความแตกต่างในความ

สามารถ ความรู้พ้ืนฐาน ความสนใจเรียน วธิ ีการเรียนรู้ จดั เน้ือหาและส่ือใหเ้ หมาะสม
3. การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ไดแ้ ก่ การสืบคน้ ขอ้ มูล ฝึ กเทคนิคที่จาเป็ น เช่น การสังเกต

การอา่ นอยา่ งมีจุดประสงค์ การบนั ทึก เป็นตน้
4. การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ซ่ึงกนั และกนั ไดแ้ ก่ การกาหนดให้ผเู้ รียนแบ่งความรับผดิ ชอบ

ในกระบวนการเรียนรู้ การทางานเด่ียว และเป็นกลุ่มที่มีทกั ษะการเรียนรู้ต่างกนั
5. การพฒั นาทกั ษะการประเมินตนเองและการร่วมมือในการประเมินกบั ผอู้ ื่น ไดแ้ ก่ การให้

ผเู้ รียนเขา้ ใจความตอ้ งการในการประเมิน ยอมรับการประเมินจากผอู้ ื่น เปิ ดโอกาสให้ประเมินหลาย
รูปแบบ

กระบวนการในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เป็ นวิธีการท่ีผเู้ รียนตอ้ งจดั กระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

โดยดาเนินการ ดงั น้ี

1. การวนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียน

2. การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน

3. การออกแบบแผนการเรียน

4. การดาเนินการเรียนรู้จากแหล่งวทิ ยาการ

5. การประเมินผล

การตอบสนองของผเู้ รียนและครูตามกระบวนการในเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มีดงั น้ี

ข้นั ตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู
ผ้เู รียน

1. วินิ จฉัยความ 1. ศึกษา ทาความเขา้ ใจ 1. กระตุน้ ให้ผูเ้ รียนตระหนักถึงความจาเป็ นในการ

ต้อง การในการ คาอธิบายรายวชิ า เรียนรู้ดว้ ยตนเอง

เรียนรู้ของผเู้ รียน 2. วินิจฉยั ความตอ้ งการ 2. วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา จุดประสงค์ เน้ือหา

ในการเรียนของตนเอง กิจกรรมและการประเมินการเรียนรายวชิ า

ท้งั รายวชิ าและรายหวั ขอ้ 3. อธิบายใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจคาอธิบายรายวชิ า

การเรียน 4. ให้คาแนะนาแก่ผูเ้ รียนในการวินิจฉยั ความตอ้ งการ

3. แบ่งกลุ่มอภิปราย ในการเรียน

เก่ียวกบั ความตอ้ งการใน 5. อานวยความสะดวกในการเรียนแบบร่วมมือในกลุ่ม

การเรี ยนเพ่ือให้ผู้เรี ย น

16

ข้นั ตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู
ผู้เรียน

แต่ละคนม่ันใจในการ

วินิจฉัยความตอ้ งการใน

การเรียนของตนเอง

2. กาหนด 1. ผเู้ รียนแต่ละคนเขียน 1. ให้คาแนะนาแก่ผูเ้ รียนในการเขียนจุดมุ่งหมายการ

จุดมุ่งหมาย จุดมุง่ หมาย การเรียนใน เรียนท่ีถูกตอ้ ง

ในการเรียน แต่ละหวั ขอ้ การเรียน ที่

วดั ได้ สอดคลอ้ งกบั

ความตอ้ งการในการ

เรียนของผเู้ รียนและ

อธิบายรายวชิ า

3. วางแผนการ 1. ทาความเขา้ ใจเก่ียวกบั 1. ใหค้ าแนะนาผูเ้ รียนเกี่ยวกบั ความจาเป็ นและวธิ ีการ

เ รี ย น โ ด ย เ ขี ย น ความจาเป็นและวธิ ีการ วางแผนการเรียน

สัญญาการเรียน วางแผนการเรียน 2. ใหค้ าแนะนาผเู้ รียนในการเขียนสัญญาการเรียน

2. เขียนสัญญาการเรียน

ที่สอดคลอ้ งกบั

คาอธิบาย รายวชิ า

รวมท้งั ความตอ้ งการ

และความสนใจของ

ตนเอง ในการเรียนแต่ละ

คร้ัง

4. เขียนโครงการ 1. ร่วมกบั ผสู้ อนและ 1. ใหค้ าแนะนาในการเขียนโครงการเรียนรู้รายวชิ า

เรียนรู้ เพ่ือนเขียนโครงการ 2. พิจารณาโครงการเรียนรู้ร่วมกบั ผเู้ รียนโดยกระตุน้ ให้

เรียนรู้ของท้งั ช้นั โดย ผเู้ รียนแสดงความคิดเห็นอยา่ งทวั่ ถึง

พจิ ารณาจากโครงการ 3. ร่วมกบั ผเู้ รียนสรุปโครงการเรียนรู้ใหเ้ หมาะสม

เรียนรู้ท่ีผสู้ อนร่างมา
และสญั ญาการเรียนของ
ทุกคน

17

ข้นั ตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู
ผู้เรียน
5. ดาเนินการ
เรียนรู้ 1. ทบทวนความรู้เดิม 1. ทดสอบความรู้เดิมของผเู้ รียน โดยใชเ้ ทคนิคการต้งั

ของตนเองที่จาเป็น คาถามหรือทดสอบ

สาหรับการสร้างความรู้ 2. ให้ความรู้เสริม เพ่ือให้แน่ใจว่าผูเ้ รียนจะสามารถ
ใหม่ โดยการตอบคาถาม เช่ือมโยงความรู้เดิมกบั ความรู้ใหม่ได้
หรือทาแบบทดสอบ 3. ต้งั คาถามเพื่อกระตุน้ ให้ผเู้ รียนคน้ หา คาตอบและ
2. ผเู้ รียนแตล่ ะคน
ประมวลคาตอบดว้ ยตนเอง
ดาเนินการเรียนตาม 4. สร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียน
สญั ญาการเรียนอยา่ ง 5. ใหค้ าปรึกษา ให้ขอ้ มูลช่วยเหลือ และอานวยความ
กระตือรือร้น โดยการ สะดวกในกิจกรรมการเรียนของผเู้ รียนตามความจาเป็ น
สืบคน้ และแสวงหา และความตอ้ งการของผเู้ รียน
ความรู้เพื่อสนองตอบ 6. กระตุน้ ให้ผเู้ รียนใชค้ วามรู้และประสบการณ์เดิมท่ี
ความตอ้ งการในการ เก่ียวข้องกันมาใช้ในการค้นหาคาตอบ โดยให้
เรียนดว้ ยวธิ ีการที่
ยกตวั อย่างหรือเปรียบเทียบเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ
หลากหลาย และใช้ เร่ืองท่ีเรียน
แหล่งทรัพยากรการเรียน 7. ติดตามในการเรียนของผเู้ รียนตามสัญญาการเรียน
ท่ีเหมาะสมตามความ และใหค้ าแนะนา
ตอ้ งการของตนเอง โดย 8. ติดตามเป็นระยะๆ และใหข้ อ้ มลู ป้ อนกลบั แก่ผเู้ รียน
นาความรู้และ
9. บนั ทึกปัญหาและข้อขัดขอ้ งต่างๆในการดาเนิน
ประสบการณ์เดิมที่ กิจกรรมการเรียนเพอ่ื เสนอแนะการปรับปรุงใหด้ ีข้ึน
เกี่ยวขอ้ งกนั มาใชใ้ นการ 10. ใหอ้ ิสระแก่ผเู้ รียนในการทากิจกรรม
คน้ หาคาตอบ
และกระตุ้นให้ผูเ้ รียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
3. แบ่งกลุ่มเรียนแบบ อยา่ งเตม็ ท่ี ยอมรับฟังความคิดเห็นของผูเ้ รียน และไม่
ร่วมมือ เพื่อศึกษาใน ตดั สินวา่ ความคิดเห็นของผเู้ รียนไมถ่ ูกตอ้ ง
ประเด็นท่ีตอ้ งตอบ 11. กระตุน้ ให้ผูเ้ รียนส่ือสารความรู้ความ เขา้ ใจและ
คาถาม โดยการปรับ แนวคิดของตนเองใหผ้ อู้ ่ืน เขา้ ใจอยา่ งชดั เจน
จุดมุง่ หมายในการเรียน 12. กระตุ้นให้ผู้เรี ยนมีส่วนร่วมในการอภิปราย
ของ ผเู้ รียนแต่ละคนเป็น แลกเปล่ียนความคิดเห็นอยา่ งกวา้ งขวางท้งั ในกลุ่มและ
ของกลุ่ม แลว้ แบง่
ช้นั เรียน
บทบาทหนา้ ท่ีเพื่อ
13. สังเกตการเรียนของผเู้ รียน บนั ทึก พฤติกรรมและ
แสวงหาความรู้ โดยใช้ กระบวนการเรียนของ ผเู้ รียน รวมท้งั เหตุการณ์ที่ส่งผล

18

ข้นั ตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู
ผู้เรียน

เทคนิคการต้งั คาถามเพื่อ ต่อการเรียน

นาไปสู่การหาคาตอบ 14. กระตุน้ ให้ผเู้ รียนสรุปความรู้ความเขา้ ใจในบทเรียน

ท้งั น้ีกลุ่มผเู้ รียนแต่ละ ดว้ ยตนเอง

กลุ่มอาจมีรูปแบบในการ 15. กลนั่ กรอง แกไ้ ข และเสริมสาระสาคญั ของบทเรียน

ทากลุ่มที่แตกต่างกนั ใหช้ ดั เจนและครอบคลุมจุดมุง่ หมายการเรียน

4. ใชค้ วามคิดอยา่ งเตม็ ที่ 16. ร่วมกับผูเ้ รียนอภิปรายเกี่ยวกับวิธีการเรียนที่มี

มีปฏิสัมพนั ธ์ โตต้ อบ ประสิทธิภาพ สิ่งท่ีสนบั สนุนและส่ิงท่ีขดั ขวางการเรียน

คดั คา้ น สนบั สนุน และ

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

และความรู้สึกที่เปิ ด

กวา้ งในกลุ่ม และรับฟัง

ความคิดเห็นของผอู้ ื่น

เพอื่ หาแนวทางการไดม้ า

ซ่ึงคาตอบที่ตอ้ งการของ

ตนเอง และของกลุ่ม

5. แสดงความสามารถ

ของตนเอง และยอมรับ

ความสามารถของผอู้ ่ืน

6. ตดั สินใจ และช่วย

แกป้ ัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน

ในกิจกรรมการเรียน

7. ฝึกปฏิบตั ิทกั ษะที่ตอ้ ง

ศึกษาตาม จุดมุ่งหมาย

การเรียน

8. ขอความช่วยเหลือจาก

ผสู้ อนตามความ

เหมาะสม

9. ปรึกษาผสู้ อนเป็ น

ระยะ ๆ ตามท่ีระบุไวใ้ น

สญั ญาการเรียนเพือ่ ขอ

19

ข้นั ตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู

ผู้เรียน

คาแนะนา ช่วยเหลือ
10. ปรับเปลี่ยนการ
ดาเนินการเรียน ตาม
ความเหมาะสม และ
บนั ทึกส่ิงท่ี ปรับเปล่ียน
ลงในสัญญาการเรียนให้
ชดั เจน และนาไปเป็น
ขอ้ มลู ในการวนิ ิจฉยั
ตนเองเพ่ือต้งั จุดมุ่งหมาย
ในการเรียนคร้ังตอ่ ไป
11. อภิปรายและสรุป
ความรู้ท่ีไดใ้ นกลุ่ม
12. นาเสนอวธิ ีการเรียน
และความรู้ท่ีไดต้ ่อท้งั
ช้นั โดยใชร้ ูปแบบใน
การแสดงออกในสิ่งท่ีตน
ไดเ้ รียนรู้ท่ีหลากหลาย
13. อภิปราย แสดงความ
คิดเห็น สะทอ้ น
ความรู้สึกและให้
ขอ้ เสนอแนะเก่ียวกบั
วธิ ีการเรียนดว้ ยตนเองท่ี
มีประสิทธิภาพ สิ่ง
สนบั สนุนและส่ิง
ขดั ขวางการ เรียน
14. ร่วมกนั สรุปประเด็น
ความรู้ท่ีไดใ้ น ช้นั เรียน
15. เขียนรายงานผลการ
เรียน ท้งั ในดา้ นเน้ือหา
และวธิ ีการเรียน รวมท้งั

20

ข้นั ตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู
ผ้เู รียน

ความรู้สึกเกี่ยวกบั

ความสาเร็จหรือไม่

สาเร็จในการเรี ยนเป็ น

รายบุคคลและรายกลุ่ม

6. ประเมินผลการ 1. ประเมินผลการเรียน 1. กระตุน้ ให้ผเู้ รียนตรวจสอบความรู้ความเขา้ ใจของ

เรียนรู้ ของตนเอง โดย ตนเองตลอดเวลา

เปรียบเทียบกบั 2. ประเมินการเรียนของผเู้ รียนจากการสังเกตพฤติกรรม

จุดมุ่งหมายในการเรียน ในการเรียน ความสามารถในการเรียนตามสัญญาการ

ของตนเอง เรียน และผลงานในแฟ้ มสะสมงาน

2. ให้เพื่อนและครูช่วย 3. ให้ขอ้ มูลป้ อนกลบั แก่ผเู้ รียนรายบุคคลและรายกลุ่ม

สะทอ้ นผลการเรียน เกี่ยวกบั กระบวนการเรียนดว้ ยตนเองและพฤติกรรมใน

3. ใหข้ อ้ มูลป้ อนกลบั แก่ การเรียนรวมท้งั ใหข้ อ้ เสนอแนะ ตามความ เหมาะสม

เพ่อื นในกลุ่ม

กระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ประกอบด้วยข้นั ตอน วินิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียนรู้ของ
ผเู้ รียน กาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน วางแผนการเรียนโดยใช้สัญญาการเรียน เขียนโครงการเรียนรู้
ดาเนินการเรียนรู้และประเมินผลการเรี ยนรู้น้ัน ผูเ้ รี ยนจะได้ประโยชน์จากการเรี ยนมากที่สุด
“สัญญาการเรียน ( Learning Contract)” เป็ นการมอบหมายภาระงานใหก้ บั ผเู้ รียนวา่ จะตอ้ งทาอะไรบา้ ง
เพอื่ ใหไ้ ดร้ ับความรู้ตามเป้ าประสงค์ และผเู้ รียนจะปฏิบตั ิตามเงื่อนไขน้นั

สัญญาการเรียน (Learning Contract)

คาว่า สัญญา โดยทว่ั ไปหมายถึง ขอ้ ตกลงระหวา่ งบุคคล 2 ฝ่ าย หรือหลายฝ่ ายวา่ จะทาการหรือ
งดเวน้ กระทาการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ความจริงน้นั ในระบบการจดั การเรียนรู้ก็มีการทาสัญญากนั ระหวา่ ง
ครูกบั ผเู้ รียน แต่ส่วนมากไม่ไดเ้ ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรวา่ ถา้ ผเู้ รียนทาได้อย่างน้นั แล้ว ผูเ้ รียนจะไดร้ ับ
อะไรบา้ งตามข้อตกลง สัญญาการเรียนจะเป็ นเคร่ืองมือท่ีช่วยให้ผเู้ รียนสามารถกาหนดแนวการเรียน
ของตวั เองไดด้ ียงิ่ ข้ึน ทาใหป้ ระสบผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมายและเป็นเคร่ืองยนื ยนั ท่ีเป็นรูปธรรม

ท่านคงแปลกใจท่ีไดย้ ินคาว่า “สัญญา” เพราะคาน้ีเป็ นคาท่ีคุน้ หูกนั ดีอยู่ แต่ไม่แน่ใจว่าท่านเคย
ไดย้ ินคาวา่ “สัญญาการเรียน” หรือยงั คาวา่ สัญญาการเรียนมีผเู้ ร่ิมใชเ้ ป็ นคนแรกคือ Dr. M.S. Knowles
ศาสตราจารย์ สอนวชิ าการศึกษาผใู้ หญ่ มหาวทิ ยาลยั North Carolina State ในสหรัฐอเมริกา

21

คาวา่ สัญญา แปลตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน แปลวา่ “ขอ้ ตกลงกนั ” ดงั น้นั สัญญา
การเรียน ก็คือขอ้ ตกลงที่ผเู้ รียนไดท้ าไวก้ บั ครูว่าเขาจะปฏิบตั ิอย่างไรบา้ งในกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้
บรรลุจุดมุ่งหมายของหลกั สูตรนน่ั เอง

สัญญาการเรียนเป็ นรูปแบบของการเรียนรู้ท่ีแสดงหลกั ฐานของการเรียนรู้โดยใช้แฟ้ มสะสม
ผลงานหรือ Portfolio

1. แนวคดิ
การจดั การเรียนรู้ในระะบบ เป็ นการเรียนรู้ที่ครูเป็ นผกู้ าหนดรูปแบบ เน้ือหา กิจกรรมเป็ นส่วน
ใหญ่ ผู้เรียนเป็ นแต่เพียงผู้ปฏิบัติตาม ไม่ได้มีโอกาสในการมีส่วนร่วมในการวางแผนการเรียน
นกั การศึกษาท้งั ในตะวนั ตกและแอฟริกา มองเห็นวา่ ระบบการศึกษาแบบน้ีเป็ นระบบการศึกษาของพวก
จกั รพรรดินิยมหรือเป็ นการศึกษาของพวกชนช้นั สูงบา้ ง เป็ นระบบการศึกษาของผถู้ ูกกดข่ีบา้ ง สรุปแลว้
กค็ ือระบบการศึกษาแบบน้ีไม่ไดฝ้ ึ กคนใหเ้ ป็ นตวั ของตวั เอง ไม่ไดฝ้ ึ กใหค้ นรู้จกั พ่ึงตนเอง จึงมีผพู้ ยายาม
ที่จะเปลี่ยนแนวคิดทางการศึกษาใหม่ อย่างเช่นระบบการศึกษาที่เน้นการฝึ กให้คนได้รู้จกั พ่ึงตนเอง
ในประเทศแทนซาเนีย การศึกษาท่ีใหค้ นคิดเป็นในประเทศไทยเราเหล่าน้ีเป็นตน้ รูปแบบของการศึกษา

ในอนาคต ควรจะมุ่งไปสู่ตัวผู้เรียนมากกว่าตัวผูส้ อน เพราะว่าในโลกปัจจุบันวิทยาการใหม่ ๆ
ไดเ้ จริญกา้ วหน้าไปอยา่ งรวดเร็วมีหลายสิ่งหลายอยา่ งที่มนุษยจ์ ะตอ้ งเรียนรู้ ถา้ จะให้แต่มาคอยบอกกนั
คงทาไม่ได้ ดงั น้นั ในการเรียนจะตอ้ งมีการฝึ กฝนให้คิดใหร้ ู้จกั การหาวธิ ีการที่ไดศ้ ึกษาส่ิงท่ีคนตอ้ งการ
กล่าวง่าย ๆ ก็คือ ผเู้ รียนที่ไดร้ ับการศึกษาแบบท่ีเรียกวา่ เรียนรู้เพอื่ การเรียนในอนาคต

2. ทาไมจะต้องมกี ารทาสัญญาการเรียน
ผลจากการวิจยั เกี่ยวกบั การเรียนรู้ของผูใ้ หญ่ พบวา่ ผใู้ หญ่จะเรียนไดด้ ีท่ีสุดก็ต่อเมื่อการเรียนรู้
ดว้ ยตนเอง ไม่ใช่การบอกหรือการสอนแบบท่ีเป็ นโรงเรียน และผลจากการวิจยั ทางดา้ นจิตวิทยายงั พบ
อีกว่า ผใู้ หญ่มีลกั ษณะท่ีเด่นชดั ในเรื่องความตอ้ งการท่ีจะทาอะไรดว้ ยตนเองโดยไม่ตอ้ งมีการสอนหรือ
การช้ีแนะมากนกั
อยา่ งไรก็ดีเมื่อพูดถึงระบบการศึกษาก็ย่อมจะตอ้ งมีการกล่าวถึงคุณภาพของบุคคลท่ีเขา้ มาอยู่
ในระบบการศึกษา จึงมีความจาเป็ นที่จะตอ้ งกาหนดกฎเกณฑ์ข้ึนมาเพื่อเป็ นมาตรฐาน ดงั น้นั ถึงแมจ้ ะ
ให้ผเู้ รียนเรียนรู้ดว้ ยตนเองก็ตามก็จาเป็ นจะตอ้ งสร้างมาตรการข้ึนมาเพ่ือการควบคุมคุณภาพของผูเ้ รียน
เพื่อให้มีมาตรฐานตามที่สังคมยอมรับ เหตุน้ีสัญญาการเรียนจึงเขา้ มามีบทบาทในการเรียนการสอน
เป็ นการวางแผนการเรี ยนท่ีเป็ นระบบ
ขอ้ ดีของสัญญาการเรียน คือเป็ นการประสานความคิดที่วา่ การเรียนรู้ ควรใหผ้ เู้ รียนกาหนดและ
การศึกษาจะตอ้ งมีเกณฑ์มาตรฐานเขา้ ดว้ ยกนั เพราะในสัญญาการเรียนจะบ่งระบุวา่ ผูเ้ รียนตอ้ งการเรียน
เร่ืองอะไรและจะวดั วา่ ไดบ้ รรลุตามความมุง่ หมายแลว้ น้นั หรือไม่อยา่ งไร มีหลกั ฐานการเรียนรู้อะไรบา้ ง
ที่บ่งบอกวา่ ผเู้ รียนมีผลการเรียนรู้อยา่ งไร

22

3. การเขียนสัญญาการเรียน
การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ซ่ึงเริ่มจากการจดั ทาสญั ญาการเรียนจะมีลาดบั การดาเนินการ ดงั น้ี
ข้นั ท่ี 1 แจกหลกั สูตรใหก้ บั ผเู้ รียนในหลกั สูตรจะตอ้ งระบุ
 จุดประสงคข์ องรายวชิ าน้ี
 รายช่ือหนงั สืออา้ งอิงหรือหนงั สือสาหรับที่จะศึกษาคน้ ควา้
 หน่วยการเรียนยอ่ ย พร้อมรายชื่อหนงั สืออา้ งอิง
 ครูอธิบาย และทาความเขา้ ใจกบั ผเู้ รียนในเร่ืองหลกั สูตร จุดมุ่งหมายและหน่วยการ
เรียนยอ่ ย

ข้นั ท่ี 2 แจกแบบฟอร์มของสัญญาการเรียน

จุดมุ่งหมาย แหล่งวทิ ยาการ/วธิ ีการ หลกั ฐาน การประเมินผล

เป็นส่วนท่ีระบุวา่ ผเู้ รียน เป็นส่วนที่ระบุวา่ ผเู้ รียน เป็นส่วนที่มีส่ิงอา้ งอิง เป็นส่วนที่ระบุวา่ ผเู้ รียน

ตอ้ งการบรรลุผลสาเร็จ จะเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งไร หรือยนื ยนั ที่เป็น สามารถเกิดการเรียนรู้

ในเรื่องอะไร อยา่ งไร จากแหล่งความรู้ใด รูปธรรม ในระดบั ใด

ท่ีแสดงใหเ้ ห็นวา่ ผเู้ รียน

ไดเ้ กิดการเรียนรู้แลว้

โดยเก็บรวบรวมเป็ น

แฟ้ มสะสมงาน

ข้นั ที่ 3 อธิบายวธิ ีการเขียนขอ้ ตกลงในแบบฟอร์มแต่ละช่องโดยเร่ิมจาก
 จุดมุง่ หมาย
 วธิ ีการเรียนรู้หรือแหล่งวทิ ยาการ
 หลกั ฐาน
 การประเมินผล

ข้นั ท่ี 4 ถามปัญหาและขอ้ สงสัย
ข้นั ที่ 5 แจกตวั อยา่ งสญั ญาการเรียนใหผ้ เู้ รียนคนละ 1 ชุด
ข้นั ท่ี 6 อธิบายถึงการเขียนสัญญาการเรียน

23

ผเู้ รียนลงมือเขียนขอ้ ตกลงโดยผเู้ รียนเอง โดยเขียนรายละเอียดท้งั 4 ช่องในแบบฟอร์ม
สัญญาการเรียน นอกจากน้ีผูเ้ รียนยงั สามารถระบุระดบั การเรียนท้งั ในระดบั ดี ดีเยี่ยม หรือปานกลาง
ซ่ึงผเู้ รียนมีความต้งั ใจที่จะบรรลุการเรียนในระดบั ดีเย่ียมหรือมีความต้งั ใจท่ีจะเรียนรู้ในระดบั ดี หรือ
พอใจ ผเู้ รียนก็ตอ้ งแสดงรายละเอียด ผเู้ รียนตอ้ งการแต่ระดบั ดี คือ ผเู้ รียนตอ้ งแสดงความสามารถตาม
วตั ถุประสงค์ที่กล่าวไวใ้ นหลกั สูตรให้ครบถ้วน การทาสัญญาระดบั ดีเยี่ยม นอกจากผูเ้ รียนจะบรรลุ
วตั ถุประสงคต์ ามหลกั สูตรแลว้ ผเู้ รียนจะตอ้ งแสดงความสามารถพิเศษเร่ืองใดเรื่องหน่ึงโดยเฉพาะ อนั มี
ส่วนเก่ียวขอ้ งกบั หลกั สูตร

ข้ันท่ี 7 ให้ผูเ้ รียนและเพื่อนพิจารณาสัญญาการเรียนให้เรียบร้อย ต่อไปให้ผูเ้ รียนเลือกเพ่ือน
ในกลุ่ม 1 คน เพอื่ จะไดช้ ่วยกนั พจิ ารณาสัญญาการเรียนรู้ของท้งั 2 คน

ในการพิจารณาสญั ญาการเรียนใหพ้ จิ ารณาตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี
1. จุดมุ่งหมายมีความแจ่มชดั หรือไม่ เขา้ ใจหรือไม่ เป็ นไปไดจ้ ริงหรือไม่บอกพฤติกรรมท่ีจะให้
เกิดจริง ๆ หรือไม่
2. มีจุดประสงคอ์ ื่นท่ีพอจะนามากล่าวเพมิ่ เติมไดอ้ ีกหรือไม่
3. แหล่งวชิ าการและวธิ ีการหาขอ้ มลู เหมาะสมเพยี งใด มีประสิทธิภาพเพียงใด
4. มีวธิ ีการอ่ืนอีกหรือไม่ ท่ีสามารถนามาใชเ้ พอ่ื การเรียนรู้
5. หลกั ฐานการเรียนรู้มีความสอดคลอ้ งกบั จุดมุ่งหมายเพยี งใด
6. มีหลกั ฐานอ่ืนที่พอจะนามาแสดงไดอ้ ีกหรือไม่
7. วธิ ีการประเมินผลหรือมาตรการท่ีใชว้ ดั มีความเช่ือถือไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด
8. มีวธิ ีการประเมินผลหรือมาตรการอื่นอีกบา้ งหรือไม่ ในการวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้
ข้นั ที่ 8 ใหผ้ เู้ รียนนาสญั ญาการเรียนไปปรับปรุงใหเ้ หมาะสมอีกคร้ังหน่ึง
ข้นั ท่ี 9 ใหผ้ เู้ รียนทาสัญญาการเรียนท่ีปรับปรุงแลว้ ใหค้ รูและที่ปรึกษาตรวจดูอีกคร้ังหน่ึง
ฉบบั ท่ีเรียบร้อยใหด้ าเนินการไดต้ ามท่ีเขียนไวใ้ นสญั ญาการเรียน
ข้ันที่ 10 การเรียนก่อนที่จะจบเทอม 2 อาทิตย์ ให้ผูเ้ รียนนาแฟ้ มสะสมงาน (แฟ้ มเก็บขอ้ มูล
Portfolio) ตามท่ีระบุไวใ้ นสญั ญาการเรียนมาแสดง
ข้นั ที่ 11 ครูและผเู้ รียนจะต้งั คณะกรรมการในการพิจารณาแฟ้ มสะสมงานที่ผเู้ รียนนามาส่งและ
ส่งคืนผเู้ รียนก่อนสิ้นภาคเรียน
(ตัวอย่าง)

24

การวางแผนการเรียนโดยใช้สัญญาการเรียน

จุดมุ่งหมาย วธิ ีการเรียนรู้ หลกั ฐาน การประเมินผล
แหล่งวทิ ยาการ

1. สามารถอธิบาย 1. อ่านเอกสารอา้ งอิง 1. ทารายงานยอ่ ใหผ้ เู้ รียน 2 - 5 คน ประเมิน
ความตอ้ งการ ความ ร า ย ง า น แ ล ะ บัน ทึ ก ก า ร
สนใจ แรงจงู ใจ ที่เสนอแนะในหลกั สูตร ขอ้ คิดเห็นจากหนงั สือ อภิปรายการประเมินให้
ความสามารถและ ประเมินตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี
2. อ่านเอกสารท่ี ที่อ่าน

เก่ียวขอ้ งอื่น ๆ 2. บนั ทึกการอภิปราย

ความสนใจของ 3. รวมกลุ่มรายงานและ 3. ทารายงานและ 1. รายงานครอบคลุม

ผใู้ หญ่ได้ อภิปรายกบั ผเู้ รียนอ่ืน เ ส น อ แ น ะ เ กี่ ย ว กั บ เน้ือหาตามความมุง่ หมาย

หรือกลุ่มการเรียนอื่น ทฤษฎีการเรี ยนรู้เพ่ือ เพยี งใด

นาไป 5 4 3 2 1

ใชก้ บั นกั ศึกษาผใู้ หญ่ 2. รายงานมีความชัดเจน

(โดยจดั ทาในรูปแบบ เพยี งใด

แฟ้ มสะสมงาน) 54321

3. รายงานมีประโยชน์

ในการเรียนของนกั ศึกษา
ผใู้ หญ่เพยี งใด

54321

โดยขา้ พเจา้ จะเร่ิมปฏิบตั ิต้งั แต่วนั ที่.....เดือน.................พ.ศ. .........ถึง วนั ท่ี.......เดือน................พ.ศ. .......

ลงชื่อ.................................ผทู้ าสญั ญา
()

ลงชื่อ.................................พยาน
()

ลงช่ือ.................................พยาน
()

ลงชื่อ.................................ครูผสู้ อน
()

25

การประเมนิ ผลการเรียนโดยใช้แฟ้ มสะสมงาน

การจดั ทาแฟ้ มสะสมงาน (Portfolio) เป็ นวิธีการสาคญั ที่นามาใชใ้ นการวดั ผลและประเมินผล
การเรียนรู้ที่ใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้ดว้ ยตนเองโดยการจดั ทาแฟ้ มสะสมงานท่ีมีความเช่ือพ้ืนฐานที่สาคญั มาจาก
การใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้จากสภาพจริง (Authentic Learning) ซ่ึงมีสาระสาคญั ที่พอสรุปไดด้ งั น้ี
1. ความเชื่อพนื้ ฐานของการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Learning)

1.1 ความเช่ือเก่ียวกบั การจดั การศึกษา
 มนุษยม์ ีสัญชาตญาณที่จะเรียนรู้ มีความสามารถและมีความกระหายที่จะเรียนรู้
 ภายใตบ้ รรยากาศของสภาพแวดลอ้ มที่เอ้ืออานวยและการสนบั สนุนจะทาใหม้ นุษย์

สามารถท่ีจะริเร่ิมและเกิดการเรียนรู้ของตนเองได้
 มนุษยส์ ามารถท่ีจะสร้างองคค์ วามรู้จากการปฏิสัมพนั ธ์กบั คนอ่ืนและจากส่ือท่ีมี

ความหมายต่อชีวติ
 มนุษยม์ ีพฒั นาการดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณ์ ดา้ นสังคม และดา้ นสติปัญญาแตกต่าง

กนั
1.2 ความเชื่อเกี่ยวกบั การเรียนรู้
 การเรียนรู้จะเร่ิมจากสิ่งท่ีเป็ นรูปธรรมไปสู่นามธรรมโดยผ่านกระบวนการการ

สารวจตนเอง การเสริมสร้างบรรยากาศของการเรียนรู้และการสร้างบริบทของสังคมให้ผูเ้ รียนได้
ปฏิสัมพนั ธ์กบั ผเู้ รียนอื่น

 การเรียนรู้มีองค์ประกอบทางดา้ นปัญญาหลายดา้ นท้งั ในดา้ นภาษา คานวณ พ้ืนท่ี
ดนตรี การเคลื่อนไหว ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและอ่ืน ๆ

 การแสวงหาความรู้จะมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึนถ้าอยู่ในบริบทที่มีความหมาย
ตอ่ ชีวติ

 การแสวงหาความรู้เป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนตลอดชีวิต
1.3 ความเช่ือเก่ียวกบั การสอน

 การสอนจะตอ้ งยดึ ผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง
 การสอนจะเป็นท้งั รายบุคคลและรายกลุ่ม
 การสอนจะยอมรับวฒั นธรรมท่ีแตกต่างกนั และวธิ ีการเรียนรู้ที่เป็นเอกลกั ษณ์ของ
ผเู้ รียนแต่ละคน
 การสอนกบั การประเมินเป็นกระบวนการต่อเน่ืองและเก่ียวขอ้ งซ่ึงกนั และกนั
 การสอนจะตอ้ งตอบสนองตอ่ การขยายความรู้ท่ีไม่มีที่สิ้นสุดของหลกั สูตรสาขาตา่ ง ๆ

26

1.4 ความเช่ือเก่ียวกบั การประเมิน
 การประเมินแบบนาคะแนนของผเู้ รียนจานวนมากมาเปรียบเทียบกนั มีคุณค่านอ้ ย

ตอ่ การพฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รียน
 การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ไมใ่ ช่สิ่งสะทอ้ นความสามารถ

ที่มีอยู่ในตวั ผูเ้ รียน แต่จะสะทอ้ นถึงการปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลกบั สิ่งแวดลอ้ มและความสามารถที่
แสดงออกมา

 การประเมินตามสภาพจริงจะใหข้ อ้ มลู และข่าวสารที่เท่ียงตรงเก่ียวกบั ผเู้ รียนและ
กระบวนการทางการศึกษา

2. ความหมายของการประเมนิ ตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
การประเมินตามสภาพจริง เป็นกระบวนการของการสงั เกตการณ์บนั ทึก การจดั ทาเอกสารที่

เกี่ยวกบั งานหรือภารกิจท่ีผูเ้ รียนได้ทา รวมท้งั แสดงวิธีการว่าไดท้ าอย่างไร เพื่อใชเ้ ป็ นขอ้ มูลพ้ืนฐาน
เกี่ยวกบั การตดั สินใจทางการศึกษาของผูเ้ รียนน้นั การประเมินตามสภาพจริงมีความแตกต่างจากการ
ประเมินโครงการตรงท่ีการประเมินแบบน้ีไดใ้ หค้ วามสาคญั กบั ผเู้ รียนมากกวา่ การให้ความสาคญั กบั ผล
อนั ท่ีจะเกิดข้ึนจากการดูคะแนนของกลุ่มผเู้ รียนและแตกต่างจากการทดสอบเนื่องจากเป็ นการวดั ผลการ
ปฏิบตั ิจริง (Authentic Assessment) การประเมินตามสภาพจริงจะไดข้ อ้ มูลสารสนเทศเชิงคุณภาพอยา่ ง
ตอ่ เน่ืองท่ีสามารถนามาใชใ้ นการแนะแนวการเรียนสาหรับผเู้ รียนแต่ละคนไดเ้ ป็นอยา่ งดี

3. ลกั ษณะทส่ี าคัญของการประเมนิ ตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
 ใหค้ วามสาคญั ขอบการพฒั นาและการเรียนรู้
 เนน้ การคน้ หาศกั ยภาพนาเอามาเปิ ดเผย
 ใหค้ วามสาคญั กบั จุดเด่นของผเู้ รียน
 ยดื ถือเหตุการณ์ในชีวติ จริง
 เนน้ การปฏิบตั ิจริง
 จะตอ้ งเชื่อมโยงกบั การเรียนการสอน
 มุ่งเนน้ การเรียนรู้อยา่ งมีเป้ าหมาย
 เป็นกระบวนการเกิดข้ึนอยา่ งต่อเน่ืองในทุกบริบท
 ช่วยใหม้ ีความเขา้ ใจในความสามารถของผเู้ รียนและวธิ ีการเรียนรู้
 ช่วยใหเ้ กิดความร่วมมือท้งั ผปู้ กครอง พอ่ แม่ ครู ผเู้ รียนและบุคคลอื่น ๆ

4. การประเมนิ ผลการเรียนโดยใช้แฟ้ มสะสมงาน
แฟ้ มสะสมงาน เป็นวธิ ีการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ซ่ึงเป็นวธิ ีการที่ครูไดน้ าวธิ ีการ

มาจากศิลปิ น (artist) มาใช้ในทางการศึกษาเพื่อการประเมินความกา้ วหน้าในการเรียนรู้ของผูเ้ รียน
โดยแฟ้ มสะสมงานมีประโยชน์ท่ีสาคญั คือ

27

 ผเู้ รียนสามารถแสดงความสามารถในการทางานโดยท่ีการสอบทาไมไ่ ด้
 เป็นการวดั ความสามารถในการเรียนรู้ของผเู้ รียน
 ช่วยใหผ้ เู้รียนสามารถแสดงใหเ้ ห็นกระบวนการเรียนรู้ (Process) และผลงาน (Product)
 ช่วยใหส้ ามารถแสดงใหเ้ ห็นการเรียนรู้ท่ีเป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
แฟ้ มสะสมงานไมใ่ ช่แนวคิดใหม่ เป็นเรื่องที่มีมานานแลว้ ใชโ้ ดยกลุ่มเขียนภาพ ศิลปิ น สถาปนิก
นักแสดง และนักออกแบบ โดยแฟ้ มสะสมงานได้ถูกนามาใช้ในทางการศึกษาในการเรียนการสอน
ทางด้านภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิชาอ่ืน ๆ ท้งั น้ีแฟ้ มสะสมงานเป็ นวิธีการท่ีสะทอ้ นถึง
วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ซ่ึงเป็ นกระบวนการของการรวบรวม
หลกั ฐานที่แสดงให้เห็นว่าผูเ้ รียนสามารถทาอะไรได้บา้ งและเป็ นกระบวนการของการแปลความจาก
หลกั ฐานท่ีไดแ้ ละมีการตดั สินใจหรือให้คุณค่าการประเมินผลตามสภาพจริงเป็ นกระบวนการที่ใช้เพ่ือ
อธิบายถึงภาระงานท่ีแทจ้ ริงหรือ real task ท่ีผเู้ รียนจะตอ้ งปฏิบตั ิหรือสร้างความรู้ ไม่ใช่สร้างแต่เพียง
ขอ้ มลู สารสนเทศ
การประเมินโดยใชแ้ ฟ้ มสะสมงานเป็นวธิ ีการของการประเมินท่ีมีองคป์ ระกอบสาคญั คือ
 ใหผ้ เู้ รียนไดแ้ สดงการกระทา - ลงมือปฏิบตั ิ
 สาธิตหรือแสดงทกั ษะออกมาใหเ้ ห็น
 แสดงกระบวนการเรียนรู้
 ผลิตชิ้นงานหรือหลกั ฐานวา่ เขาไดร้ ู้และเขาทาได้
ซ่ึงการประเมินโดยใช้แฟ้ มสะสมงานหรือการประเมินตามสภาพจริง โดยวิธีการดงั กล่าวน้ี
จะมีลกั ษณะที่สาคญั คือ
 ชิ้นงานที่มีความหมาย (meaningful tasks)
 มีมาตรฐานที่ชดั เจน (clear standard)
 มีการใหส้ ะทอ้ นความคิด ความรู้สึก (reflections)
 มีการเช่ือมโยงกบั ชีวติ จริง (transfer)
 เป็นการปรับปรุงและบรู ณาการ (formative integrative)
 เกี่ยวขอ้ งกบั การคิดในลาดบั ที่สูงข้ึนไป (high – order thinking)
 เนน้ การปฏิบตั ิที่มีคุณภาพ (quality performance)
 ไดผ้ ลงานที่มีคุณภาพ (quality product)

5. ลกั ษณะของแฟ้ มสะสมงาน
นกั การศึกษาบางท่านไดก้ ล่าววา่ แฟ้ มสะสมงานมีลกั ษณะเหมือนกบั จานผสมสี ซ่ึงจะเห็นไดว้ า่

จานผสมสีเป็นส่วนท่ีรวมเรื่องสีต่าง ๆ ท้งั น้ีแฟ้ มสะสมงานเป็ นสิ่งท่ีรวมการประเมินแบบต่าง ๆ เพ่ือการ
วาดภาพใหเ้ ห็นวา่ ผเู้ รียนเป็ นอยา่ งไร แฟ้ มสะสมงานไม่ใช่ถงั บรรจุสิ่งของ (Container) ที่เป็ นท่ีรวมของ
ส่ิงต่าง ๆ ที่จะเอาอะไรมากองรวมไวห้ รือเอามาใส่ไวใ้ นท่ีเดียวกนั แต่แฟ้ มสะสมงานเป็นการรวบรวม

28

หลกั ฐานท่ีมีระบบและมีการจดั การโดยครูและผเู้ รียนเพือ่ การตรวจสอบความกา้ วหนา้ หรือการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ ทกั ษะและเจตคติในเรื่องเฉพาะวชิ าใดวชิ าหน่ึง

กล่าวโดยทว่ั ไป แฟ้ มสะสมงานจะมีลกั ษณะท่ีสาคญั 2 ประการคือ
- เป็นเหมือนส่ิงท่ีรวบรวมหลกั ฐานท่ีแสดงความรู้และทกั ษะของผเู้ รียน
- เป็นภาพท่ีแสดงพฒั นาการของผเู้ รียนในการเรียนรู้ ตลอดช่วงเวลาของการเรียน

6. จุดมุ่งหมายของการประเมินโดยใช้แฟ้ มสะสมงาน มดี งั นี้
 ช่วยให้ครูได้รวบรวมงานท่ีสะทอ้ นถึงความสาคญั ของผูเ้ รียนในวตั ถุประสงค์ใหญ่ของการ

เรียนรู้
 ช่วยกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนสามารถจดั การเรียนรู้ของตนเอง
 ช่วยใหค้ รูไดเ้ กิดความเขา้ ใจอยา่ งแจม่ แจง้ ในความกา้ วหนา้ ของผเู้ รียน
 ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ขา้ ใจตนเองมากยงิ่ ข้ึน
 ช่วยใหท้ ราบการเปล่ียนแปลงและความกา้ วหนา้ ตลอดช่วงระหวา่ งการเรียนรู้
 ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดต้ ระหนกั ถึงประวตั ิการเรียนรู้ของตนเอง
 ช่วยทาใหเ้ กิดความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการสอนกบั การประเมิน

7. กระบวนการของการจัดทาแฟ้ มสะสมงาน
การจดั ทาแฟ้ มสะสมงาน มีกระบวนการหรือข้นั ตอนอยหู่ ลายข้นั ตอน แต่ท้งั น้ีกส็ ามารถปรับปรุง

ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม Kay Burke (1994) และคณะ ไดก้ าหนดข้นั ตอนของการทาแฟ้ มสะสมงานไว้ 9 ข้นั ตอน
ดงั น้ี

ข้นั ท่ี 1 การรวบรวมและจดั ระบบของผลงาน
ข้นั ท่ี 2 การเลือกผลงานหลกั ตามเกณฑท์ ี่กาหนด
ข้นั ที่ 3 การสร้างสรรคแ์ ฟ้ มสะสมผลงาน
ข้นั ที่ 4 การสะทอ้ นความคิด หรือความรู้สึกตอ่ ผลงาน
ข้นั ที่ 5 การตรวจสอบเพอื่ ประเมินตนเอง
ข้นั ท่ี 6 การประเมินผล ประเมินค่าของผลงาน
ข้นั ท่ี 7 การแลกเปลี่ยนประสบการณ์กบั บุคคลอื่น
ข้นั ท่ี 8 การคดั สรรและปรับเปลี่ยนผลงานเพื่อใหท้ นั สมยั
ข้นั ที่ 9 การประชาสมั พนั ธ์ หรือจดั นิทรรศการแฟ้ มสะสมงาน

29

8. รูปแบบ (Model) ของการทาแฟ้ มสะสมงาน สามารถดาเนินการได้ดงั นี้
 สาหรับผเู้ ร่ิมทาไมม่ ีประสบการณ์มาก่อนควรใช้ 3 ข้นั ตอน
ข้นั ที่ 1 การรวบรวมผลงาน
ข้นั ท่ี 2 การคดั เลือกผลงาน
ข้นั ท่ี 3 การสะทอ้ นความคิด ความรู้สึกในผลงาน
 สาหรับผทู้ ่ีมีประสบการณ์ใหม่ ๆ ควรใช้ 6 ข้นั ตอน
ข้นั ที่ 1 กาหนดจุดมุง่ หมาย
ข้นั ท่ี 2 การรวบรวม
ข้นั ท่ี 3 การคดั เลือกผลงาน
ข้นั ที่ 4 การสะทอ้ นความคิดในผลงาน
ข้นั ที่ 5 การประเมินผลงาน
ข้นั ที่ 6 การแลกเปลี่ยนกบั ผเู้ รียน
 สาหรับผทู้ ี่มีประสบการณ์พอสมควร ควรใช้ 9 ข้นั ตอนดงั ที่กล่าวขา้ งตน้

9. การวางแผนทาแฟ้ มสะสมงาน
 การวางแผนและการกาหนดจุดมุ่งหมาย คาถามหลกั ท่ีจะตอ้ งทาใหช้ ดั เจน
ทาไมจะตอ้ งใหผ้ เู้ รียนรวบรวมผลงาน
ทาแฟ้ มสะสมงานเพ่ืออะไร
จุดมุง่ หมายท่ีแทจ้ ริงของการทาแฟ้ มสะสมงาน คืออะไร
การใช้ แฟ้ มสะสมงานในการประเมินมีขอ้ ดี ขอ้ เสียอยา่ งไร
 แฟ้ มสะสมงานไม่ใช่เป็ นเพียงการเรียนการสอนหรือการประเมินผล แต่เป็ นท้งั กระบวนการ

เรียนการสอนและการวดั ผลประเมินผล
 แฟ้ มสะสมงาน เป็นกระบวนการท่ีทาใหผ้ เู้ รียนเป็นผทู้ ี่ลงมือปฏิบตั ิเองและเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
 การใชแ้ ฟ้ มสะสมงานในการประเมินจะมีหลกั สาคญั 2 ประการ
เน้ือหา ตอ้ งเก่ียวกบั เน้ือหาท่ีสาคญั ในหลกั สูตร
การเรียนรู้ ผเู้ รียนเป็นผลู้ งมือปฏิบตั ิเอง โดยมีการบูรณาการที่จะตอ้ งสะทอ้ น
กระบวนการเรียนรู้ ท้งั ในเร่ืองการอ่าน การเขียน การฟัง การแกป้ ัญหา
และการคิดระดบั ที่สูงกวา่ ปกติ

10. การเกบ็ รวบรวมชิ้นงานและการจัดแฟ้ มสะสมงาน
 ความหมายของแฟ้ มสะสมงานคือ การรวบรวมผลงานของผเู้ รียนอยา่ งมีวตั ถุประสงค์

เพ่อื การแสดงใหเ้ ห็นความพยายาม ความกา้ วหนา้ และความสาเร็จของผเู้ รียนในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง

30

 วธิ ีการเกบ็ รวบรวม สามารถจดั ใหอ้ ยใู่ นรูปแบบของส่ิงต่อไปน้ี
แฟ้ มงาน สมุดบนั ทึก ตูเ้ กบ็ เอกสาร กล่อง อลั บ้มั แผน่ ดิสก์

 วธิ ีการดาเนินการเพ่อื การรวบรวม จดั ทาไดโ้ ดยวธิ ีการ ดงั น้ี
รวบรวมผลงานทุกชิ้นท่ีจดั ทาเป็นแฟ้ มสะสมงาน
คดั เรื่องผลงานเพ่อื ใชใ้ นแฟ้ มสะสมงาน
สะทอ้ นความคิดในผลงานที่คดั เรื่องไว้

 รูปแบบของแฟ้ มสะสมงาน อาจมีองคป์ ระกอบดงั น้ี
สารบญั และแสดงประวตั ิผทู้ าแฟ้ มสะสมงาน
ส่วนที่แสดงวตั ถุประสงค/์ จุดมุ่งหมาย
ส่วนที่แสดงชิ้นงานหรือผลงาน
ส่วนท่ีสะทอ้ นความคิดเห็นหรือความรู้สึก
ส่วนท่ีแสดงการประเมินผลงานดว้ ยตนเอง
ส่วนท่ีแสดงการประเมินผล
ส่วนที่เป็นภาคผนวก ขอ้ มูลประกอบอ่ืน ๆ

กจิ กรรมการเรียนรู้
กจิ กรรมที่ 1 ใหส้ รุปบทบาทของผเู้ รียนในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มาพอสงั เขป
กจิ กรรมที่ 2 ใหส้ รุปบทบาทของครูในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มาพอสงั เขป
กจิ กรรมท่ี 3 ใหเ้ ปรียบเทียบบทบาทของผเู้ รียนและครู มาพอสงั เขป
กจิ กรรมท่ี 4 ใหส้ รุปสาระสาคญั ของ “กระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง” มาพอสังเขป
กจิ กรรมที่ 5 ใหผ้ เู้ รียนศึกษาสญั ญาการเรียนรู้ (รายบุคคล) และปรึกษาครู แลว้ จดั ทาร่างกรอบ

แนวคิดสญั ญาการเรียนรู้รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้

31

เรื่องที่ 3 ทักษะพนื้ ฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา
และเทคนิคการเรียนรู้ด้วยตนเอง

คาถามธรรมดา ๆ ท่ีเราเคยไดย้ นิ ไดฟ้ ังกนั อยบู่ ่อย ๆ ก็คือ ทาอยา่ งไรเราจึงจะสามารถฟังอยา่ งรู้เรื่อง
และคิดไดอ้ ยา่ งปราดเปร่ือง อ่านไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ตลอดจนเขียนไดอ้ ยา่ งมืออาชีพ ท้งั น้ี ก็เพราะเราเขา้ ใจ
กนั ดีว่า ท้งั หมดน้ีเป็ นทกั ษะพ้ืนฐาน (basic skills) ท่ีสาคญั และเป็ นความสามารถ (competencies) ท่ี
จาเป็นสาหรับการดารงชีวติ ท้งั ในโลกแห่งการทางาน และในโลกแห่งการเรียนรู้

การฟัง เป็นการรับรู้ความหมายจากเสียงที่ไดย้ นิ เป็ นการรับสารทางหู การไดย้ ินเป็ นการเร่ิมตน้
ของการฟังและเป็ นเพียงการกระทบกนั ของเสียงกบั ประสาทตามปกติ จึงเป็ นการใช้ความสามารถทาง
ร่างกายโดยตรง ส่วนการฟังเป็ นกระบวนการทางานของสมองอีกหลายข้นั ตอนต่อเนื่องจากการไดย้ ิน
เป็ นความสามารถที่จะไดร้ ับรู้ส่ิงที่ไดย้ ิน ตีความและจบั ความสิ่งท่ีรับรู้น้นั เขา้ ใจและจดจาไว้ ซ่ึงเป็ น
ความสามารถทางสติปัญญา

การพูด เป็ นพฤติกรรมการส่ือสารท่ีใชก้ นั แพร่หลายทวั่ ไป ผพู้ ูดสามารถใช้ท้งั วจนะภาษาและ
อวจั นะภาษาในการส่งสารติดต่อไปยงั ผฟู้ ังไดช้ ดั เจนและรวดเร็วการพูด หมายถึง การสื่อความหมายของ
มนุษยโ์ ดยการใชเ้ สียง และกิริยาท่าทางเป็ นเครื่องถ่ายทอดความรู้ความคิด และความรู้สึกจากผพู้ ูดไปสู่
ผฟู้ ัง

การอ่าน เป็ นพฤติกรรมการรับสารท่ีสาคญั ไม่ยิ่งหยอ่ นไปกวา่ การฟัง ปัจจุบนั มีผรู้ ู้นกั วิชาการ
และนกั เขียนนาเสนอความรู้ ขอ้ มลู ข่าวสารและงานสร้างสรรค์ ตีพมิ พ์ ในหนงั สือและส่ิงพมิ พอ์ ่ืน ๆ มาก
นอกจากน้ีแลว้ ข่าวสารสาคญั ๆ หลงั จากนาเสนอดว้ ยการพูด หรืออ่านใหฟ้ ังผา่ นส่ือต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะ
ตีพมิ พร์ ักษาไวเ้ ป็นหลกั ฐานแก่ผอู้ ่านในช้นั หลงั ๆ ความสามารถในการอ่านจึงสาคญั และจาเป็ นยิ่งต่อการ
เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพในสงั คมปัจจุบนั

การเขียน เป็ นการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและความตอ้ งการของบุคคลออกมาเป็ นสัญลกั ษณ์
คือ ตวั อกั ษร เพ่ือส่ือความหมายใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจจากความขา้ งตน้ ทาให้มองเห็นความหมายของการเขียน
วา่ มีความจาเป็ นอย่างยิ่งต่อการส่ือสารในชีวิตประจาวนั เช่น นกั เรียนใช้การเขียนบนั ทึกความรู้ ทา
แบบฝึกหดั และตอบขอ้ สอบบุคคลทวั่ ไป ใชก้ ารเขียนจดหมาย ทาสัญญา พินยั กรรมและค้าประกนั เป็ น
ตน้ พ่อคา้ ใชก้ ารเขียนเพื่อโฆษณาสินคา้ ทาบญั ชี ใบส่ังของ ทาใบเสร็จรับเงิน แพทยใ์ ชบ้ นั ทึก ประวตั ิ
คนไข้ เขียนใบสั่งยาและอ่ืน ๆ เป็นตน้

32

รายละเอยี ดกจิ กรรมการเรียนรู้

กจิ กรรมที่ 1 คุณเป็นผฟู้ ังที่ดีหรือเปล่า

ให้ตอบแบบทดสอบต่อไปน้ี ด้วยการทาเครื่องหมาย  ในช่องคาตอบทางด้านขวา เพ่ือ

ประเมินวา่ คุณเป็นผฟู้ ังไดด้ ีแค่ไหน

ลกั ษณะของการฟัง ความบ่อยคร้ัง

เสมอ ส่วน บางคร้ัง นาน ๆ ไม่เคย

ใหญ่ คร้ัง

1 ปล่อยใหผ้ พู้ ดู แสดงความคิดของเขาจนจบ

โดยไม่ขดั จงั หวะ

2 ในการประชุม หรือระหว่างโทรศัพท์ มีการจดโน้ต

สาระสาคญั ของสิ่งที่ไดย้ นิ

3 กล่าวทวนรายละเอียดท่ีสาคญั ของการสนทนากบั ผพู้ ูด

เพอื่ ใหแ้ น่ใจวา่ เราเขา้ ใจถูกตอ้ ง

4 พยายามต้งั ใจฟัง ไม่วอกแวกไปคิดเร่ืองอ่ืน

5 พยายามแสดงทา่ ทีวา่ สนใจในคาพดู ของผอู้ ื่น

6 รู้ดีว่าตนเองไม่ใช่นักส่ือสารที่ดี ถ้าผูกขาดการพูด

แตผ่ เู้ ดียว

7 แมว้ ่ากาลงั ฟังก็แสดงอาการต่าง ๆ เช่น ถาม จดสรุปสิ่ง

ท่ีไดฟ้ ัง กล่าวทวนประเด็นสาคญั ฯลฯ

8 ทาทา่ ตา่ ง ๆ เหมือนกาลงั ฟังอยใู่ นท่ีประชุม เช่น

ผงกศีรษะเห็นดว้ ย มองตาผพู้ ดู ฯลฯ

9 จดโน้ตเกี่ยวกับรูปแบบของการส่ือสารท่ีไม่ใช่คาพูด

ของคู่สนทนา เช่น ภาษากาย น้าเสียง เป็นตน้

10 พยายามที่จะไม่แสดงอาการกา้ วร้าว หรือต่ืนเตน้ เกินไป

ถา้ มีความคิดเห็นไมต่ รงกบั ผพู้ ดู

33

คาตอบท้งั 5 คาตอบ (ในแต่ละช่อง) มีคะแนนดงั น้ี

เสมอ = 5 คะแนน

กจิ กรรมท่ี 2 ส่วนใหญ่ = 4 คะแนน
ท่านคดิ อย่างไร
กบั คากล่าวข้างล่างนี้ บางคร้ัง = 3 คะแนน
โปรดอธิบาย
นาน ๆ คร้ัง = 2 คะแนน
“การพูดเป็ นทกั ษะหนงึ่
ทมี่ คี วามสาคญั ทสี่ ุดของคนเรา ไม่เคย = 1 คะแนน
ก่อนทเ่ี ราจะพูดอะไรออกไปนัน้
เราจะเป็ นนายของคาพูด นาคะแนนจากท้ัง 10 ข้อ มารวมกัน เพ่ือดูว่า
แต่เม่อื เราได้พูดออกไปแล้ว
คาพูดเหล่านนั้ กจ็ ะกลบั มาเป็ นนายเรา” คุณจดั อยใู่ นกลมุ่ นกั ฟังประเภทไหนใน 3 กล่มุ ตอ่ ไปน้ี
เขยี นคาอธิบายของท่าน
40 คะแนนขนึ้ ไป คุณเป็ นนกั ฟังช้ันยอด
......................................................
...................................................... 25 - 39 คะแนน คุณเป็ นนักฟังทด่ี กี ว่าผู้ฟังทว่ั ๆ ไป
......................................................
...................................................... ตา่ ว่า 25 คะแนน คุณเป็ นผู้ฟังทต่ี ้องพฒั นาทกั ษะการฟัง
......................................................
...................................................... เป็ นพเิ ศษ
......................................................
...................................................... แต่ไม่ว่าจะอยู่ในกลุ่มไหนก็ตาม คุณก็ควรจะ
......................................................
...................................................... พฒั นาทกั ษะในการฟังของคุณอยู่เสมอ เพราะว่าผูส้ ่งสาร
......................................................
...................................................... (ท้ังคนและอุปกร ณ์ เทคโนโลยีต่าง ๆ ) น้ันมี การ
......................................................
...................................................... เปล่ียนแปลงและมีความซบั ซอ้ นมากข้ึนอยตู่ ลอดเวลา
......................................................
......................................................  การพูดเป็ นวิธีการส่ือสารที่มนุษยใ์ ช้กันมานาน นับพนั ปี
และในโลกน้ ี คงไม่มีเคร่ื องมือส่ื อสารใดท่ีสามารถถ่ายทอดความคิด
แนวการตอบ ความรู้สึกและ สิ่งต่าง ๆ ในใจเราได้ดีกว่าคาพูด ถึงแมว้ ่าปัจจุบนั น้ี
การพดู ทุกคร้ัง จาเป็ นต้องคิดและเป็ นการคิด เทคโนโลยีในการส่ือสารจะไดร้ ับการพฒั นาไปถึงไหน ๆ แลว้ ก็ตาม
ก่อนพดู เราจึงจะเป็นนายของคาพูดได้ทุกคร้ัง สาเหตุท่ีเป็ นเช่นน้ี ก็เพราะวา่ การพดู ไม่ใช่แต่เพียงเสียงท่ีเปล่งออกไป
เป็ นคา ๆ แต่การพดู ยงั ประกอบไปดว้ ย น้าเสียงสูง - ต่า จงั หวะชา้ - เร็ว
และท่าทางของผู้พูด ที่ทาให้การพูดมีความซับซ้อน และมี
ประสิทธิภาพยงิ่ กวา่ เคร่ืองมือสื่อสารใด ๆ

การพูดน้ันเปรียบเสมือนดาบสองคม คือ สามารถให้ท้งั คุณและ

โทษแก่ตวั ผูพ้ ูดได้ นอกจากน้ีการพูดยงั เป็ นอาวธุ ในการส่ือสารท่ีคน

ส่วนใหญ่ชอบใชม้ ากกว่าการฟังและการเขียน เพราะคิดว่าการพูดได้

มากกวา่ คนอื่นน้นั จะทาใหต้ นเองไดเ้ ปรียบ ไดป้ ระโยชน์ แต่ท้งั ๆที่คิด

อยา่ งน้ีหลายคนก็ยงั พาตวั เองไปสู่ความหายนะไดด้ ว้ ยปากเขา้ ทานอง

ปากพาจน ซ่ึงเหตุที่เป็ นเช่นน้ีก็เพราะรู้กนั แต่เพียงว่าฉันอยากจะพูด

โดยไม่ คิดก่อนพูด ไม่รู้วา่ การพดู ที่จะให้คุณแก่ตนเองไดน้ ้นั ควรมี

ลกั ษณะดงั น้ี

 ถูกจงั หวะเวลา  ภาษาเหมาะสม

 เน้ือหาชวนติดตาม  น้าเสียงชวนฟัง
 กิริยาทา่ ทางดี  มีอารมณ์ขนั
 ใหผ้ ฟู้ ังมีส่วนร่วม
 เป็นธรรมชาติและเป็น

ตวั ของตวั เอง

แว

คร้ัง

34

กจิ กรรมที่ 3 ใหอ้ ่านเรื่อง “การมองโลกในแง่ดี” และสรุปเร่ืองที่อา่ น ใหไ้ ดป้ ระมาณ 15 บรรทดั

เรื่อง “การมองโลกในแง่ดี”

ความหมายและความสาคญั ของการมองโลกในแง่ดี

การดาเนินชีวติ ของมนุษยเ์ ราน้นั ไดใ้ ชค้ วามคิดมาช่วยในการตดั สินใจเรื่องราวต่างๆ ท่ีอยรู่ อบตวั เราได้
อยา่ งเหมาะสม ซ่ึงในบางคร้ังการมองโลกโดยใชค้ วามคิดน้ี ก็อาจจะมีมุมมองได้
หลายดา้ น เช่น ทางดา้ นบวกและทางดา้ นลบ การมองโลกใน

หลกั การมองโลกในแง่ดี

คาวา่ การมองโลกในแง่ดี โดยในแง่ของภาษาสามารถแยกออกเป็ น 3 คาแตกต่างจากกนั คาท่ี
หน่ึงคือ การมอง คาท่ีสองคือ โลก คาท่ีสาม คือ ในแง่ดี

เป้ าหมายของการมอง คือ เพอ่ื ใหเ้ ห็น การจะเห็นสิ่งใดเรามีวธิ ีเห็น 2 วธิ ี
1. ใชต้ ามอง เรียกวา่ มองเห็น เราเห็นหอ้ งน้า กาแฟ เห็นสรรพส่ิงในโลกเราใชต้ ามอง
2. คิดเห็น เรากบั คุณแม่อยหู่ ่างกนั แต่พอเราหลบั ตาเรายงั นึกถึงคุณแม่ได้ เราไม่ไดไ้ ปเมืองนอก
มานานหลบั ตายงั นึกถึงสมยั เราเรียน ๆ ที่ตรงน้นั อยา่ งน้ีเรียกวา่ คิดเห็น เพราะฉะน้นั การท่ีจะเห็นส่ิงใด
สามารถทาไดท้ ้งั ตากบั คิด
การมองโลกบางคร้ังอาจมองดูเห็นป้ับคิดเลย หรือบางทีไม่ตอ้ งเห็นแต่จินตนาการ ท่านคิด
และเห็น
คาวา่ โลก เราสามารถแยกเป็ น 2 อยา่ ง คือ โลกท่ีเป็ นธรรมชาติ ป่ าไม้ แม่น้า ภูเขา อยา่ งน้ีเรียกวา่
เป็ นธรรมชาติโลกอีกความหมายหน่ึง คือ โลกของมนุษย์ พวกที่มนุษย์อยู่เรียกว่าสังคมมนุษย์
เพราะฉะน้นั เวลามองโลกอาจมองธรรมชาติ บางคนบอกวา่ มอง ภูเขาสวย เห็นทิวไมแ้ ลว้ ชอบ เรียกว่า
มองธรรมชาติ แต่บางคร้ังมองมนุษยด์ ว้ ยกนั มองเห็นบุคคลอื่นแลว้ สบายใจ เรียกวา่ การมองเหมือนกนั
เพราะฉะน้นั โลกจึงแยกออกเป็น 2 ส่วน คือธรรมชาติกบั มนุษย์
คาว่าดี เป็ นคาที่มีความหมายกว้างมาก ในทางปรัชญาถือว่าดี หมายถึงสิ่งที่จะนาไปสู่
ตวั อยา่ งเช่น ยาดี หมายถึงยาที่นาไปสู่ คือยารักษาโรคนนั่ เอง มีดดี คือมีดท่ีนาไปสู่ คือสามารถตดั อะไรได้
หรืออาหารดี หมายความวา่ อาหารนาไปสู่ให้เรามีสุขภาพดีข้ึน เพราะฉะน้นั อะไรที่นาไปสู่สักอยา่ งหน่ึง
เราเรียกวา่ ดี ดีในท่ีน้ีดูได้ 2 ทางคือ นาไปทาให้เราเกิดความสุข หรือนาไปเพื่อให้เราทางานประสบ
ความสาเร็จ ชีวติ เราหนีการทางานไม่ได้ หนีชีวิตส่วนตวั ไม่ได้ เพราะฉะน้นั ดูวา่ มองคนแลว้ ทาให้เราเกิด
ความสุข ทาใหท้ างานประสบความสาเร็จ
ถา้ รวม 3 ตวั คือ เราเห็น หรือเราคิดเก่ียวกบั คน แลว้ ทาให้เรามีความสุข เรามอง เราคิดกบั คนทา
ใหเ้ ราประสบความสาเร็จ นี่คือความหมาย

35

สรุปความสาคญั ของคาว่า การมองโลกในแง่ดี คือ 3 อยา่ งน้ีตอ้ งผูกพนั กนั เสมอคือ การคิด
การทา และผลการกระทา ถา้ เราคิดดีเราก็ทาดี ผลจะไดด้ ีดว้ ย ตวั อยา่ งเช่น เราคิดถึงเรื่องอาหาร ถา้ เราคิด
วา่ อาหารน้ีดี เราซ้ืออาหารน้ี และผลจะมีต่อร่างกายเรา ถา้ เราคิดถึงสุขภาพ เร่ืองการออกกาลงั เราก็ไป
ออกกาลงั กาย ผลท่ีตามมาคือ ร่างกายเราแข็งแรง เพราะฉะน้นั ถา้ เราคิดอยา่ งหน่ึง ทาอยา่ งหน่ึง และผล
การกระทาออกมาอยา่ งหน่ึงเสมอ

ถา้ การมองโลกจะมีความสาคญั คือ จะช่วยทาให้ชีวิตเรามีความสุข เพราะเราคิดคนๆ น้ีในแง่ดี
เราจะพูดดีกบั เขา ผลตามมาก็คือเขาจะมีปฏิกิริยาในทางดีกบั เรา ถา้ เราคิดในทางร้ายต่อเขา เช่น สมมติ
คุณกาลงั ยืนอยู่ มีคนๆ หน่ึงมาเหยียบเทา้ คุณ ถา้ คิดว่าคนที่มาเหยียบเทา้ คุณ เขาไม่สบายจะเป็ นลม
แสดงว่าคุณคิดว่าเขาสุขภาพไม่ดี คุณจะช่วยพยุงเขา แต่ถา้ คุณคิดวา่ คนน้ีแกลง้ คุณ แสดงวา่ คุณมอง
ในแง่ไม่ดี คุณจะมีปฏิกิริยาคือผลกั เขา เม่ือคุณผลักเขา ๆ อาจจะผลักคุณและเกิดการต่อสู้กันได้
เพราะฉะน้นั คิดดีจะช่วยทาใหช้ ีวติ เรามีความสุข ถา้ คิดร้ายหรือคิดทางลบชีวติ เราเป็นทุกข์ ถา้ คิด
ในทางท่ีดีเราทางานประสบความสาเร็จ ถา้ คิดในแง่ลบงานของเราก็มีทุกขต์ ามไปดว้ ย
(ที่มา: http://www.stou.ac.th/Thai/Offices/Oce/Knowledge/4-46/page6-4-46.html)

สุขหรือทุกข์ขนึ้ อย่กู บั อะไร
ข่าวที่มีผถู้ ูกหวยรัฐบาลไดร้ างวลั เป็ นจานวนหลายลา้ นบาท เรียกวา่ เป็ นเศรษฐีภายในชวั่ ขา้ มคืน

คงเป็ นข่าวที่ทุกท่านผา่ นตามาแลว้ และก็ดูเหมือนจะเป็ นทุกขลาภอยไู่ ม่นอ้ ยที่ตอ้ งหลบเลี่ยงผทู้ ี่มาหยิบ
ยมื เงินทอง รวมท้งั โจร - ขโมย จอ้ งจะแบ่งปันเงินเอาไปใช้

ในต่างประเทศ ก็เคยมีการศึกษาถึงชีวิตคนที่ถูกหวยในลักษณะของกรณีศึกษา ก็ค้นพบว่า
หลายต่อหลายคน ประสบความทุกขย์ ากแสนสาหสั กวา่ เดิม หลายรายตอ้ งสูญเสียเงินทองจานวนมากมี
อยรู่ ายหน่ึงท่ีสุดทา้ ยกลบั ไปทางานเป็นพนกั งานทาความสะอาด ความเป็นจริงแลว้ พบวา่ วธิ ีคิด หรือ
โลกทศั น์ของเราตา่ งหากที่บ่งบอกถึงความสามารถในการมีความสุขหรือความทุกข์

วธิ ีคดิ อย่างไร นามาซึ่งความสุข
คงไมใ่ ช่วธิ ีคิดแบบเดียวอยา่ งแน่นอน แต่วธิ ีคิดซ่ึงมีอยหู่ ลายแบบและนามาซ่ึงความสุขน้นั มกั มี

พ้ืนฐานคลา้ ยๆกนั คือ การมองดา้ นบวกหรือคาดหวงั ดา้ นบวกรวมท้งั มองเห็นประโยชน์จากสิ่งต่าง ๆ
(แมว้ า่ จะเป็นเหตุการณ์ที่เลวร้ายก็ตาม)

แต่กวา่ ท่ีคนเราจะ "บรรลุ" ความเขา้ ใจได้ ก็อาจใชเ้ วลาเป็ นสิบๆ ปี เลยทีเดียว คริสโตเฟอร์ รีฟ
อดีตดาราในบทบาทของซุปเปอร์แมน ไดป้ ระสบอุบตั ิเหตุตกจากหลงั มา้ เขาเคยใหส้ ัมภาษณ์ในรายการ
หน่ึงว่า เขาตอ้ งปรับตวั อย่างมากในช่วงแรก ๆ แลว้ ในท่ีสุด เขาก็สามารถมีความสุขได้ แมว้ ่าจะไม่
สามารถขยบั แขนขยบั ขาไดด้ งั ใจนึกกต็ าม

ผบู้ ริหารคนหน่ึงของบริษทั ในเครือเยื่อกระดาษสยาม เล่าวา่ เขาโชคดีท่ีถูกลูกคา้ ด่าเมื่อสิบกวา่ ปี
ที่แลว้ ในเวลาน้นั ลูกคา้ ซ่ึงเป็ นผจู้ ดั การบริษทั แถวถนนสาธุประดิษฐ์ ไม่พอใจเซลล์ขายกระดาษคนก่อน

36

เป็ นอย่างย่ิงท่ีปรับราคากระดาษโดยกะทนั หัน จนทาให้บริษทั ของเขาตอ้ งสูญเสียเงินจานวนมาก
เขา (เซลลข์ ายกระดาษ) ท่านน้ีไดใ้ ชค้ วามพยายามเอาชนะใจลูกคา้ คนน้ีอยู่ 6 เดือนเตม็ ๆ อนั เป็นเวลาท่ี
ออเดอร์ล๊อตปรากฎข้ึน “ผมขอบคุณวิกฤติการณ์ในคร้ังน้นั มาก มนั ทาใหผ้ มเขา้ ใจในอาชีพนกั ขาย และ
สอนบทเรียนท่ีสาคญั มาจนถึงปัจจุบนั ”

จากตัวอย่างดังกล่าว สามารถสรุปได้ว่า
1. ผปู้ ระสบความสาเร็จมกั ผา่ นวกิ ฤติการณ์และไดบ้ ทเรียนมาแลว้ ท้งั สิ้น
2. ผทู้ ี่จะมีความสุขในการทางานและใชช้ ีวิตได้ ย่อมตอ้ งใชว้ ธิ ีคิดที่เป็ นดา้ นบวกซ่ึงไดร้ ับการ
พสิ ูจนม์ าแลว้
หากอยากมคี วามสุขต้องเริ่มจากการสร้างความคดิ ด้านบวก มองเหตุการณ์อย่างได้ประโยชน์
(ที่มา: http://drterd.com/news/view.asp?id=4)

เร่ืองที่ 4 ปัจจยั ทท่ี าให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ

ความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning Readiness : SDLR) เป็ นส่ิงสาคญั
และจาเป็ นอยา่ งมากสาหรับผทู้ ่ีมีความสนใจ มีความรักจะเรียนรู้ดว้ ยตนเอง วดั ได้จากความรู้สึก และ
ความคิดเห็นท่ีผเู้ รียนมีต่อการแสวงหาความรู้ การที่บุคคลจะเรียนรู้ดว้ ยตนเองไดน้ ้นั ตอ้ งมีลกั ษณะความ
พร้อมของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 8 ประการ ดงั น้ี

1. การเปิ ดโอกาสต่อการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การมีความสนใจในการเรียนรู้มากกว่าผูอ้ ่ืน มีความ
พงึ พอใจกบั ความคิดริเริ่มของบุคคล มีความรักในการเรียนรู้และความคาดหวงั วา่ จะเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง
แหล่งความรู้มีความดึงดูดใจ มีความอดทนต่อการคน้ หาคาตอบในส่ิงท่ีสงสัย มีความสามารถในการ
ยอมรับและใชป้ ระโยชนจ์ ากคาวจิ ารณ์ได้ การนาความสามารถดา้ นสติปัญญามาใชไ้ ด้ มีความรับผิดชอบ
ต่อการเรียนรู้ของตนเอง

2. มีอัตมโนทัศน์ในด้านของการเป็ นผู้เรียนท่ีมีประสิทธิภาพ ไดแ้ ก่ การมีความมนั่ ใจในการ
เรียนรู้ดว้ ยตนเอง ความสามารถจดั เวลาในการเรียนรู้ได้ มีระเบียบวินยั ต่อตนเองมีความรู้ในดา้ นความ
จาเป็ นในการเรียนรู้ และแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ มีความคิดเห็นต่อตนเองว่าเป็ นผูท้ ่ีมีความอยากรู้
อยากเห็น

3. การมีความคิดริเริ่มและเรียนรู้ด้วยตนเอง ไดแ้ ก่ ความสามารถติดตามปัญหายาก ๆ ไดอ้ ย่าง
คล่องแคล่ว ความปรารถนาต่อการเรียนรู้อยเู่ สมอ ชื่นชอบต่อการมีส่วนร่วมในการจดั ประสบการณ์การ
เรียนรู้ มีความเช่ือมนั่ ในความสามารถท่ีจะทางานดว้ ยตนเองไดด้ ี ช่ืนชอบในการเรียนรู้ มีความพอใจกบั
ทกั ษะการอา่ น การทาความเขา้ ใจ มีความรู้เก่ียวกบั แหล่งความรู้ต่าง ๆ มีความสามารถในการวางแผนการ
ทางานของตนเองได้ และมีความคิดริเริ่มในเรื่องการเริ่มตน้ โครงการใหม่ ๆ

37

4. การมีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตน ไดแ้ ก่ การมีทศั นะต่อตนเองในดา้ นสติปัญญาอยู่
ในระดบั ปานกลางหรือสูงกวา่ ยนิ ดีตอ่ การศึกษาในเร่ืองท่ียาก ๆ ในขอบเขตท่ีตนสนใจ มีความเช่ือมน่ั ต่อ
หนา้ ที่ในการสารวจตรวจสอบเกี่ยวกบั การศึกษา ช่ืนชอบท่ีจะมีบทบาทในการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้
ดว้ ยตนเอง มีความเชื่อมนั่ ต่อหน้าที่ในการสารวจตรวจสอบเกี่ยวกบั การศึกษา ช่ืนชอบท่ีจะมีบทบาท
ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบต่อการเรี ยนรู้ของตนเอง และ
มีความสามารถในการตดั สินความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ของตนเองได้

5. รักการเรียนรู้ ได้แก่ มีความช่ืนชมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ มีความปรารถนา
อยา่ งแรงกลา้ ในการเรียนรู้ มีความสนุกสนานกบั การสืบสวนหาความจริง

6. ความคิดสร้างสรรค์ ไดแ้ ก่ มีความคิดที่จะทาสิ่งต่าง ๆ ไดด้ ี สามารถคิดคน้ วิธีการ แปลก ๆ
ใหม่ ๆ และความสามารถท่ีจะคิดวธิ ีตา่ ง ๆ ไดม้ ากมายหลายวธิ ีสาหรับเรื่องน้นั ๆ

7. การมองอนาคตในแง่ดี ไดแ้ ก่ การมีความเขา้ ใจตนเองวา่ เป็ นผทู้ ่ีมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความ
สนุกสนานในการคิดถึงเรื่องในอนาคต มีแนวโนม้ ในการมองปัญหาวา่ เป็ นส่ิงทา้ ทายไม่ใช่สัญญาณให้
หยดุ กระทา

8. ความสามารถในการใช้ทักษะทางการศึกษาหาความรู้และทักษะการแก้ปัญหา คือ มีความ
สามารถใชท้ กั ษะพ้นื ฐานในการศึกษา ไดแ้ ก่ ทกั ษะการฟัง อ่าน เขียน จา และมีทกั ษะในการแกป้ ัญหา

รายละเอยี ดกจิ กรรมการเรียนรู้

กจิ กรรมที่ 1 ใหอ้ ธิบายลกั ษณะของ “ความพร้อมในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง” มาพอสงั เขป
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

38

กจิ กรรมท่ี 2 “รู้เขา รู้เรา”
วตั ถุประสงค์ เพื่อใหผ้ เู้ รียนแสดงความคิด และความรู้สึกท่ีมีตอ่ ตนเอง และผอู้ ่ืน
แนวคิด ส่ิงแวดลอ้ มของการมีเพือ่ นใหม่ คือ การทาความรู้จกั คุน้ เคยกนั บรรยากาศที่เป็ นกนั เองมารยาท
ทางสังคมจะเป็นแนวทางการนาไปสู่สัมพนั ธภาพที่ดีระหวา่ งสมาชิกในกลุ่มซ่ึงจะนาไปสู่การแสดงความ
คิดเห็น การอภิปรายแลกเปล่ียนประสบการณ์ และความร่วมมือในการทางาน
คาชี้แจง

1. ให้ท่านคิดสัญลกั ษณ์แทนตวั เองซ่ึงบ่งบอกถึงลกั ษณะนิสัยใจคอ จานวน 1 ขอ้ วาด/เขียน
ลงในช่องวา่ งท่ีกาหนดให้ขา้ งล่าง หลงั จากน้นั ให้ท่านเขียนอุดมการณ์ แนวคิด หรือคาขวญั ประจาตวั
ลงใตภ้ าพ

2. ให้ท่านไปสัมภาษณ์ พูด คุยกบั เพื่อนหรือคนใกล้ชิด โดยการให้เพื่อนหรือคนใกล้ชิด
คิดสัญลกั ษณ์แทนตวั เองซ่ึงบ่งบอกถึงลกั ษณะนิสัยใจคอ จานวน 1 ขอ้ วาด/เขียนลงในช่องว่างท่ี
กาหนดใหข้ า้ งล่าง หลงั จากน้นั ใหเ้ ขียนอุดมการณ์ แนวคิด หรือคาขวญั ประจาตวั ลงใตภ้ าพ

3. ท่านไดข้ อ้ คิดอะไรบา้ งจากกิจกรรมน้ี

กจิ กรรมที่ 3 “คุณค่าแห่งตน”

วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนเกิดความตระหนกั ในคุณค่าของตนเอง และสร้างความภมู ิใจในตนเอง

2. เพ่ือใหผ้ เู้ รียนสามารถระบุปัจจยั ท่ีมีผลทาใหต้ นไดร้ ับความสาเร็จ และความตอ้ งการ
ความสาเร็จ รวมท้งั ความคาดหวงั ที่จะไดร้ ับความสาเร็จอีกในอนาคต

แนวคิด ทุกคนยอ่ มมีความสามารถอยใู่ นตนเอง การมองเห็นถึงความสาคญั ของตน จะนาไปสู่การรู้จกั
คุณค่าแห่งตน และถ้ามีโอกาสนาเสนอถึงความสามารถและผลสาเร็จในชีวิตให้ผูอ้ ่ืนได้รับทราบ
ในโอกาสท่ีเหมาะสม จะทาให้คนเราเกิดความภาคภูมิใจยิ่งข้ึน การทบทวนความสาเร็จในอดีตจะช่วย
สร้างเสริมความภูมิใจ กาลงั ใจ เจตคติท่ีดี เกิดความเช่ือมน่ั วา่ ตนเองจะเป็ นผูท้ ่ีสามารถเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
ได้ และความตอ้ งการประสบความสาเร็จต่อไปอีกในอนาคตความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองอยา่ งแทจ้ ริง
เป็ นการเห็นคุณค่า คุณประโยชน์ในตนเอง เขา้ ใจ ตนเอง รับผิดชอบต่อทุกสิ่งท่ีตนเป็ นเจา้ ของ ยอมรับ
ความแตกต่างของบุคคล เห็นคุณคา่ การยอมรับของผอู้ ื่น สามารถพฒั นาตนเองท้งั ในดา้ นส่วนตวั ยอมรับ
ยกย่อง ศรัทธาในตวั เองและผูอ้ ื่น ทาให้เกิดความเช่ือมนั่ ในตนเองเป็ นความรู้สึกไวว้ างใจตนเอง
สามารถยอมรับในจุดบกพร่อง จุดอ่อนแอของตนและพยายามแกไ้ ข รวมท้งั ยอมรับความสามารถของ
ตนเองในบางคร้ัง และพฒั นาให้ดีข้ึนเรื่อยไป เมื่อทาอะไรผิดแล้วก็สามารถยอมรับได้อย่างแทจ้ ริง
และแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์

39

คาชี้แจง
1. ใหผ้ เู้ รียนเขียนความสาเร็จท่ีภาคภูมิใจในชีวิตในช่วง 5 ปี ท่ีผา่ นมา จานวน 1 เรื่อง และ

ตอบคาถามในประเดน็ 1) ความรู้สึกเมื่อประสบความสาเร็จ
2) ปัจจยั ท่ีมีผลทาใหต้ นไดร้ ับความสาเร็จ

2. ใหผ้ เู้ รียนเขียนเรื่องที่มีความมุง่ หวงั ท่ีจะใหส้ าเร็จในอนาคตและซ่ึงคาดวา่ ทาไดจ้ ริง
จานวน 1 เรื่อง และตอบคาถามในประเด็น ปัจจยั อะไรบา้ งที่จะทาใหค้ วามคาดหวงั ไดร้ ับความสาเร็จใน
อนาคต

กจิ กรรมที่ 4 “แปรงสีฟันมหัศจรรย์”
วตั ถุประสงค์

เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนตระหนกั ถึงความสาคญั ของการมองโลกในแง่ดี ความคิดสร้างสรรคแ์ ละพฒั นาท้งั
ความคิดในดา้ นบวก และความคิดสร้างสรรคท์ ่ีมีในตนเอง

คาชี้แจง
1. ใหผ้ เู้ รียนเขียนประโยชนข์ องแปรงสีฟัน ใหไ้ ดม้ ากท่ีสุด ในเวลา 5 นาที
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

กจิ กรรมที่ 5 “บณั ฑิตสูงวยั ”
วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือใหผ้ เู้ รียนทราบและเขา้ ใจในแนวคิดการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง และความพร้อมในการเรียนรู้
ดว้ ยตนเอง

2. เพ่ือนาไปสู่ลกั ษณะการเรียนรู้ดว้ ยตนเองที่ใฝ่ เรียนรู้ เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ ความสามารถ
ท่ีจะเรียนรู้ดว้ ยตนเองความรับผิดชอบในการเรียนรู้ การมองอนาคตในแง่ดีของสมาชิก รวมท้งั สมาชิก
เห็นความสาคญั และตระหนกั ในความพร้อมในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

40
แนวคดิ

คุณลกั ษณะพิเศษในการท่ีจะเรียนรู้และพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่องโดยมิจาเป็ นตอ้ งรอคอยจาก
การศึกษาหรือการเรียนรู้อยา่ งเป็ นทางการเพียงอยา่ งเดียว คุณลกั ษณะพิเศษ ดงั กล่าวคือ “ความพร้อมใน
การเรียนรู้โดยการช้ีนาตนเอง” ซ่ึงเป็ นความคิดเห็นวา่ ตนเองมีเจตคติ ความรู้ ความสามารถท่ีจะเรียนรู้
โดยมิตอ้ งใหค้ นอ่ืนกาหนดหรือส่ังการ พร้อมที่จะเรียนรู้วธิ ีการเรียนรู้และประเมินการเรียนรู้ ท้งั อาจดว้ ย
ความช่วยเหลือจากผอู้ ่ืนหรือไม่ก็ตาม การท่ีบุคคลสามารถช้ีนาตนเองที่จะเรียนรู้ ยอ่ มเป็ นโอกาสท่ีบุคคล
จะเรียนรู้ที่จะพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่องและเรียนรู้ตลอดชีวิต การพฒั นาการเรียนรู้โดยการช้ีนาตนเอง
ยอ่ มเป็นหนทางท่ีทาใหบ้ ุคคลเรียนรู้อยา่ งไม่สิ้นสุด

คาชี้แจง ใหผ้ เู้ รียนศึกษาภาพข่าว การสาเร็จการศึกษาจากภาพ ของ บณั ฑิตสูงวยั พร้อมอธิบาย
ในประเดน็

(1) “ความรู้สึกของท่านต่อภาพที่ไดเ้ ห็น”
(2) “ทาไมบุคคลในภาพ ถึงประสบความสาเร็จในการเรียนรู้”

กจิ กรรมที่ 6 “บทสะท้อนจากการเรียนรู้”
วตั ถุประสงค์

เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสารวจตนเอง และตระหนกั ถึงความสาคญั ของความขยนั
แนวคดิ

ความขยนั เป็นสิ่งท่ีดี และสามารถนาบุคคลใหป้ ระสบความสาเร็จในส่ิงที่ตนเองหวงั ได้
คาชี้แจง

ใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบความขยนั สู่ความสาเร็จพร้อมแปลผลแบบทดสอบ

41

แบบทดสอบความขยนั สู่ความสาเร็จ

ให้ผเู้ รียนทาแบบทดสอบเกี่ยวกบั ความขยนั ของตนเองโดยขีดเคร่ืองหมายว่ามีลกั ษณะเช่นใด
โดยตอบใหต้ รงกบั ความคิดหรือความรู้สึกของตนเองมากที่สุด ดงั ต่อไปน้ี
ขอ้ ขอ้ ความ ใช่ ไม่ใช่ บางคร้ัง

(3) (2) (1)
1 ขา้ พเจา้ อยากเรียนหนงั สือมากกวา่ ทาอยา่ งอ่ืน
2 ขา้ พเจา้ ทาการบา้ นทุกวชิ าท่ีครูใหโ้ ดยสม่าเสมอ
3 ขา้ พเจา้ ต้งั เป้ าหมายชีวติ ไวแ้ ลว้ และจะดาเนินการตามน้นั
4 ขา้ พเจา้ ชอบคน้ ควา้ บทเรียนในเร่ืองท่ีสนใจเป็นพิเศษ
5 ขา้ พเจา้ ชอบอธิบายบทเรียนยาก ๆ ใหเ้ พ่ือนฟังเสมอ
6 ขา้ พเจา้ มกั จะดูหนงั สือโดยพยายามทาความเขา้ ใจบทเรียนอยเู่ สมอ
7 ขา้ พเจา้ คิดวา่ ขา้ พเจา้ ชอบเรียนหนงั สือมากกวา่ บริการผอู้ ื่น
8 ขา้ พเจา้ ชอบมาโรงเรียนทุกวนั
9 ขา้ พเจา้ เห็นวา่ การนง่ั เรียนในหอ้ งเรียนเป็นเรื่องที่น่าเบ่ือหน่าย
10 ขา้ พเจา้ มีความสุขทุกคร้ังที่ใหบ้ ริการเพ่ือนหรือครู
11 เม่ือครูสั่งให้เขียนรายงานส่งขา้ พเจา้ มกั จะส่งทนั ตามกาหนดเวลา

เสมอ
12 ถ้าข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้ทากิจกรรมอ่ืน ๆ นอกบทเรี ยน

ขา้ พเจา้ จะมีความรู้สึกต่ืนเตน้ และสนใจ
13 เม่ือขา้ พเจา้ ไดร้ ับมอบหมายให้ทางานใด ๆ ขา้ พเจา้ จะทางานน้ัน

ไดส้ าเร็จ
14 ถ้ามีใครมาขอความร่วมมือจากข้าพเจ้าในเร่ืองท่ีไม่ใช่การเรียน

ขา้ พเจา้ มกั จะใหค้ วามร่วมมือ
15 เมื่อมีวนั เวลาวา่ ง ขา้ พเจา้ ชอบทางานอดิเรกมากกวา่ นง่ั ทอ่ งหนงั สือ

แหล่งท่ีมา : http//203.146.122.12/gmidance/homeroom 2550/indexeq50.htm


Click to View FlipBook Version