แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1
รายวชิ าคณิตศาสตร์ 6 รหัสวิชา ค 33102 ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 เรอื่ ง การสำรวจความคดิ เห็น เวลา 20 ช่วั โมง
เรื่อง ความหมายและวิธีการสำรวจความคดิ เหน็ เวลา 2 ชวั่ โมง
ผสู้ อน นางกิจศรา พรหมสวาท โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั สุราษฎรธ์ านี
แนวคิดสำคัญ
ความหมายของการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นของกลุ่มบุคคลเกี่ยวกับเรื่องหนึ่งก็คือการเก็บรวบรวมข้อมูล โดย
วธิ ีการสอบถามความคดิ เหน็ เกยี่ วกับเรอื่ งดังกลา่ วจากกลุ่มบุคคลนัน้ ๆ
การสำรวจความคดิ เหน็ มขี ้นั ตอนและวิธีการท่ีสำคญั ดงั น้ี
1. การกำหนดขอบเขตของการสาํ รวจ
2. วิธเี ลือกตวั อยา่ ง
3. การสรา้ งแบบสาํ รวจความคดิ เหน็
4. การประมวลผลและวิเคราะห์ความคิดเห็น
ในการสำรวจความคิดเหน็ ตอ้ งกำหนดของเขตของการสำรวจความคิดเห็นให้ชดั เจน ขอบเขต
ของการสำรวจความคดิ เหน็ อาจกำหนดไดห้ ลายแบบ เชน่
1. กำหนดดว้ ยพนื้ ที่ เชน่ พื้นทร่ี วมท้ังประเทศ พนื้ ทภี่ าคเหนอื พื้นที่กรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑล พืน้ ท่ีอำเภอองครกั ษ์ จงั หวัดนครนายก
2. กำหนดดว้ ยลักษณะส่วนตัวของผตู้ อบ เช่น เพศ อายุ ระดบั การศึกษา อาชีพ รายได้
3. กำหนดด้วยการมีส่วนไดส้ ่วนเสยี กับเรอ่ื งทจ่ี ะทำการสำรวจ เช่น ผทู้ ี่มีส่วนได้เสียกบั การ
เปดิ หรือปดิ เข่ือนปากมูล จงั หวดั อบุ ลราชธานี
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรู้ทางสถติ ิในการแก้ปัญหา
ตวั ชว้ี ัด
ม.6/1 เขา้ ใจและใชค้ วามรทู้ างสถิติในการนำเสนอข้อมลู และแปลวามหมายของ
ค่าสถิตเิ พื่อประกอบการตดั สินใจ
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายความหมายของการสำรวจความคดิ เหน็
2) บอกวธิ ีสำรวจความคิดเห็น
3) สามารถหาขอบเขตของการสำรวจได้
สาระการเรยี นรู้
ด้านความรู้
1) ความหมายของการสำรวจความคดิ เห็น
2) วธิ สี ำรวจความคดิ เหน็
3) ขอบเขตของการสำรวจได้
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ
ใชภ้ าษาและสญั ลักษณ์ทางคณิตศาสตรใ์ นการส่ือสาร การสอื่ ความหมาย และการ
นำเสนอได้อยา่ งถูกต้องชัดเจน
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง
2. ซ่ือสัตย์สจุ รติ 6. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
3. มีวินยั 7. รักความเปน็ ไทย
4. ใฝเ่ รียนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ
เบญจวถิ กี าญจนา
1. เทิดทนู สถาบัน
2. กตญั ญู
3. บุคลกิ ดี
4. มีวินัย
5. ให้เกียรติ
สมรรถนะที่สำคญั ของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
จดุ เน้นสกู่ ารพัฒนาผเู้ รียน
ความสามารถและทักษะทจ่ี ำเปน็ ในการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อ่านออก)
R2– (W)Riting (เขยี นได)้
R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคดิ อย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา)
C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจต่างวฒั นธรรม
ต่างกระบวนทศั น์)
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ
การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้าน
การส่อื สารสารสนเทศและรู้เทา่ ทนั ส่ือ)
C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่อื สาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนร้)ู
C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วินยั คุณธรรม จริยธรรม)
L1 – Learning (ทกั ษะการเรียนร้)ู
L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน็ ผูน้ ำ)
การวดั และประเมนิ ผล
ดา้ นความรู้
ภาระงาน/ วิธีการวดั เครอ่ื งมอื เกณฑ์ทใี่ ช้
ชน้ิ งาน
สรปุ เกี่ยว ตรวจช้ินงานสรปุ แบบ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
ประเมนิ - เนอ้ื หาสาระของผลงานถกู ต้อง
ความหมาย ความหมายวธิ ีสำรวจความ ชิ้นงาน
ครบถ้วน
วิธสี ำรวจ คดิ เห็น และขอบเขตของ ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
ความ การสำรวจตามตวั ชี้วดั - เนอื้ หาสาระของผลงานถูกตอ้ ง
บางสว่ น
คดิ เห็น ตอ่ ไปนี้ ระดับ 1 ปรับปรุง 1 คะแนน
และ - ความถูกต้องสมบรู ณ์ - เน้อื หาสาระของผลงานไม่เป็นไป
ขอบเขต ของผลงาน ตามเกณฑท์ ี่กำหนด
ของการ
สำรวจ
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วธิ กี ารวัด เครื่องมือ เกณฑ์ทใี่ ช้
ช้นิ งาน
แบบ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
สรุป ตรวจชิ้นงานทสี่ รปุ ประเมนิ - นำเสนอขอ้ มูลได้ถกู ต้อง สมบรู ณ์ มี
ชนิ้ งาน
เก่ยี วกบั ความหมายวิธสี ำรวจความ รายละเอียดและวธิ ีการนำเสนอชัดเจน
ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
ความหมาย คดิ เหน็ และขอบเขตของ
- นำเสนอขอ้ มลู ได้ถกู ต้อง สมบูรณ์
วิธีสำรวจ การสำรวจตามตวั ชีว้ ัด
ระดับ 1 ปรบั ปรุง 1 คะแนน
ความ ต่อไปนี้
- นำเสนอข้อมูลได้แตร่ ายละเอียดยัง
คิดเห็น 1. การนำเสนอ ไม่
และ
ขอบเขต
ของการ
สำรวจ
ภาระงาน/ วิธกี ารวดั เครื่องมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชิน้ งาน
สรุป แบบ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
เกี่ยวกบั 2. ความคดิ ริเรม่ิ ประเมนิ - การออกแบบแสดงใหเ้ หน็ ถึง
ความหมาย สร้างสรรค์ ชิ้นงาน
ความคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ และนำไป
วธิ ีสำรวจ ประยุกต์ได้
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
ความ
- การออกแบบแสดงให้เหน็ ถึง
คิดเหน็ ความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ และนำไป
ประยกุ ต์ไดเ้ ปน็ บางส่วน
และ ระดับ 1 ปรบั ปรงุ 1 คะแนน
ขอบเขต - การออกแบบไม่แสดงใหเ้ ห็นถึง
ความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์
ของการ
สำรวจ
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ภาระงาน/ วิธกี ารวดั เครื่องมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชนิ้ งาน
สรุปเกีย่ ว ตรวจสรุปเกี่ยวความหมายวธิ ี แบบ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
ประเมิน - ผลงานแสดงออกถึงความ
ความหมาย สำรวจความคิดเหน็ และ
ตง้ั ใจ เอาใจใส่ตอ่ งานที่ได้รับ
วธิ ีสำรวจ ขอบเขตของการสำรวจตาม มอบหมาย ทำงานด้วยความเปน็
ระเบียบ สวยงาม สะอาด
ความ ตัวช้ีวัดตอ่ ไปน้ี รอบคอบ และตรงต่อเวลา
ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
คิดเห็น 1. ความตั้งใจและเอาใจใส่
และ ตอ่ การเรียน - ผลงานแสดงออกถึงความ
ขอบเขต ตง้ั ใจ เอาใจใส่ตอ่ งานท่ไี ด้รับ
ของการ 2. การตรงต่อเวลา มอบหมาย ทำงานด้วยความเป็น
3. ความเปน็ ระเบยี บและ ระเบียบ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงต่อเวลาเพียง
สำรวจ รอบคอบในการทำงาน บางสว่ น
ระดบั 1 ปรับปรุง 1 คะแนน
- ผลงานไมแ่ สดงออกถึงความ
ต้ังใจ เอาใจใส่ตอ่ งานทไี่ ด้รับ
มอบหมาย ทำงานด้วยความเปน็
ระเบียบ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงต่อเวลา
กิจกรรมการเรยี นรู้
ใชก้ ระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบศกึ ษาดว้ ยตนเอง (Self Study Method)
ข้ันท่ี 1 ข้ันนำ
1) ครยู กตัวอยา่ งการสำรวจความคิดเหน็ เก่ยี วกบั เรื่องต่าง ๆ ใน Power Point ให้
นักเรยี นดู เช่น
2) ครูใช้คำถามซักถามนักเรยี นเกย่ี วกบั การสำรวจความคดิ เห็นทีค่ รนู ำมาใหน้ กั เรยี นดู
ว่า ทคี่ รนู ำมานำเสนอใหน้ ักเรียนดเู กยี่ วกับใครบ้าง เนือ้ หาบ่งบอกอะไรบ้าง เปน็ ตน้
3) ครยู กตัวอยา่ งการสำรวจความคิดเหน็ เกยี่ วกับเร่ืองตา่ ง ๆ ใน Power Point ให้
นักเรียนดู เช่น
4) ครใู ช้คำถามซักถามนักเรยี นเกย่ี วกับการสำรวจความคดิ เหน็ ทคี่ รนู ำมาใหน้ ักเรยี นดู
วา่ ที่ครูนำมานำเสนอให้นักเรียนดเู กี่ยวกับใครบา้ ง เน้อื หาบง่ บอกอะไรบ้าง เป็นต้น
ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั สอน
1) ครใู ห้นกั เรียนศึกษา และสรุปเกี่ยวกบั ความหมายวิธสี ำรวจความคิดเหน็ และ
ขอบเขตของการสำรวจ
2) นำเสนอความหมาย วิธีสำรวจความคิดเห็นและขอบเขตของการสำรวจ
ลงในกระดาษ A4 ในรูปแบบตา่ ง ๆ ทน่ี ักเรียนต้องการ และชอบ
3) นักเรียนนำเสนอช้นิ งาน เรื่อง ความหมายและวิธีสำรวจความคดิ เหน็ โดยสุ่มหรอื ขอ
เป็นอาสาสมัคร
4) ครยู กตวั อยา่ งการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกบั เรอ่ื งต่าง ๆ ใน Power Point ให้
นกั เรยี นดู ดงั น้ี
แล้วครกู ็ใช้คำถาม ซกั ถามนักเรียนในประเดน็ ต่อไปนี้
- มกี ารกำหนดพนื้ ท่ีไม่ ที่ไหน อย่างไร
- มีการกำหนดลักษณะส่วนตวั ของผตู้ อบ หรือไม่ อย่างไร
- มผี ู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี กบั เรื่องที่จะทำการสำรวจหรอื ไม่ อย่างไร
ขั้นท่ี 3 ขน้ั สรุป
1) ครใู ชก้ ารถามตอบเพ่ือให้นักเรียนรว่ มกนั สรปุ ความหมายการสำรวจความคิดเหน็
วธิ ีสำรวจความคดิ เห็น และขอบเขตของการสำรวจ
2) ครมู อบหมายให้นักเรียนทำโครงงานเกี่ยวกับการสำรวจความคิดเห็นในเร่ืองตา่ งๆ ที่
นกั เรยี นสนใจ โดยแบง่ เป็นกลมุ่ กลุม่ ละ 3-5 คน แลว้ แต่ความเหมาะสมของสมาชกิ ของนักเรยี นใน
แตล่ ะห้องเรยี น โดยใหไ้ ปคดิ เรือ่ งท่ีสนใจจะทำ เชน่ เรอื่ งเกี่ยวกบั ชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ โรงเรยี น เชน่ ความ
พึงพอใจต่อไขเ่ ค็มไชยา สถิติการเขา้ ชนสวนโมกขพลาราม หรอื สถานที่อ่นื ๆ ใน อ.ไชยา พรอ้ มทง้ั
กำหนดขอบเขตของการสำรวจความคดิ เห็น
สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้
สือ่ การเรยี นรู้
1) หนังสอื แบบเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
2) สอ่ื การสอน Power Point
แหล่งเรยี นรู้
1) หอ้ งหมวดคณิตศาสตร์
2) หอ้ งอินเตอร์เน็ต
สรุปผลการจัดการเรียนรู้ ชว่ งคะแนน จำนวน (คน) คิดเปน็ ร้อยละ
ดา้ นความรู้ 3
2
กลุม่ ผเู้ รยี น
ดี 0-1
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
กลมุ่ ผู้เรยี น ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ
ดี 3 จำนวน (คน) คดิ เปน็ ร้อยละ
2
ปานกลาง
ปรับปรุง 0-1
ดา้ นคุณลกั ษะอันพงึ ประสงค์
กลมุ่ ผู้เรยี น ชว่ งระดับคณุ ภาพ
ดี 3
2
ปานกลาง
ปรับปรุง 0-1
บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
ด้านการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………......…………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….....….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………............
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปญั หาทพ่ี บระหวา่ งหรือหลงั จัดกจิ กรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ขอ้ เสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
(นางกจิ ศรา พรหมสวาท)
............/........................../.............
การตรวจสอบและความคดิ เหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสตู รฯ
กิจกรรมการเรียนรู้เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ
มีการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ มีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้เรยี น
ใชส้ ่อื หรอื แหลง่ เรยี นรทู้ ่ีทันสมยั และสง่ เสริมการเรยี นร้ไู ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
สอดคลอ้ งตามจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรียน
สง่ เสรมิ ทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls
ส่งเสริมเบญจวิถกี าญจนา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..............................................................
(…………………….…………………………….)
หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นร.ู้ .............................
การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหวั หน้ากลุม่ บรหิ ารวิชาการ
ถกู ต้องตามรปู แบบของโรงเรียน
ผ่านการนิเทศตรวจสอบจากหัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้/กรรมการนิเทศ
กอ่ นใชส้ อน หลงั ใชส้ อน
มบี ันทกึ หลงั จัดกิจกรรมการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ลงช่ือ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวัสด์ิ)
หวั หน้ากลมุ่ บริหารวชิ าการ
ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ลงช่ือ....................................................................
(นางกญั จนช์ ญาณทั วงศ์จิระศกั ดิ์)
รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2
รายวิชาคณติ ศาสตร์ 6 รหัสวิชา ค 33102 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6
กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง การสำรวจความคิดเหน็ เวลา 20 ช่ัวโมง
เรอ่ื ง วธิ กี ารเลอื กตัวอย่าง เวลา 2 ช่ัวโมง
ผู้สอน นางกจิ ศรา พรหมสวาท โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สรุ าษฎรธ์ านี
แนวคิดสำคญั
วธิ เี ลือกตวั อย่าง
ในการสำรวจความคิดเห็นต้องกำหนดวิธีเลือกตัวอย่างหรือตัวแทนกลุ่มบุคคลที่เกี่ย วข้องซึ่ง
จะนำมาเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวอย่างหรือตัวแทนกลุ่มบุคคลที่จะเลือกมาเก็บรวบรวมข้อมูลควรจะมี
ลกั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี
1. มีตัวอย่างหรอื ตวั แทนครบทุกลักษณะ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ลักษณะที่สำคญั ซ่ึงจะมผี ลทำให้
ความคิดเห็นแตกต่างกัน เช่น พื้นที่ที่อยู่อาศัย ลักษณะส่วนตัวของผูต้ อบ หรือระดับการมีส่วนได้เสีย
เกี่ยวกับเรอ่ื งทส่ี ำรวจความคิดเหน็
2. มีจำนวนตัวอย่างหรือตวั แทนในแตล่ ะลักษณะตามข้อ 1 มากพอและสอดคล้องกับจำนวน
ทงั้ หมดที่มีอยูจ่ ริงในลกั ษณะน้ัน ๆ เช่น การสำรวจความคดิ เหน็ ของประชาชนทว่ั ประเทศเกย่ี วกับการ
บริจาคดวงตาภายหลังการเสียชีวิต จะต้องใช้จำนวนประชาชนที่เป็นเพศชาย และเพศหญิง เป็น
จำนวนเพศละ 3000 คน เท่ากัน เพราะปัจจุบันประชากรชายและหญิงมีจำนวนใกล้เคียงกัน
สำหรับวิธีเลือกตัวอย่างหรือตัวแทนของกลุ่มบุคคลมาใช้ในการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องต่าง ๆ ที่นิยมใช้กันทั่วไปมีหลายวิธี เช่น การสุ่มตัวอย่าง (random sampling) การเลือก
ตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (stratified sampling) การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้น (multi-stage
sampling) และการเลือกตัวอย่างแบบกำหนดโควตา ( quota sampling ) การเลือกตัวอย่างแต่
ละวธิ เี พ่ือนำมาใช้ในการสำรวจความคดิ เห็นตา่ งข้อดขี อ้ เสียแตกตา่ งกันไป ดงั นี้
การสุ่มตัวอย่าง เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มที่มีกรอบ ตัวอย่าง
(sampling frame) ครบถ้วนสมบูรณ์ และมีขอบเขตของกลุ่มที่ไม่กว้างขวางมากนัก เช่นการสำรวจ
ความคิดเห็นของพนักงานบริษัทซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดหนึ่งและไม่มีสาขาอื่น ๆ นอกจังหวัดหรือนอก
ประเทศ เก่ียวกับสวัสดิการด้านรถรับส่งมาทำงานในบริษัทนั้น หรือการสำรวจความคิดเห็นของ
พนักงานการประปานครหลวงเกี่ยวกับการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีกรอบตัวอย่างเป็นรายชื่อของ
พนักงานการประปานคาหลวงทุกคน วิธีสุ่มตัวอย่างซ่ึงหน่วยตัวอยา่ งทุก ๆ หน่วยมีโอกาสถูกเลือกมา
เป็นตวั อยา่ งเทา่ ๆ กนั สามารถทำไดห้ ลายวิธี เชน่
- การสมุ่ โดยวิธีจับสลาก นิยมใช้กบั กลมุ่ ทีม่ จี ำนวนหน่วยตวั อยา่ งนอ้ ย
- การสุ่มโดยใช้ตารางเลขสุ่ม (table of random numbers) นิยมใช้กับกลุ่มที่มีจำนวน
หนว่ ยตวั อย่างมาก
- การสมุ่ อย่างเป็นระบบ (systematic sampling) นยิ มใช้กับกรอบตวั อยา่ งท่ีมหี นว่ ยตัวอย่าง
เรียงกันหรือจัดให้เรียงกันได้ เช่น รายชื่อพนักงานบริษัทที่เรียงตามลำดับการเข้าทำงานก่อนหลัง ใน
การสุม่ ตัวอย่างอาจใช้การสุ่มจากผู้ท่อี ยใู่ นอนั ดบั ท่หี ารดว้ ย 5 ลงตัวทุกคน
การเลือกตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มที่มีกรอบ
ตัวอย่างครบถ้วนสมบูรณแ์ ละสามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ ได้ตามเขตที่อยู่อาศัยของผู้ตอบ (ประเทศ
แบ่งเป็นภาค จังหวัด อำเภอ เขต ตำบล แขวง ในเขตเทศบาลนอกเขตเทศบาล กระทรวงแบ่งเป็น
กรม กอง แผนก บริษัทแบ่งเป็นฝ่าย ส่วน แผนก หรือแบ่งตามลักษณะของผู้ตอบ ( เพศ อายุระดับ
การศึกษา รายได้ อาชีพ สถานภาพสมรส) โดยกำหนดให้แต่ละชั้นภูมิเป็นภาคต่าง ๆ ของประเทศ
กรมต่าง ๆ ของกระทรวง วยั ต่าง ๆ ของอายุ ระดบั ตา่ ง ๆ ของการศึกษา ฯลฯ และเลือกตัวอย่างจาก
แต่ละชั้นภูมิซึ่งอาจใช้สุ่มหรือวิธีอื่น ๆ ก็ได้สำเร็จ ความคิดเห็นโดยใช้วิธีเลือกตัวอย่างแบบมีข้อดีคือ
สามารถสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการจำแนกตามกลุ่มต่าง ๆ ที่แบ่งได้ เช่น จำแนกตาม
ภาค จำแนกตามเขต จำแนกตามเพศ จำแนกตามอาชีพ
การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้น เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็น จากกลุ่มท่ี
สามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ ได้หลายช้ัน (ประเทศแบ่งขน้ั ที่ 1 เปน็ ภาค ภาคแบ่งขน้ั ที่ 2 เป็นจังหวัด
จังหวัดแบ่งขั้นที่ 3 เป็นอำเภอ อำเภอบ่งขั้นที่ 4 เป็นตำบล ตำบลแบ่งข้ันที่ 5 เป็นหมู่บ้าน
กระทรวง เบ่งขั้นที่ 1 เป็นกรม กรมแบ่งขั้นที่ 2 เป็นกอง กองแบ่งขั้นที่ 3 เป็นแผนก มหาวิทยาลัย
แบ่งขั้นที่ 1 เป็นคณะ คณะ คณะแบ่งขั้นที่ 2 เป็นภาควิชา) โดยกำหนดให้เลือกตัวอย่างมาจากแต่ละ
ขัน้ เชน่ ขั้นที่ 1 เลือกกรมตวั อย่างจากกระทรวง ขั้นที่ 2 เลอื กกองตวั อย่าง จากกรมตวั อย่าง และ ขน้ั
ที่ 3 เลือกแผนกตัวอยา่ งจากกองตัวอย่างของกรมตัวอยา่ ง ข้อดีของการเลือกตัวอย่างแบบหลายขัน้ ก็
คอื ไม่จำเป็นต้องมีกรอบตัวอย่างที่สมบูรณใ์ นทุก ๆ ข้นั ให้มกี รอบตวั อยา่ งทสี่ มบูรณ์ในตัวอย่างของแต่
ละขั้นก็เป็นการเพียงพอ นอกจากนี้การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นยังสามารถประหยัดเวลาและ
ค่าใชจ้ ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูลเม่อื เทียบกบั การเลือกตัวอย่างวิธีอืน่ ๆ ที่นยิ มใช้กันทั่วไปอีกด้วย
การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดโควตา เหมาะที่จะใช้กับการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มท่ี
ไม่มีกรอบตัวอย่าง หรือมีกรอบตัวอย่างที่ไม่สมบูรณ์ โดยการกำหนดคุณสมบัติของตัวอย่างตาม
ลักษณะของตัวอย่างที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ทำการสำรวจ เช่น การ
สำรวจความคิดเห็นของประชาชน เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ลักษณะของ
ประชาชนซงึ่ นา่ จะมีผลกระทบต่อความคิดเหน็ เกี่ยวกับการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด คอ เพศ
อายุ และรายได้ ดังนั้น คุณสมบัติของตวั อย่างที่ควรจะนำมากำหนดสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลดัง
กล่าวคือ เพศ อายุ และรายได้ กล่าวคือ จะต้องมีตัวอย่างหรือตัวแทนของประชาชนทุกเพศ ทุกช่วง
อายุ และทกุ ระดับรายได้ หรือการสำรวจความคดิ เห็นของประชาชนเกีย่ วกบั เขื่อนปากมลู คุณสมบัติ
ของตัวอย่างที่สำคัญซึ่งคาดว่าจะมีผลกระทบต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล คือ บริเวณที่อยู่
อาศัย ( อยู่เหนือเขื่อนหรืออยู่ใต้เขื่อน) ซึ่งมีผลกระทบต่อประโยชน์ได้เสียในการเปิด ปิด เขื่อนที่
แตกต่างกันดังนั้นคุณสมบัติของตัวอย่างที่จะควรนำมากำหนดสำหรับการรวบรวมข้อมูลดังกล่าว คือ
บรเิ วณทีอ่ ยู่อาศัยซ่ึงเกี่ยวข้อง 3 อำเภอ คือ อำเภอพบิ ูลมงั สาหาร อำเภอโขงเจียม และอำเภอสิรินธร
กล่าวคือจะต้องเลือกตัวอย่างเหนือประชาชนในแต่ละอำเภอของ 3 อำเภอ ข้างต้นมาสอบถามความ
คิดเห็น โดยที่ตัวอย่างประชาชน ในแต่ละอำเภอควรจะต้องมีทั้งประชาชนที่ได้รับผลกระทบมาก
ได้รับผลกระทบปานกลาง และได้รับผลกระทบน้อย ส่วนจำนวนตัวอย่างที่จะนำมาใช้ในการสำรวจ
ความคิดเห็นเกย่ี วกับเรื่องตา่ ง ๆ ควรเป็นเรอ่ื งเท่าไหร่น้นั ขน้ึ อยู่กบั ปจั จยั ทสี่ ำคญั ต่อไปน้ี
- จำนวนของกลมุ่ บุคคลท้งั หมดท่จี ะสำรวจความคิดเหน็
- การจำแนกกล่มุ ยอ่ ยของผลการสำรวจความคดิ เหน็
- ความแตกต่างระดบั การศึกษาของกลุม่ บุคคลที่ทำการสำรวจ
- ความแตกต่างระหวา่ งการได้เสียประโยชนข์ องกลมุ่ บุคคลที่ทำการสำรวจ
- ความถกู ต้องเช่ือถือไดข้ องผลการสำรวจที่ตอ้ งการ
กล่าวคือ จำนวนตัวอย่างหรือตัวแทนในการสำรวจความคิดเห็นจะต้องมากขึ้นตามจำนวน
กลุ่มบุคคลทั้งหมดที่มากข้ึนตามจำนวนกลุ่มที่ต้องการจำแนกผลการสำเรจ็ ตามขนาดความแตกต่างระ
หว่าระดับการศึกษา และการได้เสียประโยชน์ของกลุ่มบุคคลที่สำรวจ และตามขนาดของความ
น่าเชือ่ ถอื ได้ของผลการสำเรจ็ ท่ีมากขน้ึ
สำหรับขนาดตัวอย่างกลุ่มบุคคลที่สำนักงานสถิติแห่งชาติใช้ในการสำรวจ ความคิดเห็นเพ่ือ
เสนอผลในระดับต่าง ๆ ( ประเทศ ภาค จงั หวัด ) เปน็ ดงั น้ี
ระดับเสนอผล จำนวนตัวอยา่ ง
ระดบั จังหวัดอย่างเดยี ว 1,100 ถึง 4,800
ระดบั ประเทศอย่างเดยี ว
ท้ังระดับประเทศและภาค 2,000
ทงั้ ระดับจังหวัด ภาค และประเทศ 5,600 ถึง 10,000
31,000 ถึง 62,000
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถติ ิในการแกป้ ัญหา
ตัวชีว้ ดั
ม.6/1 เขา้ ใจและใชค้ วามรูท้ างสถติ ิในการนำเสนอข้อมลู และแปลวามหมายของ
คา่ สถติ ิเพื่อประกอบการตัดสนิ ใจ
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1) สามารถเลือกตวั อย่างของการสำรวจความคดิ เห็นได้
สาระการเรยี นรู้
ด้านความรู้
1) วธิ ีการเลอื กตัวอย่าง
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
ใช้ภาษาและสญั ลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์ในการส่ือสาร การสือ่ ความหมาย และการ
นำเสนอได้อยา่ งถูกต้องชดั เจน
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
2. ซือ่ สตั ย์สจุ รติ 6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
3. มวี นิ ัย 7. รกั ความเปน็ ไทย
4. ใฝ่เรยี นรู้ 8. มจี ิตสาธารณะ
เบญจวิถีกาญจนา
1. เทิดทนู สถาบัน
2. กตญั ญู
3. บุคลกิ ดี
4. มวี ินยั
5. ให้เกียรติ
สมรรถนะทสี่ ำคญั ของผ้เู รียน
1. ความสามารถในการส่อื สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
จุดเนน้ ส่กู ารพฒั นาผเู้ รียน
ความสามารถและทักษะที่จำเป็นในการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อ่านออก)
R2– (W)Riting (เขยี นได)้
R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมี
วิจารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา)
C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวฒั นธรรม
ตา่ งกระบวนทศั น์)
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความรว่ มมือ
การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้าน
การสอื่ สารสารสนเทศและรเู้ ท่าทันส่ือ)
C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นร)ู้
C8 – Compassion (ความมเี มตตากรุณา วินยั คุณธรรม จริยธรรม)
L1 – Learning (ทกั ษะการเรยี นรู้)
L2 – Leadership (ทักษะความเป็นผ้นู ำ)
การวัดและประเมินผล
ดา้ นความรู้
ภาระงาน/ วธิ ีการวดั เครื่องมือ เกณฑ์ทีใ่ ช้
ชิน้ งาน
แบบ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
สรุปเกี่ยว ตรวจชิ้นงานสรปุ เกี่ยวกับ ประเมนิ - เน้อื หาสาระของผลงานถกู ต้อง
ชิ้นงาน
วิธีเลือก วธิ ีเลือกตวั อย่างตามตวั ชี้วัด ครบถ้วน
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
ตวั อย่าง ต่อไปนี้
- เนอ้ื หาสาระของผลงานถูกตอ้ ง
- ความถูกตอ้ งสมบูรณ์ บางส่วน
ของผลงาน ระดับ 1 ปรบั ปรุง 1 คะแนน
- เนื้อหาสาระของผลงานไม่เป็นไป
ตามเกณฑ์ที่กำหนด
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครอ่ื งมือ เกณฑ์ทใ่ี ช้
ชิ้นงาน
ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
สรปุ เกย่ี ว ตรวจช้นิ งานสรุปเกย่ี วกับ แบบ - นำเสนอขอ้ มลู ได้ถูกต้อง สมบรู ณ์ มี
วธิ เี ลือก วธิ เี ลอื กตัวอย่างตามตัวชี้วดั ประเมนิ รายละเอยี ดและวธิ กี ารนำเสนอชัดเจน
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
ตัวอย่าง ต่อไปน้ี ชน้ิ งาน
- นำเสนอขอ้ มลู ได้ถูกต้อง สมบูรณ์
- ความถกู ตอ้ งสมบรู ณ์
ของผลงาน
ระดับ 1 ปรับปรงุ 1 คะแนน
- นำเสนอขอ้ มูลได้แตร่ ายละเอียดยัง
ไม่
ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ภาระงาน/ วิธกี ารวดั เครอื่ งมือ เกณฑ์ทใ่ี ช้
ชิ้นงาน
สรปุ เก่ยี ว ตรวจชิน้ งานสรปุ เกีย่ วกับวธิ ี แบบ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
วิธีเลือก เลอื กตวั อยา่ งตามตัวชี้วดั ประเมนิ - ผลงานแสดงออกถึงความ
ตวั อย่าง ตอ่ ไปนี้
ต้ังใจ เอาใจใสต่ อ่ งานทีไ่ ดร้ ับ
- ความถูกต้องสมบรู ณข์ อง มอบหมาย ทำงานดว้ ยความเปน็
ผลงาน ระเบยี บ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงต่อเวลา
ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
- ผลงานแสดงออกถึงความ
ต้ังใจ เอาใจใสต่ ่องานท่ีได้รบั
มอบหมาย ทำงานด้วยความเปน็
ระเบยี บ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงตอ่ เวลาเพียง
บางส่วน
ระดับ 1 ปรับปรงุ 1 คะแนน
- ผลงานไม่แสดงออกถึงความ
ตั้งใจ เอาใจใส่ตอ่ งานทีไ่ ดร้ บั
มอบหมาย ทำงานด้วยความเป็น
ระเบยี บ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงต่อเวลา
กจิ กรรมการเรียนรู้
ใชก้ ระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
- แบบศึกษาดว้ ยตนเอง (Self Study Method)
- แบบใช้คำถาม (Questioning Method)
ขั้นท่ี 1 ขนั้ นำ
1) ครทู บทวนเก่ยี วกบั “ขอบเขตการสำรวจ” มีการกำหนดได้หลายแบบ เช่นอะไรบา้ ง
นกั เรียนลองยกตัวอย่าง
2) ยกตวั อย่างการสำรวจความคดิ เหน็ เก่ยี วกับเรื่องตา่ ง ๆ ใน Power Point ให้นกั เรียนดู
เชน่
3) ครใู ชค้ ำถามซักถามนักเรยี นเกี่ยวกบั การสำรวจความคดิ เหน็ ที่ครูนำมาใหน้ กั เรียนดูวา่ ที่
ครูนำมานำเสนอให้นักเรยี นดูเก่ียวกบั ใครบ้าง เนือ้ หาบ่งบอกอะไรบา้ ง เช่น พน้ื ที่ ลกั ษณะสว่ นตวั ของ
ผู้ตอบ และการมีสว่ นไดส้ ว่ นเสียกบั เรือ่ งทจ่ี ะทำการสำรวจ
ขั้นท่ี 2 ข้นั สอน
1) ครใู หน้ กั เรียนศึกษา และสรปุ เกย่ี วกบั วธิ เี ลอื กตัวอย่าง และนำเสนอขอบเขตของ
สำรวจลงในกระดาษ A4 ในรูปแบบตา่ ง ๆ ทีน่ ักเรียนตอ้ งการ
2) นักเรยี นนำเสนอชิน้ งาน เรื่อง วิธเี ลอื กตัวอย่าง โดยสุ่มหรือขอเป็นอาสาสมัคร
3) ครยู กตัวอยา่ งการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกบั เรอื่ งต่าง ๆ ใน Power Point ให้
นักเรยี นดู ดงั นี้
แล้วครูก็ใชค้ ำถาม ซักถามนักเรยี นในประเด็นต่อไปนี้
- มวี ิธกี ารเลือกตวั อย่าง คอื อะไร
- มขี นั้ ตอนวิธีการเลอื กตัวอย่าง อย่างไร
ข้นั ที่ 3 ขนั้ สรุป
1) ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ วธิ ีเลอื กตัวอยา่ ง
2) ครูซักถามนกั เรยี นเกี่ยวกบั โครงงานเกยี่ วกับการสำรวจความคดิ เหน็ ท่ีใหน้ ักเรียน
ไปทำ วา่ ตอนน้ี เร่ืองอะไร กำหนดขอบเขตอย่างไรบ้าง และใหน้ ักเรียนดำเนินการเลือกวิธีเลือก
ตวั อย่างวา่ ขณะนง้ี านท่ไี ดร้ ับมอบหมายตอ้ งมีการเตรยี มการ และวางแผนในการดำเนินการได้แลว้
สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
2) สื่อการสอน Power Point
แหลง่ เรียนรู้
1) หอ้ งหมวดคณิตศาสตร์
2) หอ้ งอินเตอร์เน็ต
สรุปผลการจดั การเรยี นรู้ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ
ด้านความรู้ 3
2
กลมุ่ ผู้เรยี น
ดี 0-1
ปานกลาง
ปรับปรงุ
ด้านทักษะ/กระบวนการ
กลุ่มผเู้ รยี น ชว่ งคะแนน จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ
ดี 3
2
ปานกลาง
ปรบั ปรุง 0-1
ดา้ นคณุ ลกั ษะอันพึงประสงค์
กลุ่มผเู้ รียน ชว่ งระดบั คุณภาพ จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ
ดี 3
2
ปานกลาง
ปรับปรงุ 0-1
บันทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
ด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………......…………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….....….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาทพี่ บระหว่างหรอื หลงั จดั กิจกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………….........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..........................................................ผ้สู อน
(นางกิจศรา พรหมสวาท)
............/........................../.............
การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
สอดคล้องกบั มาตรฐานและตัวชีว้ ดั ของหลักสตู รฯ
กจิ กรรมการเรยี นร้เู น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ
มกี ารวดั และประเมินผลตามสภาพจริง มีความหลากหลายเหมาะสมกบั ผเู้ รียน
ใช้สือ่ หรือแหลง่ เรียนร้ทู ี่ทันสมัยและส่งเสริมการเรยี นรูไ้ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
สอดคลอ้ งตามจุดเนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สพฐ. และจุดเน้นของโรงเรยี น
สง่ เสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls
ส่งเสริมเบญจวิถกี าญจนา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ..............................................................
(…………………….…………………………….)
หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนร.ู้ .............................
การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหัวหนา้ กลมุ่ บริหารวิชาการ
ถูกต้องตามรูปแบบของโรงเรียน
ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้/กรรมการนิเทศ
ก่อนใช้สอน หลังใช้สอน
มีบนั ทึกหลงั จดั กิจกรรมการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ลงช่ือ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวัสด์ิ)
หวั หน้ากลมุ่ บริหารวิชาการ
ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ลงช่ือ....................................................................
(นางกญั จน์ชญาณัท วงศจ์ ิระศักด์ิ)
รองผู้อำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบริหารงานวชิ าการ
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3
รายวิชาคณิตศาสตร์ 6 รหัสวชิ า ค 33102 ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง การสำรวจความคดิ เห็น เวลา 20 ช่วั โมง
เรือ่ ง การสรา้ งแบบสำรวจความคดิ เห็น เวลา 2 ชัว่ โมง
ผู้สอน นางกจิ ศรา พรหมสวาท โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สรุ าษฎรธ์ านี
แนวคิดสำคญั
การสรา้ งแบบสำรวจความคิดเห็น
แบบสำรวจความคิดเห็นทด่ี ีควรจะมลี กั ษณะตา่ ง ๆ ทสี่ ำคัญดงั ต่อไปน้ี
1. แบบสำรวจควรประกอบด้วย 3 ส่วนเป็นอยา่ งน้อย ดังน้ี
สว่ นแรก คอื ลกั ษณะของผู้ตอบท่คี าดว่าจะมีผลทำให้คำตอบทแ่ี สดงความคิดเห็น แตกต่าง
กนั จากผทู้ มี่ ลี ักษณะอนื่ เช่น พืน้ ท่ีอยู่อาศัย เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายไดอ้ าชีพฯ
สว่ นท่ีสอง คือความคิดเหน็ ของผตู้ อบในด้านตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วกับเร่ืองน้นั
สว่ นทส่ี าม คือ ข้อเสนอแนะตา่ ง ๆ ของผูต้ อบเกยี่ วกับเรอื่ งท่สี ำรวจความคิดเห็นนนั้ ๆ
2. คำถามเกีย่ วกบั ความคดิ เหน็ ในเรื่องทีส่ ำรวจต้องไม่เป็นคำถามนำหรือคำถามท่ีพยายามชัก
นำให้ผู้ตอบตามที่ผู้สำรวจตอ้ งการ เช่น ท่านไม่พึงพอใจในการบริการการประกันสุขภาพถ้วนหน้าใช่
ไหม หรือท่านเห็นด้วยกับบริการการประกันสุขภาพถ้วนหน้าของรัฐบาลใช่หรือไม่
3. จำนวนคำถามไม่ควรมีมากเกินไป เพราะจะทำให้ผู้ตอบร่วมมือในการตอบคำถามน้อยลง
และคำตอบมีจำนวนเกินความจำเป็นในการนำไปใช้ประโยชน์ทำให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายโดยไม่
จำเป็น
4. ผู้ตอบแบบสำรวจความคิดเห็นควรจะมีความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องที่ทำการ
สำรวจเป็นอย่างดี มิฉะนั้นความคิดเห็นที่สำรวจได้จากผู้ตอบดังกล่าวจะไม่สามารถนำไปใช้ในการ
สรุปผลรว่ มกบั คำตอบของผู้ตอบรายอ่นื ๆ ได้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู้
ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
ตวั ชวี้ ดั
ม.6/1 เข้าใจและใชค้ วามรู้ทางสถติ ิในการนำเสนอข้อมูล และแปลวามหมายของ
คา่ สถิติเพื่อประกอบการตัดสนิ ใจ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1) สามารถสรา้ งแบบสำรวจความคดิ เห็นได้
สาระการเรยี นรู้
ด้านความรู้
1) การสรา้ งแบบสำรวจความคดิ เหน็
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ
ใชภ้ าษาและสัญลักษณท์ างคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสือ่ ความหมาย และการ
นำเสนอได้อยา่ งถูกต้องชดั เจน
ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อย่อู ย่างพอเพยี ง
2. ซือ่ สัตย์สุจรติ 6. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
3. มวี ินัย 7. รกั ความเปน็ ไทย
4. ใฝ่เรยี นรู้ 8. มจี ิตสาธารณะ
เบญจวถิ ีกาญจนา
1. เทิดทนู สถาบัน
2. กตัญญู
3. บคุ ลิกดี
4. มีวินยั
5. ให้เกียรติ
สมรรถนะที่สำคญั ของผูเ้ รียน
1. ความสามารถในการส่อื สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
จดุ เน้นสกู่ ารพัฒนาผเู้ รียน
ความสามารถและทกั ษะทจ่ี ำเปน็ ในการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อ่านออก)
R2– (W)Riting (เขยี นได)้
R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคดิ อย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา)
C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจต่างวฒั นธรรม
ต่างกระบวนทศั น์)
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ
การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้าน
การส่อื สารสารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื )
C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่อื สาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนร้)ู
C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วินยั คุณธรรม จริยธรรม)
L1 – Learning (ทกั ษะการเรียนร้)ู
L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน็ ผูน้ ำ)
การวดั และประเมินผล
ดา้ นความรู้
ภาระงาน/ วิธีการวดั เครือ่ งมอื เกณฑ์ท่ใี ช้
ชนิ้ งาน
แบบ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
สรุปเก่ยี ว ตรวจชน้ิ งานสรุปเกีย่ วกบั ประเมิน - เน้อื หาสาระของผลงานถูกต้อง
ชิ้นงาน
การสรา้ ง การสรา้ งแบบสำรวจ ครบถว้ น
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
แบบสำรวจ ความคดิ เห็นตามตัวช้ีวัด
- เนอ้ื หาสาระของผลงานถูกตอ้ ง
ความคดิ ตอ่ ไปน้ี บางส่วน
ระดับ 1 ปรับปรงุ 1 คะแนน
เห็น - ความถกู ต้องสมบูรณ์
- เนื้อหาสาระของผลงานไม่เป็นไป
ของผลงาน ตามเกณฑท์ ่ีกำหนด
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เคร่ืองมือ เกณฑ์ทใ่ี ช้
ชนิ้ งาน
ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
สรปุ เก่ียว ตรวจชิ้นงานท่สี รุปการสรา้ ง แบบ - นำเสนอขอ้ มลู ได้ถูกต้อง สมบรู ณ์ มี
การสรา้ ง แบบสำรวจความคิดเห็น ประเมิน รายละเอียดและวธิ กี ารนำเสนอชัดเจน
ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
แบบสำรวจ ตามตัวชี้วัดตอ่ ไปนี้ ช้ินงาน
- นำเสนอข้อมูลได้ถูกต้อง สมบูรณ์
ความคิด 1. รปู แบบการนำเสนอ
เหน็
ระดับ 1 ปรับปรุง 1 คะแนน
- นำเสนอข้อมูลได้แต่รายละเอียดยัง
ไม่
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ภาระงาน/ วิธีการวดั เครื่องมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชิ้นงาน
สรุปเกยี่ ว ตรวจชิน้ งานทส่ี รุปการสรา้ ง แบบ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
การสรา้ ง แบบสำรวจความคดิ เห็นตาม ประเมนิ - ผลงานแสดงออกถึงความ
แบบสำรวจ ตวั ชีว้ ัดตอ่ ไปน้ี
ความคิด 1. รูปแบบการนำเสนอ ตั้งใจ เอาใจใส่ตอ่ งานท่ไี ดร้ ับ
มอบหมาย ทำงานดว้ ยความเป็น
เห็น ระเบยี บ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงต่อเวลา
ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
- ผลงานแสดงออกถึงความ
ตง้ั ใจ เอาใจใส่ต่องานที่ได้รบั
มอบหมาย ทำงานด้วยความเป็น
ระเบยี บ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงต่อเวลาเพียง
บางส่วน
ระดับ 1 ปรับปรงุ 1 คะแนน
- ผลงานไม่แสดงออกถึงความ
ต้งั ใจ เอาใจใส่ต่องานที่ไดร้ ับ
มอบหมาย ทำงานด้วยความเปน็
ระเบยี บ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงตอ่ เวลา
กิจกรรมการเรยี นรู้
ใช้กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
- แบบศกึ ษาด้วยตนเอง (Self Study Method)
- แบบใชค้ ำถาม (Questioning Method)
ขนั้ ท่ี 1 ขัน้ นำ
1) ครทู บทวนเกย่ี วกบั “วิธเี ลอื กตวั อย่าง” มีอะไรบา้ ง แตล่ ะแบบเหมาะกับการ
สำรวจความคิดเหน็ แบบใด
2) ครูซักถามนักเรียนเกย่ี วกับโครงงานที่ให้ทำ วา่ ตอนนี้ดำเนนิ การไปถึงไหนแล้ว
และใหน้ กั เรยี นซกั ถามในประเดน็ ท่ีสงสัย
ข้นั ที่ 2 ขน้ั สอน
1) ครูใหน้ ักเรียนศึกษา และสรปุ เก่ียวกับการสรา้ งแบบสำรวจความคดิ เห็น และนำเสนอ
ขอบเขตของการสำรวจลงในกระดาษ A4 ในรูปแบบตา่ ง ๆ ที่นกั เรียนต้องการ
2) นักเรียนนำเสนอช้ินงาน เรื่อง การสร้างแบบสำรวจความคิดเหน็ โดยสุ่มหรือขอเป็น
อาสาสมัคร
3) ครูยกตวั อยา่ งแบบสำรวจความคิดเหน็ เรื่องตา่ ง ๆ ใน Power Point ใหน้ กั เรยี นดู
ดังนี้
แลว้ ครูกใ็ ช้คำถาม ซักถามนักเรียนในประเด็นต่อไปนี้
- แบบสอบถามมกี ตี่ อน
- ครบถามที่นักเรยี นศึกษามารไึ ม่ อยา่ งไร จงอธบิ าย
ขัน้ ท่ี 3 ข้นั สรุป
1) ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปการสรา้ งแบบสำรวจความคิดเห็น
2) ครูซักถามนักเรยี นเกี่ยวกับโครงงานเก่ยี วกบั การสำรวจความคิดเหน็ ท่ใี ห้นักเรยี น
ไปทำ และสงั่ งานเพ่มิ ในส่วนของการใหน้ กั เรยี นไปสร้างแบบสำรวจความคดิ เหน็ ในเรื่องท่ีนกั เรยี นใน
กลุ่มสนใจ และสง่ ครใู หด้ กู ่อนล่วงหน้ากอ่ นท่นี ักเรียนจะลงมือสำรวจความคิดเหน็
3) ครูสอดแทรกให้นักเรยี นเก่ียวกบั การนำโปรแกรม Excel มาใชก้ ารคำนวณเพื่อใช้
การวเิ คราะห์มลู และการนำเสนอข้อมลู ในรปู แผนภูมิตา่ ง ๆ
สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้
สอ่ื การเรียนรู้
1) หนังสือแบบเรยี นคณิตศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
2) ส่อื การสอน Power Point แบบสำรวจความคดิ เห็น
แหลง่ เรียนรู้
1) ห้องหมวดคณติ ศาสตร์
2) หอ้ งอนิ เตอร์เน็ต
สรปุ ผลการจัดการเรียนรู้
ด้านความรู้
กล่มุ ผูเ้ รยี น ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเปน็ ร้อยละ
ดี 3
2
ปานกลาง
ปรบั ปรุง 0-1
ด้านทักษะ/กระบวนการ
กลุ่มผเู้ รยี น ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ
ดี 3
2
ปานกลาง
ปรบั ปรุง 0-1
ดา้ นคณุ ลกั ษะอันพงึ ประสงค์
กล่มุ ผู้เรียน ชว่ งระดับคุณภาพ จำนวน (คน) คดิ เปน็ ร้อยละ
ดี 3
2
ปานกลาง
ปรบั ปรุง 0-1
บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………......…………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….....….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาทพี่ บระหว่างหรอื หลงั จดั กจิ กรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………….........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ขอ้ เสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
(นางกิจศรา พรหมสวาท)
............/........................../.............
การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวช้ีวดั ของหลักสูตรฯ
กจิ กรรมการเรยี นรู้เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั
มกี ารวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง มีความหลากหลายเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น
ใช้สอื่ หรือแหล่งเรยี นรู้ท่ีทันสมยั และสง่ เสริมการเรียนรู้ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
สอดคล้องตามจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรยี น
ส่งเสรมิ ทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls
สง่ เสรมิ เบญจวถิ ีกาญจนา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ..............................................................
(…………………….…………………………….)
หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นร้.ู .............................
การตรวจสอบและความคิดเห็นของหัวหนา้ กลุ่มบรหิ ารวิชาการ
ถกู ต้องตามรูปแบบของโรงเรียน
ผ่านการนิเทศตรวจสอบจากหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้/กรรมการนิเทศ
ก่อนใช้สอน หลงั ใช้สอน
มีบนั ทกึ หลงั จดั กิจกรรมการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ลงช่ือ..............................................................
(นายธนพนั ธ์ เพ็งสวัสด์ิ)
หวั หนา้ กลุ่มบริหารวชิ าการ
ความคดิ เหน็ ของรองผูอ้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ลงช่ือ....................................................................
(นางกัญจนช์ ญาณัท วงศ์จิระศกั ดิ์)
รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น กลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4
รายวชิ าคณิตศาสตร์ 6 รหัสวิชา ค 33102 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรือ่ ง การสำรวจความคิดเหน็ เวลา 20 ชวั่ โมง
เรอ่ื ง การประมวลผลและวเิ คราะห์ความคิดเห็น เวลา 2 ชว่ั โมง
ผสู้ อน นางกิจศรา พรหมสวาท โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย สรุ าษฎร์ธานี
แนวคดิ สำคญั
การประมวลผลและวิเคราะห์ความคดิ เห็น โดยทวั่ ๆ ไปจะประกอบดว้ ย
1. รอ้ ยละของผูต้ อบแบบสำรวจความคดิ เห็นในแต่ละดา้ น
2. ระดับความคดิ เหน็ เฉลยี่
มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั
มาตรฐานการเรียนรู้
ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรู้ทางสถติ ิในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วดั
ม.6/1 เขา้ ใจและใช้ความร้ทู างสถติ ิในการนำเสนอข้อมลู และแปลวามหมายของ
คา่ สถิตเิ พื่อประกอบการตัดสนิ ใจ
จุดประสงค์การเรยี นรู้
1) สามารถประมวลผลจากการวเิ คราะหค์ วามคดิ เห็นได้
สาระการเรยี นรู้
ดา้ นความรู้
1) การประมวลผลและวิเคราะหค์ วามคิดเห็น
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
ใชภ้ าษาและสญั ลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสอ่ื สาร การสื่อความหมาย และการ
นำเสนอได้อย่างถกู ต้องชดั เจน
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง
2. ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ 6. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
3. มีวนิ ยั 7. รกั ความเป็นไทย
4. ใฝเ่ รียนรู้ 8. มีจติ สาธารณะ
เบญจวิถีกาญจนา
1. เทดิ ทูนสถาบนั
2. กตญั ญู
3. บุคลกิ ดี
4. มีวนิ ัย
5. ใหเ้ กยี รติ
สมรรถนะทีส่ ำคัญของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
จุดเน้นสู่การพฒั นาผู้เรยี น
ความสามารถและทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ในการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อ่านออก)
R2– (W)Riting (เขยี นได้)
R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมี
วิจารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ญั หา)
C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวตั กรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะดา้ นความเข้าใจต่างวฒั นธรรม
ตา่ งกระบวนทศั น์)
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความรว่ มมือ
การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้าน
การสือ่ สารสารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันส่ือ)
C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนรู)้
C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
L1 – Learning (ทกั ษะการเรยี นร)ู้
L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน็ ผู้นำ)
การวดั และประเมินผล
ดา้ นความรู้
ภาระงาน/ วิธีการวดั เคร่ืองมือ เกณฑ์ที่ใช้
ชน้ิ งาน
แบบ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
สรปุ เก่ียว ตรวจช้ินงานสรุปเกยี่ วกบั ประเมนิ - เนอ้ื หาสาระของผลงานถกู ต้อง
ช้นิ งาน
การ การประมวลผลและ ครบถว้ น
ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
ประมวลผล วิเคราะหค์ วามคิดเหน็ ตาม
- เนอ้ื หาสาระของผลงานถูกต้อง
และ ตวั ชวี้ ัดต่อไปนี้ บางสว่ น
ระดบั 1 ปรบั ปรงุ 1 คะแนน
วิเคราะห์ - ความถูกต้องสมบรู ณ์
- เนื้อหาสาระของผลงานไม่เปน็ ไป
ความ ของผลงาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด
คดิ เหน็
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วิธีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑ์ทใี่ ช้
ชิ้นงาน
สรปุ เก่ยี ว ตรวจช้ินงานทส่ี รุปเกย่ี วกับ แบบ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
การ การประมวลผลและ ประเมิน - นำเสนอขอ้ มูลได้ถูกต้อง สมบูรณ์ มี
ชนิ้ งาน
ประมวลผล วเิ คราะหค์ วามคิดเหน็ ตาม รายละเอียดและวิธีการนำเสนอชัดเจน
และ ตัวชี้วดั ต่อไปนี้ ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
วิเคราะห์ 1. รูปแบบการนำเสนอ - นำเสนอขอ้ มูลได้ถูกต้อง สมบูรณ์
ความ
คดิ เห็น ระดับ 1 ปรับปรุง 1 คะแนน
2. ความคดิ ริเริม่ - นำเสนอขอ้ มูลได้แต่รายละเอยี ดยัง
สร้างสรรค์ ไมส่ มบูรณ์
ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
- การออกแบบแสดงใหเ้ ห็นถึงความคิด
ริเริ่มสรา้ งสรรค์ และนำไปประยุกตไ์ ด้
ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
- การออกแบบแสดงใหเ้ ห็นถึงความคดิ
ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ และนำไปประยุกตไ์ ดเ้ ปน็
บางส่วน
ระดบั 1 ปรับปรุง 1 คะแนน
- การออกแบบไม่แสดงให้เหน็ ถงึ
ความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ภาระงาน/ วิธีการวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์ทีใ่ ช้
ชิน้ งาน
สรปุ ตรวจสรปุ เก่ยี วสรุปเกี่ยวกาการ แบบ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
ประเมนิ - ผลงานแสดงออกถึงความ
เกี่ยวกบั ประมวลผลและการวเิ คราะห์
ตง้ั ใจ เอาใจใส่ตอ่ งานทไ่ี ดร้ ับ
การ ความคดิ เห็นตามตัวช้วี ดั ต่อไปนี้ มอบหมาย ทำงานด้วยความเป็น
ระเบยี บ สวยงาม สะอาด
ประมวลผล 1. ความต้งั ใจและเอาใจใส่ รอบคอบ และตรงตอ่ เวลา
และการ ตอ่ การเรยี น ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
วเิ คราะห์ 2. การตรงตอ่ เวลา
ความ 3. ความเป็นระเบยี บและ - ผลงานแสดงออกถึงความ
คดิ เห็น รอบคอบในการทำงาน ต้ังใจ เอาใจใส่ตอ่ งานท่ีได้รับ
มอบหมาย ทำงานด้วยความเป็น
ระเบียบ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงตอ่ เวลาเพียง
บางส่วน
ระดบั 1 ปรบั ปรุง 1 คะแนน
- ผลงานไม่แสดงออกถึงความ
ต้ังใจ เอาใจใสต่ อ่ งานทไ่ี ดร้ ับ
มอบหมาย ทำงานดว้ ยความเป็น
ระเบยี บ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงต่อเวลา
กจิ กรรมการเรียนรู้
ใช้กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
- แบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method)
- แบบใช้คำถาม (Questioning Method)
ขน้ั ที่ 1 ข้นั นำ
1) ครูทบทวนเกย่ี วกับ “การสร้างแบบสำรวจความคิดเห็น” มีกีต่ อน อะไรบ้าง ข้อ
คำถามแต่ละข้อควรมีลักษณะแบบใด
2) ครูซกั ถามนักเรียนเกี่ยวกับโครงงานทใ่ี ห้ทำ วา่ ตอนนี้ดำเนินการไปถงึ ไหนแลว้
และให้นักเรยี นซกั ถามในประเดน็ ทส่ี งสยั
ขัน้ ที่ 2 ข้นั สอน
1) ครูให้นักเรยี นศึกษา และสรุปเกี่ยวกับการประมวลผลและวิเคราะห์ความคิดเหน็
และนำเสนอขอบเขตของการสำรวจลงในกระดาษ A4 ในรปู แบบตา่ ง ๆ ที่นักเรยี นตอ้ งการ
2) นักเรียนนำเสนอชิ้นงาน เร่ือง การประมวลผลและวเิ คราะห์ความคดิ เห็น โดยสมุ่ หรือ
ขอเปน็ อาสาสมัคร
3) ครูยกตัวอยา่ งการประมวลผลและวเิ คราะห์ความคดิ เหน็ จากรายงานการสำรวจ
ความคดิ เห็นเร่ืองต่าง ๆ ใน Power Point ใหน้ ักเรียนดู ดังน้ี
แล้วครูกใ็ ชค้ ำถาม ซกั ถามนักเรยี นในประเดน็ ต่อไปนี้
- การประมวลผลและการวิเคราะห์ความคดิ เหน็ เปน็ อย่างไรบ้าง
- มกี ารอธบิ ายผลอยา่ งไร ใช้ค่าสถติ ิอย่างไร จงอธิบาย
ขน้ั ที่ 3 ขน้ั สรปุ
1) ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรุปการประมวลผลและวเิ คราะหค์ วามคิดเห็น
2) ครซู ักถามนักเรยี นเก่ยี วกับโครงงานเกี่ยวกบั การสำรวจความคดิ เหน็ ที่ใหน้ ักเรยี นไป
ทำ และให้นักเรยี นกลุ่มที่สง่ แบบสำรวจความคิดเห็นที่ครูแล้ว ปรบั ตามคำแนะนำ และดำเนนิ การเกบ็
ขอ้ มูลได้เลย สว่ นกลุ่มทยี่ ังไม่สง่ กแ็ จ้งใหส้ ่ง และดำเนนิ การไดแ้ ลว้ เพราะเหลือเวลาไมก่ ่ชี ่ัวโมงแลว้ ที่
นักเรียนตอ้ งส่งรายงานการสำรวจความคิด เปน็ โครงงาน 5 บท แก่ครู
3) ครสู ่งั เพิ่มเตมิ ในส่วนของการทำโปสเตอรข์ นาด A3 เพ่ือนำเสนอชิ้นงานของนักเรยี น
สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้
ส่ือการเรียนรู้
1) หนังสือแบบเรียนคณติ ศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6
2) ส่ือการสอน Power Point รายงานการสำรวจความคิดเห็น
แหลง่ เรยี นรู้
1) หอ้ งหมวดคณติ ศาสตร์
2) ห้องอนิ เตอร์เน็ต
สรุปผลการจัดการเรยี นรู้ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ
ดา้ นความรู้ 3
2
กลุม่ ผูเ้ รียน
ดี 0-1
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ
ด้านทักษะ/กระบวนการ
กลมุ่ ผเู้ รียน ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ
จำนวน (คน) คดิ เปน็ ร้อยละ
ดี 3
ปานกลาง 2
ปรับปรุง 0-1
ด้านคุณลักษะอนั พึงประสงค์
กลุ่มผู้เรียน ช่วงระดับคณุ ภาพ
ดี 3
2
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ 0-1
บันทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
ด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………......…………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….....….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปญั หาทพ่ี บระหว่างหรือหลงั จดั กิจกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..........................................................ผสู้ อน
(นางกจิ ศรา พรหมสวาท)
............/........................../.............
การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้
สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชว้ี ัดของหลักสูตรฯ
กิจกรรมการเรียนรูเ้ น้นผู้เรียนเป็นสำคญั
มีการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ มีความหลากหลายเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น
ใชส้ ่ือหรือแหล่งเรียนรทู้ ี่ทันสมยั และสง่ เสริมการเรยี นรู้ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
สอดคล้องตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรียน
สง่ เสริมทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls
ส่งเสริมเบญจวิถีกาญจนา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..............................................................
(…………………….…………………………….)
หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนร.ู้ .............................
การตรวจสอบและความคิดเห็นของหัวหน้ากลมุ่ บริหารวิชาการ
ถูกต้องตามรปู แบบของโรงเรียน
ผ่านการนิเทศตรวจสอบจากหวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้/กรรมการนเิ ทศ
กอ่ นใชส้ อน หลงั ใช้สอน
มบี นั ทึกหลงั จัดกจิ กรรมการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ลงชื่อ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวัสด์ิ)
หวั หน้ากลุม่ บรหิ ารวชิ าการ
ความคิดเหน็ ของรองผูอ้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ลงช่ือ....................................................................
(นางกัญจนช์ ญาณทั วงศ์จริ ะศักด์ิ)
รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4
รายวชิ าคณิตศาสตร์ 6 รหัสวิชา ค 33102 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรือ่ ง การสำรวจความคิดเหน็ เวลา 20 ชวั่ โมง
เรอ่ื ง การประมวลผลและวเิ คราะห์ความคิดเห็น เวลา 2 ชว่ั โมง
ผสู้ อน นางกิจศรา พรหมสวาท โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย สรุ าษฎร์ธานี
แนวคดิ สำคญั
การประมวลผลและวิเคราะห์ความคดิ เห็น โดยทวั่ ๆ ไปจะประกอบดว้ ย
3. รอ้ ยละของผูต้ อบแบบสำรวจความคดิ เห็นในแต่ละดา้ น
4. ระดับความคดิ เหน็ เฉลยี่
มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั
มาตรฐานการเรียนรู้
ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรู้ทางสถติ ิในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วดั
ม.6/1 เขา้ ใจและใช้ความร้ทู างสถติ ิในการนำเสนอข้อมลู และแปลวามหมายของ
คา่ สถิตเิ พื่อประกอบการตัดสนิ ใจ
จุดประสงค์การเรยี นรู้
1) สามารถประมวลผลจากการวเิ คราะหค์ วามคดิ เห็นได้
สาระการเรยี นรู้
ดา้ นความรู้
1) การประมวลผลและวิเคราะหค์ วามคิดเห็น
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
ใช้ภาษาและสญั ลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการส่อื สาร การสื่อความหมาย และการ
นำเสนอได้อย่างถกู ต้องชดั เจน
ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง
2. ซ่อื สตั ย์สจุ ริต 6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
3. มวี นิ ยั 7. รักความเปน็ ไทย
4. ใฝเ่ รยี นรู้ 8. มีจิตสาธารณะ
เบญจวิถีกาญจนา
1. เทดิ ทนู สถาบนั
2. กตัญญู
3. บุคลกิ ดี
4. มวี ินยั
5. ให้เกยี รติ
สมรรถนะท่สี ำคญั ของผ้เู รยี น
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
จุดเน้นส่กู ารพัฒนาผเู้ รยี น
ความสามารถและทักษะทจี่ ำเป็นในการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อ่านออก)
R2– (W)Riting (เขียนได)้
R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะดา้ นการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา)
C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะดา้ นความเข้าใจต่างวัฒนธรรม
ต่างกระบวนทศั น์)
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความร่วมมือ
การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้าน
การสอ่ื สารสารสนเทศและร้เู ท่าทันส่อื )
C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนร้)ู
C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
L1 – Learning (ทกั ษะการเรียนรู้)
L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน็ ผู้นำ)
การวัดและประเมนิ ผล
ดา้ นความรู้
ภาระงาน/ วิธีการวดั เครือ่ งมอื เกณฑ์ท่ใี ช้
ชน้ิ งาน
แบบ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
สรุปเกีย่ ว ตรวจช้นิ งานสรปุ เก่ียวกับ ประเมิน - เนอ้ื หาสาระของผลงานถูกต้อง
ชิน้ งาน
การ การประมวลผลและ ครบถ้วน
ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
ประมวลผล วิเคราะห์ความคดิ เห็นตาม
- เนอื้ หาสาระของผลงานถูกต้อง
และ ตัวช้ีวดั ตอ่ ไปนี้ บางสว่ น
ระดับ 1 ปรบั ปรงุ 1 คะแนน
วเิ คราะห์ - ความถูกต้องสมบรู ณ์
- เน้ือหาสาระของผลงานไม่เปน็ ไป
ความ ของผลงาน ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด
คดิ เหน็
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วิธีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑ์ที่ใช้
ชิ้นงาน
สรปุ เก่ยี ว ตรวจช้ินงานทส่ี รุปเกย่ี วกับ แบบ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
การ การประมวลผลและ ประเมิน - นำเสนอขอ้ มูลได้ถูกต้อง สมบรู ณ์ มี
ชนิ้ งาน
ประมวลผล วเิ คราะหค์ วามคิดเหน็ ตาม รายละเอียดและวธิ กี ารนำเสนอชัดเจน
และ ตัวชี้วดั ต่อไปนี้ ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
วิเคราะห์ 1. รูปแบบการนำเสนอ - นำเสนอขอ้ มูลได้ถกู ต้อง สมบรู ณ์
ความ
คดิ เห็น ระดับ 1 ปรับปรุง 1 คะแนน
2. ความคดิ ริเริม่ - นำเสนอข้อมลู ได้แตร่ ายละเอยี ดยัง
สร้างสรรค์ ไมส่ มบูรณ์
ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
- การออกแบบแสดงให้เหน็ ถึงความคิด
ริเริ่มสรา้ งสรรค์ และนำไปประยุกตไ์ ด้
ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
- การออกแบบแสดงให้เหน็ ถึงความคดิ
ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ และนำไปประยุกตไ์ ด้เป็น
บางส่วน
ระดบั 1 ปรับปรุง 1 คะแนน
- การออกแบบไม่แสดงให้เหน็ ถงึ
ความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ภาระงาน/ วิธีการวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์ทีใ่ ช้
ชิน้ งาน
สรปุ ตรวจสรปุ เก่ยี วสรุปเกี่ยวกาการ แบบ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
ประเมนิ - ผลงานแสดงออกถึงความ
เกี่ยวกบั ประมวลผลและการวเิ คราะห์
ตั้งใจ เอาใจใส่ต่องานทีไ่ ด้รับ
การ ความคดิ เห็นตามตัวช้วี ดั ต่อไปนี้ มอบหมาย ทำงานดว้ ยความเป็น
ระเบียบ สวยงาม สะอาด
ประมวลผล 1. ความต้งั ใจและเอาใจใส่ รอบคอบ และตรงต่อเวลา
และการ ตอ่ การเรยี น ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
วเิ คราะห์ 2. การตรงตอ่ เวลา
ความ 3. ความเป็นระเบียบและ - ผลงานแสดงออกถึงความ
คดิ เห็น รอบคอบในการทำงาน ต้ังใจ เอาใจใสต่ อ่ งานที่ไดร้ ับ
มอบหมาย ทำงานด้วยความเปน็
ระเบยี บ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงต่อเวลาเพียง
บางสว่ น
ระดบั 1 ปรับปรุง 1 คะแนน
- ผลงานไมแ่ สดงออกถึงความ
ตง้ั ใจ เอาใจใสต่ ่องานท่ีได้รับ
มอบหมาย ทำงานด้วยความเปน็
ระเบียบ สวยงาม สะอาด
รอบคอบ และตรงตอ่ เวลา
กจิ กรรมการเรียนรู้
ใช้กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
- แบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method)
- แบบใช้คำถาม (Questioning Method)
ขน้ั ที่ 1 ข้นั นำ
1) ครูทบทวนเกย่ี วกบั “การสร้างแบบสำรวจความคดิ เหน็ ” มกี ี่ตอน อะไรบ้าง ข้อ
คำถามแต่ละข้อควรมีลักษณะแบบใด