The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-12-21 21:59:45

merged (pdf.io)

merged (pdf.io)

รหสัวชิา20000-1301

หนังสอืหมวดสมรรถนะแกนกลาง

Cells

(ScienceforLifeSkills)

หนงัสือเลมน้เีรียบเรียงตามจดุประสงครายวิชาและคาํอธบิายวิชา
หลักสตูรประกาศนยีบตัรวชิาชีพ(ปวช.)พุทธศกัราช2562
ของสาํนักงานคณะกรรมการการอาชวีศึกษากระทรวงศึกษาธกิาร
เหมาะสาํหรับเสริมสรางและพฒันาทักษะชวีิตโดยใชกระบวนการวทิยาศาสตร

ผจู้ดัทาํนายพนพิพฒัน์โตใจ
นายสถาพรปานจนัทร์



รายงานเลมนจ้ีดัทําขึ้นเพื่อเปนสวนหนง่ึของวชิาบรูณาการ
ชน้ัประกาศนยีบัตรวิชาชีพปวช.เพ่ือใหไดศึกษาหาความรูในเรอ่ืง
เซลลและไดศึกษาอยางเขาใจเพอื่เปนประโยชนกับการเรียน

ผจูดัทําหวังวารายงานเลมนจ้ีะเปนประโยชนกับผูอาน
หรอืนักเรยีนนักศึกษาทีก่ําลังหาขอมูลเรื่องน้ีอยูหากมีขอแนะนํา
หรือขอผดิพลาดประการใด

ผูจัดทําขอนอมรบัไวและขออภัยมาณทีน่ดี้วย

คณะผจูัดทาํ
วนัที่๑๒ธันวา๒๕๖๔



สารบญั

เรื่อง หนา
คํานํา ก
สารบัญ ข
บทที่1รจูกัเซลล 1
บทที่2ตนกาํเนิดเซลล 5
บทท่ี3องคประกอบในระดบัท่เีล็กกวาเซลล7
บทที่4กระบวนการในระดบัเซลล 11
บทท่ี5การมหีลายเซลล 14
แบบฝกหัดทายบท 16
เฉลย 19
บรรณานุกรม ค

Cells
1

บทท่ี1
รจูกัเซลล
(knowcells)

เซลล(Cell)หมายถงึหนวยพ้ืนฐานท่เีลก็ทีส่ดุของส่งิมชีีวิต
มีรปูรางลกัษณะและขนาดแตกตางกันขนึ้อยกูบัชนิดของสิ่งมชีีวติ
และหนาทข่ีองเซลลเหลานนั้เซลลท่ีมขีนาดเล็กท่ีสดุคอืไมโครพลาสมา(Mycoplasma)
มขีนาดประมาณ0.1-0.25mเซลลทมี่ีขนาดใหญทีส่ดุคอืเซลลไขนกกระจอกเทศ

Ce2lls

เซลล(Cells)

เซลล(Cell)หมายถึงหนวยพื้นฐานทเี่ล็กทีส่ดุของสิ่งมีชวีิตมีรปูรางลกัษณะและขนาดแตกตางกนัข้ึน
อยูกบัชนดิของส่งิมีชวีิตและหนาทขี่องเซลลเหลานัน้เซลลที่มขีนาดเลก็ท่ีสุดคอืไมโครพลาสมา(Mycoplasma)
หรือPPLO(Pleuropneumonia-likeorganism)มีขนาดประมาณ0.1-0.25m
เซลลทม่ีขีนาดใหญทส่ีดุคือเซลลไขนกกระจอกเทศ

เซลลของสง่ิมชีีวิตโดยทั่วไปมีโครงสรางหลกัคลายกันแตอาจมีลกัษณะบางประการแตกตางอยางเดนชดั
นักชีววทิยาจงึจําแนกส่งิมชีวีิตออกเปน2กลุมตามลกัษณะโครงสรางเซลลคือ

1.โพรแครโิอต(Prokaryote)ไดแกพวกแบคทเีรียไมโครพลาสมาและสาหรายสีเขยีวแกมนา้ํเงนิ
2.ยูแครโิอต(Eukaryote)ไดแกพวกโพรทสิตพืชและสตัว
โครงสรางของเซลลยแูคริโอตโดยท่ัวไปแบงเปน3สวนคอืสวนที่หอหุมเซลลไซโทพลาซึมและนวิเคลีย

Cells
3
รูจักเซลล
เซลล(Cell)เปนโครงสรางและหนวยการทํางานพืน้ฐานที่สดุของสิง่มชีวีติทกุชนดิท่ทีราบกันเซลลเปนหนวยยอย
ทสี่ดุท่จีะเรียกวา"ชวีติ"ได

ในบางครั้งอาจเรียกวา"หนวยโครงสรางของชีวิต"(thebuildingblockoflife)
การศึกษาเกย่ีวกบัเซลลเรียกวาชีววทิยาของเซลล(cellbiology),ชวีวทิยาระดบัเซลล,หรือเซลลวทิยา(cytology)
เซลลประกอบจากไซโทพลาซมึท่ีมีเยือ่หมุลอมรอบ

ภายในไซโทพลาซมึบรรจุสารชีวโมเลกลุเชนโปรตีนและกรดนิวคลอิกิเซลลของพืชและสตัวสวนใหญสามารถ
มองเหน็ไดดวยกลองจุลทรรศนแบบใชแสงทม่ีมีิติระหวาง1ถึง100ไมโครเมตร

กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนใหความคมชัดและรายละเอียดทม่ีากกวาสิง่มีชวีิตถกูจาํแนกออกเปนสงิ่มชีวีติเซลลเดียว
จะเปนจําพวกแบคทเีรยีและหลายเซลลจะเปนพวกเซลลพชืและเซลลสตัวโดยส่ิงมีชวีติเซลลเดยีวสวนมากจดัเปนจลุชพี
ประเภทของเซลล

Cells
4

ประเภทของเซลล

ประเภทของเซลล

เซลลมสีองประเภทคอืยแูครโิอตทม่ีนีิวเคลยีส,และโพรแคริโอตที่ไมมนีวิเคลยีสโดยโพรแคริโอต
จะพบเปนเพียงสง่ิมีชีวิตเซลลเดียวเทานนั้ในขณะทียู่แคริโอตสามารถพบไดทง้ั
สิง่มชีีวิตทมี่เีซลลเดยีวและหลายเซลล

1.โพรแคริโอด

โพรแครโิอตประกอบดวยแบคทีเรยีและอารเคียซ่งึเปนสองจากสามโดเมนของสงิ่มชีวีิต
เซลลโพรแคริโอตเปนรูปแบบแรกของชวีติบนโลกซง่ึถูกกําหนดลักษณะดวยการมีกระบวนการทางชีววิทยา
ทจี่าํเปนอันรวมไปถงึการสือ่สารระหวางเซลล

เซลลประเภทนมี้คีวามซบัซอนนอยและขนาดท่ีเล็กกวาเซลลยูแคริโอต
และไมมนีิวเคลยีสกบัออรแกเนลลท่มีีเย่อืหมุดีเอ็นเอของเซลลโพรแครโิอตประกอบดวย
โครโมโซมแบบวงกลมเพียงหนึ่งวงท่สีมัผัสกบัไซโทพลาซึมโดยตรง
บรเิวณของไซโทพลาซมึทมี่สีารพนัธกุรรมเรียกวานวิคลอีอยด(nucleoid)โพรแครโิอตเกอืบทุกชนดิ
เปนส่งิมีชีวิตขนาดเล็ก

2.เซลลยูแครโิอด

พชื,สัตว,เห็ดรา,ราเมือก,โพรโทซวั,และสาหรายลวนเปนสิ่งมีชีวิตยูแครโิอตเซลลประเภทนี้
มคีวามกวางมากกวาเซลลโพรแครโอตทวั่ไปประมาณ15เทา
และอาจมีปริมาตรท่มีากกวาถึง1000เทา

คณุลักษณะสําคัญที่ใชแยกเซลลยแูครโิอตออกจากเซลลโพรแคริโอตคอืการจัดสวนการทาํงานภาย
ในเซลลดวยการมีออรแกเนลลท่มีเียอ่ืหมุ

สวนการทาํงานท่ีซง่ึเกิดกจิกรรมตางๆภายในเซลลโดยออรแกเนลลทสี่าํคญัทสี่ดุคอืนิวเคลียส
อันบรรจุดเีอ็นเอของเซลลไวนิวเคลียสยังเปนทมี่าของของชือ่ยแูคริโอตท่ีแปลวาแกนแทจรงิ

Cells
5

บทท่ี2
ตนกาํเนิดเซลล
(stemcells)

เซลลตนกําเนิดหรือเซลลตนตอเปนเซลลไมจาํเพาะซึ่งสามารถเจรญิ(differentiate)
ไปเปนเซลลที่ทาํหนาที่เฉพาะและสามารถแบงตัวแบบไมโทซิสเพื่อสรางเซลลตนกําเนิดเพิ่มได
เซลลตนกําเนิดพบในสงิ่มชีวีติหลายเซลลในสัตวเล้ยีงลกูดวยนมแบงเซลลตนกําเนิดออกกวางๆ

Cells
6

ตนกําเนิดเซลล

มอียูหลายทฤษฎีเก่ียวกับโมเลกลุขนาดเลก็ที่นาํไปสูสรรพชีวติในโลกยคุแรก
ซ่ึงอาจถูกนาํมาที่โลกดวยอกุกาบาตถูกสรางข้นึที่ปลองนา้ํรอนใตทะเลลึก,
หรอือาจถกูสังเคราะหดวยฟาผาในบรรยากาศรีดวิซมขีอมลูจากการทดลองนอยมากท่สีามารถ
ใหนิยามวา"รปูแบบ"แรกท่ีสามารถจาํลองตวัเองไดคืออะไรแตเชอื่วาอารเอ็นเออาจเปนโมเลกลุ
จาํลองตัวเองไดรปูแบบแรกสดุ

จากความสามารถในการจดัเกบ็ขอมลูทางพันธกุรรมและการเรงปฏกิริยิาเคมี
ทงั้นต้ีัวตนท่ีมีศักยภาพในการจําลองตวัเองอาจมอียกูอนหนาอารเอน็เอแลว
เชนมอนตมอรลิโลไนตและกรดเพปไทดนวิคลอิิก

Cells
7

ตนกําเนนิเซลล

เซลลปรากฏข้ึนเมื่อ3.5พันลานปท่แีลวในปจจุบันเช่อืวาเซลลท่เีกิดขน้ึมาในยุคน้นัเปนเฮเทอโรทรอพ(heterotroph)
เย่อืหุมเซลลมีความเปนไปไดวาจะซบัซอนนอยกวาและยอมใหสารผานเขาออกไดงายกวาในยคุปจจบุนั
ดวยการมีกรดไขมนัเพียงสายเดียวตอลพิิดจากที่ทราบกนัวาลิพดิจัดตัวเปนเวสิเคิลเย่อืไขมันแบบสองชนั้ในทันทีเมือ่อยูในน้ํา
และอาจมมีากอนอารเอ็นเอแตเยือ่หมุเซลลแบบแรกๆอาจถูกสรางขน้ึโดยอารเอน็เอที่เรงปฏกิิรยิาเคมีได
และอาจตองอาศยัโปรตนีโครงสรางสาํหรับการกอตัว

Cells
8

บทที่3
องคประกอบในระดบัทีเ่ลก็กวาเซลล
(elementsonasmallerscalethanacell)

เซลลทุกชนดิไมวาจะเปนโพรแครโิอตหรือยูแครโิอตลวนมีเยอ่ืหมุลอมรอบเซลล
เพือ่ควบคุมการผานเขาออกของสาร(เยอ่ืเลือกผาน),และรกัษาศกัยไฟฟาของเซลลดานในของเย่อืหมุ
ไซโทพลาซึมกนิปรมิาตรเกอืบท้งัหมดของเซลลเซลลทุกชนิดยกเวนเซลลเม็ดเลือดแดงท่ีไมมีนิวเคลยีส
ออรแกเนลลเกอืบทกุชนดิเพอื่เอ้ือใหมพี้ืนทสี่งูสุดสําหรับรองรับฮโีมโกลบนิ
มีดีเอ็นเอท่ีเปนสารที่ถายทอดไดทางพันธุกรรมของยีนอารเอน็เอมท่บีรรจุขอมลูทจี่าํเปนสําหรบัโปรตนี
หลายชนิดเชนเอนไซม(หนวยปฏิบตังิานท่สีําคญัของเซลล)
และยงัมีชวีโมเลกลุอีกหลายชนดิในทีน่้จีะกลาวถงึองคประกอบของเซลลท่สีําคญัเทานั้น

Cells
9

องคประกอบในระดบัเลก็กวาเซลล

เซลลปรากฏขึ้นเมอื่3.5พนัลานปท่ีแลวในปจจุบนัเชอื่วาเซลลท่ีเกดิขึน้มาในยคุนั้นเปนเฮเทอโรทรอพ(heterotroph)
เยือ่หมุเซลลมีความเปนไปไดวาจะซับซอนนอยกวาและยอมใหสารผานเขาออกไดงายกวาในยคุปจจุบนั
ดวยการมกีรดไขมนัเพยีงสายเดยีวตอลิพิดจากท่ีทราบกนัวาลพิดิจัดตัวเปนเวสิเคลิเยือ่ไขมนัแบบสองชัน้ในทนัทเีมื่ออยใูนนา้ํ
และอาจมมีากอนอารเอ็นเอแตเย่อืหมุเซลลแบบแรกๆอาจถกูสรางขึน้โดยอารเอ็นเอท่ีเรงปฏกิิริยาเคมไีด
และอาจตองอาศัยโปรตีนโครงสรางสําหรับการกอตวั

1.เยอ้ืหุม
เย่อืหุมเซลลหรือพลาสมาเมมเบรนเปนเยอ่ืชวีภาพที่ลอมรอบไซโทพลาซมึสาํหรบัในสตัวเยอ่ืหมุ
เปนขอบเขตนอกสดุของเซลลในขณะที่พชืและโพรแครโิอตมกัหุมดวยผนังเซลลเย่ือหุมทําหนาท่แียก
และปกปองเซลลจากสง่ิแวดลอมภายนอกโดยประกอบจากชน้ัคูของฟอสโฟลพิดิท่ี
มสีมบัตเิปนแอมฟฟลกิ(มีท้ังสวนท่ีเปนไฮโดรโฟบกิและไฮโดรฟลกิ)ดวยเหตุน้จีงึถูก
เรยีกวาฟอสโฟลิพดิไบแลรหรอือาจเรียกวาฟลูอิดโมเซอคิเมมเบรนมโีครงสรางระดบัมหโมเลกุลท่ี
เรียกวาพอโรโซมเปนทางผานเอนกประสงคสาํหรับการหลั่งสารของเซลลและมโีมเลกลุของโปรตนี
จาํนวนมากทําหนาท่เีปนทัง้ชองทางผานและปมสาํหรบัเคล่อืนสารเขาและออกจากเซลล
เยื่อหุมเซลลยอมใหสารบางอยางผานโดยใหสสาร(เชนโมเลกุลหรือไอออน)ผานไดอยางอิสระ,
ผานไดในจํานวนท่จีาํกดั,หรอืผานไมไดเลยแมแตนอยนอกจากนีผ้วินอกของเย่อืหุมเซลลยงัมีโปรตีนตวัรบั
ที่ทําใหเซลลสามารถตรวจจบัโมเลกลุสื่อสัญญาณเชนฮอรโมน

Cells
10

2.ไซโทสเกเลตัน
ไซโทสเกเลตนัทาํหนาทจ่ีัดและรกัษารูปรางของเซลลยึดออรแกเนลลใหอยกูบัท่ี

ชวยใหเกดิกระบวนการเอนโดไซโทซิสทท่ีําใหเซลลสามารถรบัสารเขามาไดและกระบวนการ
ไซโทไคนีซิสซ่งึเปนกระบวนการแยกเซลลลกูหลังจากการแบงเซลลและเคลือ่นสวนของเซลล
ในระหวางการเจรญิเติบโตและการเคลื่อนที่
3.ออรแกเนลล

ออรแกเนลลเปนสวนหน่ึงของเซลลที่ปรับตัวและหรอืพฒันาไปทําหนาทสี่าํคัญเปรีบยไดกบั
อวยัวะของรางกายมนุษยเชนหัวใจไตและตับโดยแตละอวัยวะมหีนาทต่ีางกนัออกไป
ทั้งโพรแคริโอตและยแูคริโอตมอีอรแกเนลลแตออรแกเนลลของโพรแคริโอตมีความซบัซอน
นอยกวาและไมมีเยื่อหุมออรแกเนลล
4.ยูแคริโอต

ยแูครโิอตคือสิ่งมีชวีิตทเ่ีซลลมนีวิเคลียสและโครงสรางอื่น(ออรแกเนลล)
อยภูายในเย่ือหุมเซลลยูแคริโอตเปนหนวยอนกุรมวธิานยูคารยาหรือยแูครโิอตาอยางเปนทางการ
เยอ่ืหุมนิวเคลยีสเปนโครงสรางท่ีนยิามเซลลยูแคริโอตแยกจากเซลลโปรแคริโอต
โดยภายในเยอื่หมุนิวเคลียสมสีารพันธุกรรมการมีนวิเคลยีสเปนทีม่าของชอ่ืยูแคริโอต
ซ่งึมาจากภาษากรกี(eu"ดี")และ(karyon,"ผลมีเมลด็เดยีว"หรือ"เมล็ด")
เซลลยแูครโิอตสวนใหญยงัมอีอรแกเนลลทีม่เีย่ือหุมอื่นดวยเชนไมโทคอนเดรยีหรือกอลจิแอพพาราตัส
นอกเหนือจากน้ีพชืและสาหรายยงัมีคลอโรพลาสตส่งิมชีวีิตเซลลเดยีวหลายชนดิเปนยูแคริโอตเชน
โปรโตซัวแตสงิ่มชีวีิตหลายเซลลทกุชนิดเปนยแูคริโอตซงึ่ไดแกสตัวพืชและเห็ดรา

Cells
11
บทท่ี4
กระบวนการภายในระดบัเซลล
(processesatthecellularlevel)

การแบงเซลลเกยี่วของกบัการที่เซลลหนงึ่แบงตวัออกเปนเซลลลกูสองเซลลซง่ึนาํไปสูการเจรญิเตบิโต
ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล(การเจรญิของเนื้อเยอื่)และการสบืพนัธุ(แบบไมอาศัยเพศ)ในสงิ่มีชีวิต
เซลลเดยีวเซลลโพรแคริโอตแบงตวัดวยกระบวนการแบงออกเปนสอง(binaryfission)
ในขณะท่เีซลลยแูคริโอตแบงผานกระบวนการแบงนวิเคลยีสท่เีรยีกวาไมโทซิส(mitosis)
ตามดวยกระบวนการแบงเซลลทเี่รยีกวาไซโทไคนซีสิ(cytokinesis)เซลลดิพลอยดอาจผาน
กระบวนการไมโอซิสเพอ่ืผลติเซลลแฮพลอยดท่ปีกตไิดเซลลลกูสเี่ซลล
เซลลแฮพลอยดที่ไดทาํหนาท่เีปนเซลลสบืพันธใุนส่งิมชีวีติหลายเซลลโดยรวมตวักันเปนเซลลดพิลอยด

Cells
12

กระบวนการในระดับเซลล

การแบงเซลลเกี่ยวของกบัการท่ีเซลลหนึ่งแบงตัวออกเปนเซลลลกูสองเซลลซง่ึนาํไปสูการเจรญิเติบโต
ของส่ิงมีชีวิตหลายเซลล(การเจรญิของเนื้อเย่อื)และการสืบพนัธุ(แบบไมอาศัยเพศ)ในสง่ิมชีีวิตเซลลเดยีว
เซลลโพรแครโิอตแบงตวัดวยกระบวนการแบงออกเปนสอง(binaryfission)ในขณะทเ่ีซลลยูแครโิอต
แบงผานกระบวนการแบงนิวเคลียสที่เรยีกวาไมโทซิส(mitosis)ตามดวยกระบวนการ
แบงเซลลทีเ่รียกวาไซโทไคนีซิส(cytokinesis)เซลลดพิลอยดอาจผานกระบวนการไมโอซิสเพ่ือผลิตเซลล
แฮพลอยดที่ปกติไดเซลลลูกสเี่ซลลเซลลแฮพลอยดทไ่ีดทาํหนาท่ีเปนเซลลสบืพนัธุในสิง่มีชีวติหลายเซลล
โดยรวมตัวกันเปนเซลลดิพลอยด

การจาํลองดเีอ็นเอ(หรอืกระบวนการทําสําเนาจโีนมของเซลล)เกดิขึ้นเมือ่เซลลแบงตวัผาน
กระบวนการไมโทซิสหรือการแบงออกเปนสองในระยะSของวัฏจักรเซลลในไมโอซสิ

ดเีอน็เอถกูจาํลองเพยีงครั้งเดยีวในระยะทีเ่ซลลมกีารแบงตวัสองคร้ังการจําลองดีเอน็เอเกดิขนึ้
กอนระยะไมโอซสิIเทาน้นัโดยจะไมเกิดขึน้ในการแบงเซลลระยะทสี่องของระยะไมโอซิสII
และเชนเดียวกับกจิกรรมอน่ืๆของเซลลการจําลองตวัเองตองอาศยัโปรตีนทพี่ฒันามาเปนพเิศษ
สําหรบัดาํเนนิกระบวนการซอมแซมดีเอน็เอ

การซอมแซมดีเอน็เอ

การซอมแซมดเีอ็นเอโดยปกติเซลลของสิ่งมีชีวิตทุกชนดิบรรจเุอนไซมที่ตรวจตราดเีอ็นเอ
เพอื่หาความเสียหายและดําเนินกระบวนการซอมแซมเมื่อตรวจพบสง่ิมชีีวิตตัง้แตแบคทีเรียจนถงึ
มนษุยไดพัฒนากระบวนการซอมแซมทหี่ลากหลายอนัเปนสง่ิทร่ีะบไุดถงึความสําคญัของการบํารุงรกัษา
ดีเอน็เอใหอยใูนสภาวะปกตเิพื่อหลีกเลย่ีงการตายของเซลลหรือความผิดพลาดในกระบวนการจาํลอง
ตวัเองที่เปนผลมาจากความเสยีหายของดีเอน็เอซ่งึอาจนําไปสูการกลายพนัธ

Cells
13

การเจริญแบบเมแทบอลิซึม

การเจริญแบบเมแทบอลซิึมระหวางกระบวนการแบงเซลลท่เีกดิขน้ึสืบเนือ่งเซลลเจรญิเตบิโตผานการ
ทํางานของกระบวนการเมแทบอลิซึมระดับเซลลซ่ึงเปนกระบวนการทีแ่ตละเซลลมกีารแปรรปูโมเลกลุ
ของสารอาหารโดยมีอยสูองประเภทคอืแคแทบอลซิึมทเี่ปนการแยกสลายโมเลกลุซบัซอนเพ่ือใหไดพลงังาน
และความสามารถในการรดีิวซ(reducingpower)และแอแนบอลซิมึซ่งึเซลลใชพลงังานและ
ความสามารถในการรดีิวซเพอ่ืสรางโมเลกลุซับซอนและดาํเนินกระบวนการทางชีววทิยาอน่ืๆ
นา้ํตาลเชิงซอนท่สีง่ิมชีวีิตบรโิภคเขาไปสามารถถกูยอยสลายเปนโมเลกลุนํา้ตาลอยางงายทเ่ีรยีกวา
มอโนแซ็กคาไรดเชนกลูโคสทเี่มื่ออยูภายในเซลลจะถูกแยกสลายไปอีกเพ่ือสรางอะดีโนซนีไตรฟอสเฟต
อนัเปนโมเลกุลเปนแหลงพลังงานพรอมใชงานของเซลลผานสองวถิที่แีตกตางกัน

Cells
14
บทท่ี5
การมีหลายเซลล
(multicellular)

ส่ิงมชีีวติหลายเซลลคือส่ิงมชีีวิตที่ประกอบขน้ึจากเซลลหลายๆเซลลตรงกันขามกบัสง่ิมีชีวติเซลลเดยีว
ในสิง่มีชวีิตหลายเซลลทีซ่บัซอนเซลลมีการพัฒนาไปเปนหลายประเภทท่ีแตกตางกนัตามหนาทที่่ีจําเพาะ
ในสตัวเลี้ยงลกูดวยนมชนดิหลกัๆของเซลลคือเซลลผวิหนงัเซลลกลามเน้ือ,เซลลประสาท,เซลลเมด็เลือด
ไฟโบรบลาสต,สเต็มเซลล,และอื่นๆเซลลตางชนดิกันมักมีรูปรางและการทํางานท่ตีางกนัจาก
การแสดงออกทต่ีางกันของยนีทีเ่ซลลบรรจไุวแตกระนนั้กย็ังเหมอืนกันในทางพนัธุกรรม

Cells
15

การมีหลายเซลล

ส่งิมชีวีิตหลายเซลลคอืส่งิมีชีวติท่ปีระกอบขึน้จากเซลลหลายๆเซลลตรงกันขามกับสิ่งมชีีวติเซลลเดียว
ในส่งิมีชวีติหลายเซลลที่ซับซอนเซลลมกีารพัฒนาไปเปนหลายประเภทท่แีตกตางกนัตามหนาทท่ีจ่ีาํเพาะ
ในสัตวเล้ียงลกูดวยนมชนดิหลกัๆของเซลลคอืเซลลผวิหนังเซลลกลามเนือ้,เซลลประสาท
เซลลเม็ดเลือด,ไฟโบรบลาสต,สเต็มเซลล,และอืน่ๆเซลลตางชนดิกันมักมรีปูรางและการทํางาน
ทต่ีางกนัจากการแสดงออกทีต่างกนัของยีนท่ีเซลลบรรจไุวแตกระน้นัก็ยงัเหมอืนกนัในทางพันธุกรรม
โดยมีจโีนไทปทเี่หมือนกนัเซลลแตละชนดิท่แีตกตางกนัลวนมีพัฒนามาจากเซลลตนกาํเนดิเพยีงเซลลเดยีว
ทีเ่รียกวาไซโกตซงึ่พัฒนาไปเปนเซลลหลายรอยชนิดที่แตกตางกันระหวางกระบวนการพฒันาไซโกต
การพัฒนาไปทําหนาที่เฉพาะ(differentiation)ถกูขบัเคลื่อนดวยปจจัยจากส่งิแวดลอม
เชนการมีปฏิสัมพันธกบัเซลลขางเคยีงและจากความแตกตางภายในเซลล
เชนทเ่ีกิดจากการกระจายของโมเลกลุที่ไมเทากันระหวางกระบวนการแบงเซลล

ตนกําเนดิของการมีหลายเซลล์

การมหีลายเซลลมกีารพัฒนาข้ึนอยางเปนอสิระตอกันอยางนอย25คร้ังรวมถึงในโพรแครโิอตเชน
ไซยาโนแบคทเีรีย,myxobacteria,actinomycetesMagnetoglobusmulticellularis
หรอืMethanosarcinaอยางไรกต็ามส่งิมชีวีิตหลายเซลลท่มีีความซบัซอนพัฒนาข้นึในยแูครโิอต
เพยีงหกกลุม:สัตว,เห็ดรา,สาหรายสีน้าํตาล,สาหรายสีแดง,สาหรายสเีขยีว,และพืช
พบวามกีารวิวฒันข้นึซํ้าไปมาในพืช(Chloroplastida),หน่งึหรอืสองครงั้ในสัตว,หนง่ึคร้ังในสาหรายสีนา้ํตาล
และอาจหลายครั้งในเห็ดรา,ราเมอืก,และสาหรายสแีดงการมหีลายเซลลอาจววิฒันขึ้นจากโคโลนี(colony)
ของสิ่งมีชีวติท่พีง่ึพาระหวางกัน,การแบงออกเปนเซลล(cellularisation),หรือจากส่ิงมีชวีิตท่มีคีวามสมัพนัธ
แบบอยรูวมกันหลกัฐานแรกของการมีหลายเซลลมาจากสิ่งมีชวีติคลายไซยาโนแบคทีเรยีทม่ีีชีวิต
อยูระหวาง3ถึง3.5พันลานปท่ีแลวฟอสซิลอื่นของสิง่มีชีวิตหลายเซลลยคุแรกมี

วิวัฒนาการของการมหีลายเซลลจากบรรพบรุษุที่มีเซลลเดียวไดมกีารจําลองในหองปฏิบัติการ
เปนการทดลองเกยี่วกับวิวัฒนาการทใ่ีชการลาเหย่อืเปนปจจยักดดนั

Cells
16

แบบฝกหัดทายบท
1.โพรแครโิอตประกอบดวยแบคทีเรยีและอารเคียซึง่เปนสองจาก...............ส่ิงมชีวีิตอะไร
ตอบ.......................................................................................................................................
2.เยื่อหุมเซลลคอือะไร
ตอบ.......................................................................................................................................
3.การซอมแซมดีเอน็เอคอือะไร(อธิบฺายโดยละเอยีด)
ตอบ.......................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
4.เซลลยูแครโิอตจะพบอยใูนสงิ่มีชวีิตเซลลใด
ตอบ.......................................................................................................................................
5.ผูท่คีนพบเร่อืงเซลลเปนคนแรกคอืใคร
ตอบ.......................................................................................................................................
6.จงอธบิายความหมายของคําวาประเภทของเซลลโดยละเอียด
ตอบ.......................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
7.เซลลโพรแครโิอตและเซลลยูแคริโอตแตกตางกนัอยางไร
ตอบ.......................................................................................................................................

Cells
17

8.จงอธิบายเซลลยูแครโิอตโดยละเอียด
ตอบ.......................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
9.จงเขียนสรปุMindMapเร่อืงเซลลโดยกําหนดใหใหมหีวัยอยคอื
รจูักเซลลตนกําเนดิเซลลองคประกอบในระดบัท่เีล็กกวาเซลลกระบวนการในระดับเซลล
การมีหลายเซลล

10.จงอธบิายกระบวนการในระดับเซลลโดยละเอียด
ตอบ.......................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

Cells
18

เฉลย

1.ตอบสามโดเมน
2.ตอบเย่อืหุมเซลลหรอืพลาสมาเมมเบรนเปนเย่ือชีวภาพทล่ีอมรอบไซโทพลาซึมสาํหรับในสัตว
เยือ่หุมเปนขอบเขตนอกสุดของเซลลในขณะทพ่ีืชและโพรแคริโอตมกัหุมดวยผนังเซลล
เยอื่หุมทําหนาท่แียกและปกปองเซลลจากสิ่งแวดลอมภายนอกโดยประกอบจากชน้ัคขูองฟอสโฟลพิิด
ที่มีสมบตัเิปนแอมฟฟลิก(มีท้งัสวนทเี่ปนไฮโดรโฟบิกและไฮโดรฟลกิ)
3.ตอบโดยปกติเซลลของสิ่งมชีีวิตทกุชนดิบรรจุเอนไซมที่ตรวจตราดีเอน็เอเพ่ือหาความเสียหาย
และดําเนนิกระบวนการซอมแซมเมอื่ตรวจพบส่งิมชีวีิตตง้ัแตแบคทเีรียจนถงึมนษุยไดพฒันา
กระบวนการซอมแซมทห่ีลากหลายอันเปนสิง่ทีร่ะบไุดถงึความสาํคัญของการบํารงุรักษาดเีอน็เอ
ใหอยใูนสภาวะปกติเพอื่หลีกเล่ยีงการตายของเซลลหรอืความผดิพลาดในกระบวนการจาํลอง
ตัวเองท่เีปนผลมาจากความเสียหายของดี
4.ตอบโพรแคริโอตจะพบเปนเพยีงสิง่มีชวีติเซลลเดยีว
5.ตอบรอเบิรตฮุก
6.ตอบเซลลมสีองประเภทคือยแูคริโอตที่มีนวิเคลยีส,และโพรแครโิอตทไ่ีมมนีิวเคลียส
โดยโพรแครโิอตจะพบเปนเพยีงส่ิงมีชวีิตเซลลเดียวเทาน้นัในขณะทียู่แคริโอตสามารถพบได
ทั้งสงิ่มีชวีิตทมี่เีซลลเดยีวและหลายเซลล
7.ตอบยแูคริโอตทม่ีนีิวเคลยีสแตโพรแครโิอตทีไ่มมนีวิเคลียส
8.ตอบเซลลประเภทนมี้คีวามกวางมากกวาเซลลโพรแครโอตทั่วไปประมาณ15เทา
และอาจมีปรมิาตรท่มีากกวาถงึ1000เทาคณุลักษณะสาํคัญท่ีใชแยกเซลลยแูคริโอตออกจาก
เซลลโพรแครโิอต
9.ตอบพจิารณาโดยตนเอง
10.ตอบการแบงเซลลเกีย่วของกับการทีเ่ซลลหน่งึแบงตัวออกเปนเซลลลูกสองเซลล
ซ่งึนําไปสกูารเจริญเตบิโตของสงิ่มีชีวิตหลายเซลล(การเจรญิของเนือ้เยือ่)
และการสบืพันธุ(แบบไมอาศยัเพศ)ในส่ิงมีชีวติเซลลเดียว



บรรณานุกรม

สารสนเทศทส่ีบืคนจากเวบ็ไซตตางๆ

//ผแูตงนายพนพิพัฒนโตใจแผยแผป2564วนัท่ี21ธนัวาคม//
//ผแูตงนายสถาพรปานจันทรแผยแผป2564วนัท่ี21ธนัวาคม//
ขอขอบคุณแหลงขอมูล
เซลลhttps://th.wikipedia.org/wikiเขาเมื่อวันท่ี20/12/64
ภาพพน้ืหลังสวยๆจากhttps://www.pinterest.com/pinเขาเมื่อวันที่20/12/64


Click to View FlipBook Version