บนั ทึกข้อความ
ส่วนราชการ โรงเรียนบ้านบงุ่ คล้า ตาบลบุ่งคล้า อาเภอหล่มสัก จังหวดั เพชรบูรณ์
ท่ี ../2563 วันท่ี 12 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563
เร่อื ง รายงานผลการอบรมหลกั สตู รวทิ ยาการคานวณสาหรบั ครู Coding for Teacher (C4T) ภายใต้
นโยบาย “การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรโู้ ค้ดดงิ้ ในโรงเรยี น” หลกั สูตรอบรมออนไลนก์ ารจดั การเรียนรู้
วทิ ยาการคานวณสาหรบั ครูมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-3 Coding Online for Grade 7-9 Teacher (C4T – 8)
เรียน ผ้อู านวยการโรงเรียนบ้านบ่งุ คล้า
ตามท่ีข้าพเจา้ นางสวุ ีรด์ า ปะนิทานะโต ตาแหนง่ ครู โรงเรียนบ้านบุ่งคลา้ สงั กดั สานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 2 ได้อบรมหลกั สูตรวิทยาการคานวณสาหรับครู Coding for
Teacher (CT) ภายใต้นโยบาย “การขบั เคลอ่ื นการจดั การเรยี นรโู้ คด้ ดง้ิ ในโรงเรียน” ซึง่ เป็นหลกั สตู รอบรม
ออนไลนก์ ารจัดการเรียนรู้วทิ ยาการคานวณสาหรับครูมธั ยมศึกษาปที ่ี 1-3 Coding Online for Grade 7-9
Teacher (C4T – 8) ปกี ารศึกษา 2562 รหสั -หลักสูตร 62159 จดั โดยสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พน้ื ฐาน (สพฐ.) และสถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) รวมเปน็ เวลาจานวน 12
ชั่วโมง น้ัน
บัดน้ี การอบรมตามโครงการดังกล่าว ได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าจึงขอนาส่งรายงานการอบรม
มาพร้อมกับหนังสอื ฉบับน้ี
จึงเรยี นมาเพ่อื โปรดทราบและพิจารณา
ลงช่อื ........................................ผ้รู ายงาน
( นางสวุ รี ด์ า ปะนทิ านะโต )
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
รายงานการอบรม
หลกั สูตรอบรมการจัดการเรยี นรู้วิทยาการคานวณสาหรับครูระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
โดย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.)
สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันท่ี 4 พฤษภาคม 2563
*******************************************************************************************
1. หลักสูตร
ชื่อหลักสูตรภาษาไทย หลักสูตรวิทยาการคานวณสาหรับครู Coding for Teacher (C4T) ภายใต้
นโยบาย “การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้โค้ดดิ้งในโรงเรียน” หลักสูตรอบรมออนไลน์การจัดการเรียนรู้
วทิ ยาการคานวณสาหรบั ครูมัธยมศกึ ษาปีที่ 1-3 Coding Online for Grade 7-9 Teacher (C4T – 8)
รหสั หลกั สตู ร : 62159
เรียนรู้รวมเป็นเวลาจานวน 20 ช่วั โมง เรยี นรจู้ าก https://teacherpd.ipst.ac.th
2. จุดประสงค์การเขา้ ฝกึ อบรม
1. รแู้ ละเข้าใจแนวทางการจดั การเรยี นร้เู ทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ได้
2. สามารถนาความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และมีการแบ่งปัน
ความรูร้ ่วมกันเพอื่ สร้างสงั คมการเรียนรทู้ างวิชาชีพ
3. เพ่ือฝึกทกั ษะการทางานร่วมกับผอู้ ่นื การทางานเป็นทมี ความสามัคคี
3. ผลจากการอบรม ไดน้ าความรคู้ วามสามารถ ประสบการณ์ ทกั ษะ หรอื อน่ื ๆ ที่ได้รับในการอบรมนามา
เพื่อพฒั นางานของหน่วยงาน ดงั น้ี
3.1. ดา้ นความรู้
ข้าพเจ้าได้รับองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณสาหรับครู (Coding for Teacher:
C4T) แบบออนไลน์ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-3 (20 ชวั่ โมง)
ซง่ึ การจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาการคานวณระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐานพธุ ศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) โดยมีเนื้อหาประกอบด้วย 8 สว่ น ไดแ้ ก่
1. แนะนาวิทยาการคานวณ ประกอบด้วยเน้ือหา การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้โค้ดด้ิงในโรงเรียน
การจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ และตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้วิทยาการคานวณระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น
2. กิจกรรมที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
2.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและการทาความสะอาดข้อมลู
2.2 การสรา้ งแบบสอบถามออนไลน์
2.3 การสร้างทางเลือก
2.4 การประมวลผลข้อมูลเพอ่ื สรา้ งทางเลือกในการตัดสินใจ
3. กิจกรรมท่ี 2 การรู้ดจิ ิทัล
3.1 การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย
3.2 Be Internet Awesome
4. กิจกรรมท่ี 3 แนวคดิ เชิงคานวณ
4.1 แนวคดิ เชิงคานวณ
4.2 รว่ มดว้ ยช่วยกัน จัดช้ันหนังสือ
4.3 หมูบ่ า้ นของฉัน แบง่ ปันใหเ้ ธอ
4.4 คดิ ทา่ สนุก แล้วลุกเต้นกนั
5. กิจกรรมที่ 5 การแก้ปัญหา
5.1 Unplugged Coding
5.2 การแกป้ ญั หา
5.3 การถา่ ยทอดความคิด
6. กิจกรรมท่ี 6 การแก้ปญั หาดว้ ย Scratch
6.1 เรม่ิ ตน้ กับ Scratch
6.2 การทางานแบบสร้างทางเลอื ก
6.3 ฟงั ก์ชัน
7. กิจกรรมท่ี 7 การแกป้ ญั หาดว้ ย Python
7.1 รจู้ ักกบั Python
7.2 โปรแกรมแสดงผลขอ้ มลู
7.3 โปรแกรมคานวณพ้ืนฐาน
7.4 โปรแกรมวาดรูปดว้ ยเต่าไพทอน
7.5 ทางเลือกของฉนั
8. กิจกรรมที่ 8 การออกแบบและเทคโนโลยี
8.1 ธรรมชาตขิ องเทคโนโลยี
8.2 การออกแบบเชิงวศิ วกรรม
3.2. ด้านทักษะ
ข้าพเจ้าไดร้ บั องค์ความร้แู ละทักษะการถา่ ยทอดองค์ความรู้จากการถ่ายทอดอย่างดีเยี่ยมของวิทยากร
ทุกท่านและข้าพเจ้าจะมุ่งเน้นในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้นักเรียนมีทักษะที่สาคัญในการดารงชีวิตใน
ศตวรรษที่ 21 อันได้แก่ ทักษะพื้นฐานความคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) , ทักษะพ้ืน
ฐานความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) , ทักษะการเรียนรู้และทักษะด้านนวัตกรรม
(Learning and Innovation –The 4 C’s) , ทักษะการทามาหาเล้ียงชีพและการดาเนินชีวิต (Career and
Life) และทักษะพื้นฐานการรู้เท่าทันส่ือและข่าวสาร (Media and information Literacy) ซ่ึงทักษะพื้นฐาน
เหลา่ น้ีเปน็ สิง่ สาคญั ทนี่ ักเรียนควรได้รับการปลูกฝังเพ่ือเป็นรากฐานของการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพ่ิม
ศักยภาพและนวัตกรรมที่จะนาไปสู่การพฒั นาประเทศต่อไป
3.3. ดา้ นความเป็นครู
ข้าพเจ้าจะนาองค์ความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้เกิดองค์ความรู้อย่างเต็มศักยภาพและ
สอดแทรกเพิ่มเตมิ ทักษะต่าง ๆ บนพน้ื ฐานความแตกต่างของผู้เรียนรายบุคคลอย่างเต็มความสามารถ และนา
ความรู้ไปขยายผลส่ชู ุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC) เพือ่ พฒั นาผู้เรยี นให้ดยี ่ิงขึ้นสืบไป
ลงช่ือ........................................ผรู้ ายงาน
( นางสวุ ีรด์ า ปะนิทานะโต )
ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
ความคดิ เห็นของผู้บริหาร
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงช่ือ.....................................................
(นายกิตติชยั ด้วงธรรม)
ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นบุง่ คล้า
ภาคผนวก
ประกาศและการรบั รองหลกั สตู รจาก สพฐ.
ภาพหนา้ จอการอบรม
เกยี รตบิ ัตรการอบรม
เอกสารประกอบการอบรม