The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาษาคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jim.m ch, 2019-09-09 04:43:26

ภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพวิ เตอร์

1 ภาษาเครื่อง (Machine Language)
การ เขียนโปรแกรมเพอ่ื สง่ั ใหค้ อมพิวเตอร์ทางานในยคุ แรก ๆ จะตอ้ งเขียนดว้ ยภาษาซ่ึงเป็นที่ยอมรับของ
เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ีเรียกวา่ “ภาษาเครื่อง” ภาษาน้ีประกอบดว้ ยตวั เลขลว้ น ทาใหเ้ คร่ืองคอมพวิ เตอร์
สามารถทางานไดท้ นั ที ผทู้ ่ีจะเขียนโปรแกรมภาษาเครื่องได้ ตอ้ งสามารถจารหสั แทนคาสงั่ ต่าง ๆ ได้ และ
ในการคานวณตอ้ งสามารถจาไดว้ า่ จานวนต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการคานวณน้นั ถกู เก็บไวท้ ี่ตาแหน่งใด ดงั น้นั
โอกาสที่จะเกิดความผดิ พลาดในการเขียนโปรแกรมจึงมีมาก นอกจากน้ีเครื่องคอมพวิ เตอร์แต่ละระบบมี
ภาษาเคร่ืองท่ีแตกต่างกนั ออก ทาใหเ้ กดิ ความไมส่ ะดวกเมอื่ มกี ารเปลี่ยนเครื่องคอมพวิ เตอร์เพราะจะตอ้ ง
เขียน โปรแกรมใหมท่ ้งั หมด

2 ภาษาระดับตา่ (Low Level Language)

เนื่อง จากภาษาเครื่องเป็นภาษาท่ีมคี วามยุ่งยากในการเขียนดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ จึงไมม่ ผี นู้ ิยมและมกี ารใชน้ อ้ ย
ดงั น้นั ไดม้ กี ารพฒั นาภาษาคอมพวิ เตอร์ข้ึนอีกระดบั หน่ึง โดยการใชต้ วั อกั ษรภาษาองั กฤษเป็นรหสั แทนการ
ทางาน การใชแ้ ละการต้งั ช่ือตวั แปรแทนตาแหน่งท่ีใชเ้ ก็บจานวนต่าง ๆ ซ่ึงเป็นค่าของตวั แปรน้นั ๆ การใช้
สญั ลกั ษณ์ชว่ ยใหก้ ารเขียนโปรแกรมน้ีเรียกวา่ “ภาษาระดบั ต่า”ภาษาระดบั ต่าเป็นภาษาท่ีมคี วามหมาย
ใกลเ้ คียงกบั ภาษาเครื่อง มากบางคร้ังจึงเรียกภาษาน้ีว่า “ภาษาอิงเคร่ือง” (Machine – Oriented Language)
ตวั อยา่ งของภาษาระดบั ต่า ไดแ้ ก่ ภาษาแอสเซมบลี เป็นภาษาที่ใชค้ าในอกั ษรภาษาองั กฤษเป็นคาสงั่ ให้
เครื่องทางาน เช่น ADD หมายถงึ บวก SUB หมายถึง ลบ เป็นตน้ การใชค้ าเหล่าน้ีช่วยใหก้ ารเขียนโปรแกรม
ง่ายข้ึนกว่าการใชภ้ าษาเครื่องซ่ึง เป็นตวั เลขลว้ น ดงั ตารางแสดงตวั อยา่ งของภาษาระดบั ต่าและภาษาเคร่ืองที่
สง่ั ใหม้ ีการบวกจานวน ที่เกบ็ อยใู่ นหน่วยความจา

3 ภาษาระดับสูง (High Level Language)

ภาษา ระดบั สูงเป็นภาษาที่สร้างข้ึนเพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการเขยี นโปรแกรม กล่าวคือลกั ษณะของ
คาสงั่ จะประกอบดว้ ยคาต่าง ๆ ในภาษาองั กฤษ ซ่ึงผอู้ ่านสามารถเขา้ ใจความหมายไดท้ นั ที ผเู้ ขียนโปรแกรม
จึงเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาระดบั สูงไดง้ ่ายกวา่ เขียนดว้ ยภาษาแอ สเซมบลีหรือภาษาเครื่อง ภาษาระดบั สูงมี
มากมายหลายภาษา อาทิเช่น ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาปาสคาล (Pascal)
ภาษาเบสิก(BASIC) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic) ภาษาซี (C) และภาษาจาวา (Java) เป็นตน้ โปรแกรมที่

เขียนดว้ ยภาษาระดบั สูงแต่ละภาษาจะตอ้ งมโี ปรแกรมท่ีทาหนา้ ท่ีแปล ภาษาระดบั สูงใหเ้ ป็นภาษาเคร่ือง เช่น
โปรแกรมแปลภาษาฟอร์แทรนเป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมแปลภาษาปาสคาลเป็นภาษาเคร่ือง คาสงั่ หน่ึง
คาสง่ั ในภาษาระดบั สูงจะถกู แปลเป็นภาษาเคร่ืองหลายคาสงั่
ภาษาระดบั สูงที่จะกล่าวถงึ ในที่น้ี ไดแ้ ก่

1) ภาษาฟอร์แทรน (FORmula TRANstation : FORTRAN)
จดั เป็นภาษาระดบั สูงที่เก่าแก่ท่ีสุด ไดร้ ับการคิดคน้ ข้ึนเป็นคร้ังแรก ราว พ.ศ. 2497 โดยบริษทั ไอบีเอม็ เป็น
ภาษาท่ีเหมาะสาหรับงานที่ตอ้ งการการคานวณ เช่น งานทางดา้ นวิทยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ และงานวิจยั
ต่าง ๆ เนื่องจากแนวคิดในการเขียนโปรแกรมในระยะหลงั น้ีเปล่ียนมานิยมการเขียน โปรแกรมแบบ
โครงสร้างมากข้ึน ลกั ษณะของคาสงั่ ภาษาฟอร์แทรนแบบเดิมไม่เอ้อื อานวยที่จะใหเ้ ขียนได้ จึงมีการ
ปรับปรุงโครงสร้างของภาษาฟอร์แทรนใหส้ ามารถเขียนโปรแกรมแบบโครง สร้างข้ึนมาไดใ้ นปี พ.ศ. 2509
เรียกว่า FORTRAN 66 และในปี พ.ศ. 2520 สถาบนั มาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (American
National Standard Institute หรือ ANSI) ไดป้ รับปรุง FORTRAN 66 และยอมรับใหเ้ ป็นภาษาฟอร์แทรนท่ี
เป็นมาตรฐาน เรียกวา่ FORTRAN 77 ใชไ้ ดก้ บั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีมีตวั แปลภาษาน้ี
2) ภาษาโคบอล (Common Business Oriented Language : COBOL)
เป็น ภาษาท่ีพฒั นาข้ึนในราว พ.ศ. 2502 ต่อมาไดร้ ับการปรับปรุงจากคณะกรรมการซ่ึงเป็นตวั แทนของ
หน่วยงานธุรกิจและ รัฐบาลของสหรัฐอเมริกา เป็นภาษาโคบอลมาตรฐานในปี พ.ศ. 2517 เป็นภาษาท่ี
เหมาะสมสาหรับงานดา้ นธุรกิจ เครื่องคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ส่วนมากมโี ปรแกรมแปลภาษาโคบอล
3) ภาษาเบสิก (Beginner’s All – purpose Symbolic Instruction Code : BASIC)
เป็น ภาษาที่ไดร้ ับการคิดข้ึนเป็นคร้ังแรกท่ีวทิ ยาลยั ดาร์ทมธั (Dartmouth College) และเผยแพร่เป็นทางการ
ในปี พ.ศ. 2508ภาษาเบสิกเป็นภาษาที่สร้างข้ึนโดยมจี ุดประสงคเ์ พ่ือใชส้ อนเพื่อใชส้ อน เขียนโปรแกรม
แทนภาษาคอมพวิ เตอร์ภาษาอืน่ เช่น ภาษาฟอร์แทรน ซ่ึงมีขนาดใหญ่และตอ้ งใชห้ น่วยความจาสูงในการ
ทางาน ซ่ึงไมเ่ หมาะกบั เครื่องคอมพิวเตอร์ในสมยั น้นั ภาษาเบสิกเป็นภาษาที่มขี นาดเลก็ เป็นตวั แปลภาษา
ชนิดที่เรียกว่าอินเทอร์พรีเตอร์
นอก จากน้ี ภาษาเบสิกเป็นภาษาที่ง่ายต่อการเขียน ซ่ึงผเู้ ขียนจะสามารถนาไปประยกุ ตก์ บั การแกป้ ัญหา
ต่าง ๆ ไดท้ ุกสาขาวชิ า ผทู้ ี่เพ่ิงฝึกเขียนโปรแกรมใหม่ ๆ หรือผทู้ ่ีไมใ่ ช่นกั เขียนโปรแกรมมอื อาชีพ แต่เป็น
เพียงวิศวกรหรือนกั วจิ ยั จะสามารถหดั เขียนโปรแกรมภาษาเบสิกไดใ้ นเวลาไม่นานนกั ปกติภาษาเบสิกส่วน
ใหญ่ใชก้ บั ไมโครคอมพวิ เตอร์
4) ภาษาปาสคาล (Pascal)

ต้งั ช่ือตามนกั คณิตศาสตร์ชาวฝร่ังเศส ชื่อ เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) ซ่ึงเป็นผผู้ ลิตเคร่ืองคิดเลขโดยใช้
เฟื องหมุน ภาษาปาสคาลคิดข้ึนในปี พ.ศ. 2514 โดยนิคลอส เวยี ซ (Niklaus Wirth) ศาสตราจารยว์ ิชา
คอมพวิ เตอร์ชาวสวิต ภาษาปาสคาลไดร้ ับการออกแบบใหใ้ ชง้ ่ายและมโี ครงสร้างท่ีดี จึงเหมาะกบั การใช้
สอนหลกั การเขียนโปรแกรม ปัจจุบนั ภาษาปาสคาลยงั คงไดร้ ับความนิยมใชใ้ นการเรียนเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์

5) ภาษาซีและซีพลสั พลสั (C และ C++)
ภาษา ซีเป็นภาษาที่พฒั นาจากหอ้ งปฏิบตั ิการเบลลข์ องบริษทั เอทีแอนดท์ ีในปี พ.ศ. 2515 หลงั จากท่ี
พฒั นาข้ึนไดไ้ ม่นาน ภาษาซีกก็ ลายเป็นภาษาท่ีนิยมในหมนู่ กั เขียนโปรแกรมมาก และมีใชง้ านในเครื่องทุก
ระดบั ท้งั น้ีเน่ืองจากภาษาซีไดร้ วมเอาขอ้ มลู ของภาษาระดบั สูงและภาษาระดบั ต่าเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั กล่าวคือ
เป็นภาษาท่ีมีไวยากรณ์ที่เขา้ ใจง่าย ทาใหเ้ ขียนโปรแกรมไดง้ ่ายเช่นเดียวกบั ภาษาระดบั สูงทว่ั ไป แต่
ประสิทธิภาพและความเร็วในการทางานดีกว่ามาก เนื่องจากมีการทางานเหมือนภาษาระดบั ต่า สามารถ
ทางานไดใ้ นระดบั ท่ีเป็นการควบคุมาาร์ดแวร์ไดม้ ากกวา่ ภาษาระดบั สูงอน่ื ๆ ดงั จะเห็นว่าภาษาซีเป็นภาษาท่ี
สามารถพฒั นาระบบปฏิบตั ิการได้ เช่น ระบบปฏิบตั ิการยนู ิกซ์
นอก จากน้ีเมือ่ แนวคิดของการเขียนโปรแกรมแบบเชิงวตั ถุ (Object Oriented Programming : OOP) ไดเ้ ขา้
มามบี ทบาทในวงการคอมพวิ เตอร์มากข้ึน ภาษาซกี ็ยงั ไดร้ บั การพฒั นาโดยประยกุ ตใ์ ชก้ บั การเขียน
โปรแกรมดงั กล่าว เกิดเป็นภาษาใหมช่ ื่อวา่ “ภาษาซีพลสั พลสั ” (C++)

6) ภาษาวชิ วลเบสิก (Visual Basic)
เป็น ภาษาท่ีพฒั นาต่อมาจากภาษาเบสิก ใชไ้ วยากรณ์บางส่วนของภาษาเบสิกในการเขียนโปรแกรม แต่มี
แนวคิดและวธิ ีการพฒั นาโปรแกรมที่แตกต่างจากภาษาเบสิกโดยสิ้นเชิง รวมท้งั การใชเ้ น้ือท่ีใน
หน่วยความจาก็แตกต่างกนั มาก ท้งั น้ีเนื่องจากภาษาวิชวลเบสิกใชแ้ นวคิดทต่ี ่างออกไป
7) การเขยี นโปรแกรมแบบจินตภาพ (Visual Programming)
ภาษา น้ีพฒั นาข้ึนโดยบริษทั ไมโครซอฟตอ์ อกแบบเพอ่ื เขียนโปรแกรมท่ีสามารถใชง้ านได้ บน
ระบบปฏบิ ตั ิการแบบจยี ไู อ เช่น ระบบปฏิบตั ิการไมโครซอฟตว์ ินโดวส์ มกี ารติดต่อกบั ผใู้ ชโ้ ดยใชร้ ูปภาพ
การเขียนโปรแกรมทาไดง้ ่ายกว่าการเขียนโปรแกรมแบบเก่ามาก

8) ภาษาจาวา (Java)
พฒั นา ข้ึนในปี พ.ศ. 2534 โดยบริษทั ซนั ไมโครซิสเตมส์ เป็นภาษาท่ีไดร้ ับความนิยมสูงมาโดยตลอด
เน่ืองจากเป็นภาษาท่ีมคี วามยดื หยนุ่ สูง สามารถเขียนโปรแกรมและใชง้ านไดบ้ นเครื่องคอมพวิ เตอร์ทุก
ประเภทและระบบ ปฏบิ ตั ิการทกุ รูปแบบ ในช่วงแรกที่เร่ิมมีการนาภาษาจาวามาใชง้ านจะเป็นการใชง้ านบน

เครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต เป็นภาษาที่เนน้ การทางานบนเวบ็ แต่ปัจจุบนั สามารถสามารถนามาประยกุ ตส์ ร้าง
โปรแกรมใชง้ านทว่ั ไปได้
นอก จากน้ี เมอื่ เทคโนโลยขี องการสื่อสารกา้ วหนา้ ข้ึน จนกระทง่ั เครื่องคอมพิวเตอร์ปาลม์ ทอ็ ป หรือ แมแ้ ต่
โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่ีสามารถเชื่อมต่อเขา้ สู่ระบบอนิ เทอร์เน็ตและใชง้ าน ระบบเวิลดไ์ วดเ์ วบ็ ได้ ภาษาจาวาก็
สามารถสร้างส่วนท่ีเรียกว่า “แอปเพลต็ ” (Applet) ใหอ้ ุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ทีก่ ล่าวขา้ งตน้ เรียกใชง้ านจาก
เคร่ืองท่ีเป็นแม่ข่าย (Server) ได้
9) ภาษาเดลฟาย (Delphi)
เป็น ภาษาที่ไดร้ ับความนิยมภาษาหน่ึง แนวคิดในการเขียนโปรแกรมภาษาเดลฟายเหมือนกบั แนวคิดในการ
เขียนโปรแกรมภาษาวิ ชวลเบสิก คือเป็นการเขียนโปรแกรมเชิงจินตภาพ แต่ภาษาพ้นื ฐานที่ใชใ้ นการเขียน
โปรแกรมจะเป็นภาษาปาสคาล ในการเขียนโปรแกรมเชิงจินตภาพน้ีมคี อมโพเนนต์ (Component) ที่
สามารถใชเ้ ป็นส่วนประกอบเพ่อื สร้างส่วนติดต่อผใู้ ชท้ ี่เป็นแบบกราฟิก ทาใหซ้ อฟตแ์ วร์ท่ีพฒั นามคี วาม
น่าสนใจและใชง้ านง่ายข้ึน การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาเดลฟายจึงเป็นท่ีนิยมในการนาไปพฒั นาเป็น
โปรแกรมใช้ งานมาก รวมท้งั ภาษาปาสคาลเป็นภาษาท่ีเขา้ ใจง่าย เหมาะแก่การนามาใชส้ อนเขียนโปรแกรม
4. ภาษาระดบั สูงมาก

เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ท่ี 4 ซ่ึงเป็นภาษาระดบั สูงมาก จดั เป็นภาษาไร้กระบวนคาสงั่ หมายความว่าผใู้ ช้ เพียง
บอกแต่ว่าใหค้ อมพวิ เตอร์ทาอะไร โดยไมต่ อ้ งบอกคอมพวิ เตอร์ว่าส่ิงน้นั ทาอยา่ งไร เรียกวา่ เป็นภาษาเชิง
ผลลพั ธ์ คือเนน้ ว่าทาอะไร ไม่ใช่ทาอยา่ งไร ดงั น้นั จึงเป็นภาษาโปรแกรมท่ีเขียนง่าย

5. ภาษาธรรมชาติ

เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ท่ี 5 ซ่ึงคลา้ ยกบั ภาษาพดู ตามธรรมชาติของคน การเขียนโปรแกรมง่ายที่สุด คือการ
เขียนคาพดู ของเราเองว่าเราตอ้ งการอะไร ไมต่ อ้ งใชค้ าสงั่ งานใดๆ เลย


Click to View FlipBook Version