The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับครู

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nong7632, 2022-05-04 11:26:38

คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับครู

คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับครู

ค่มู ือทกั ษะความฉลาดทางดิจิทลั สาหรบั คร ู

คำนำ

คมู่ อื ทกั ษะความฉลาดทางดจิ ทิ ลั สาหรบั ครู เป็ นสว่ นหนงึ่
ของรายวิชา การพฒั นาความเป็ นครู (GD58201) หลกั สตู ร ป.
บณั ฑติ รนุ่ 23 โดยยดึ ประเด็น DQ ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ :
Digital Intelligence Quotient) ทงั้ 8 ทกั ษะ เพอื่ ใหเ้ ห็นถึงความสาคญั
ของการใชส้ ่อื เทคโนโลยี ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ซึ่งคมู่ อื นเ้ี นน้ ทกั ษะความ
ฉลาดทางดจิ ทิ ลั 8 ทกั ษะ พรอ้ มตวั อยา่ งประกอบ เนอ่ื งจากวา่ เป็ น
ทกั ษะท่ีสาคญั ในการดารงชวี ิตในปัจจบุ นั

ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ คมู่ อื ทกั ษะความฉลาดทางดจิ ทิ ัล สาหรบั ครู
จะเป็ นประโยชนก์ บั ผอู้ า่ นท่ีกาลงั หาขอ้ มลู และศึกษาเก่ียวกบั เรื่องนอ้ี ยู่
หากมขี อ้ แนะนาหรือผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรบั ไวแ้ ละขอ
อภยั มา ณ ทีน่ ดี้ ว้ ย

นางสาววารศิ า สนิ ธวุ งษ์

สารบญั

เรอ่ื ง หนา้

ความฉลาดทางดิจิทลั ((DQ : Digital Intelligence Quotient) คืออะไร 1

ความเป็ นพลเมืองดิจิทลั (Digital Citizenship) คืออะไร 2

ทกั ษะ 1 การรกั ษาอตั ลกั ษณท์ ่ีดีของตนเอง 4

ทกั ษะ 2 การคิดวิเคราะหม์ ีวิจารณญาณที่ดี 6

ทกั ษะ 3 ในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ 9

ทกั ษะ 4 ในการรกั ษาขอ้ มลู สว่ นตวั 14

ทกั ษะ 5 ในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ 17

ทกั ษะ 6 ในการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ที่ผใู้ ชง้ านมีการท้ิงไวบ้ นโลกออนไลน์ 22

ทกั ษะ 7 ในการรบั มือกบั การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์ 26

ทกั ษะ 8 การใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีจรยิ ธรรม 30

สรปุ 35

เอกสารอา้ งอิง 36

ผจู้ ดั ทา 37

1

ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั

Digital intelligence

ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ : Digital Intelligence Quotient) หรือ ความสามารถ
ทางสงั คม อารมณแ์ ละการรบั รทู้ ี่จะทาใหแ้ ตล่ ะคนสามารถเผชญิ กบั ความทา้ ทาย
หรือบททดสอบของชวี ิตดจิ ทิ ลั และสามารถปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั ชวี ิตดจิ ทิ ลั เป็ นทกั ษะ
ที่พลเมอื งในยคุ 4.0 จาเป็ นอยา่ งย่ิงในยคุ ดิจทิ ลั นี้ โดยเฉพาะนกั ศึกษาวิชาชพี ครทู ่ี
จะตอ้ งมที กั ษะนเ้ี ชน่ ทกั ษะการสอื่ สาร ทกั ษะการเอาตวั รอด ทกั ษะชวี ติ เนอื่ งจาก
เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เขา้ มามบี ทบาททง้ั ในดา้ นการดารงชวี ิต รวมถึงดา้ นสงั คมการ
เรียนรขู้ องทง้ั ครู และนกั เรียนมากขน้ึ รปู แบบการเรียนรทู้ เ่ี ปลยี่ นไปทาให้
นกั ศึกษาวิชาชพี ครจู ะตอ้ งรจู้ กั วิธีการรบั มอื กบั เทคโนโลยีดจิ ิทลั ตา่ ง ๆ รอบตวั
รวมไปถึงตอ้ งรวู้ ิธีการท่จี ะดารงชวี ิตอยใู่ นยคุ ดจิ ทิ ลั ไดอ้ ย่างปลอดภยั และ เป็ น
พลเมอื งดจิ ทิ ลั ท่ีมคี วามสขุ โดยมเี ทคโนโลยีเป็ นตวั ขบั เคลอ่ื น ซ่ึงทกั ษะความฉลาด
ทางดจิ ิทลั มอี ยู่ 8 ทกั ษะ คือ อตั ลกั ษณท์ างดจิ ิทลั (Digital Identity)การใชป้ ระโยชน์
จากดจิ ทิ ลั (Digital Use)ความปลอดภยั ในโลกดจิ ิทลั (Digital Safety) ความมนั่ คง
ทางดจิ ิทลั (Digital Security) ความฉลาดทางอารมณใ์ นโลก ดจิ ทิ ลั

(Digital Emotional Intelligence)
การส่อื สาร ทางดจิ ิทลั (Digital
Communication) ความรู้ เร่ือง
ดจิ ทิ ลั (Digital Literacy)
สิทธทิ างดจิ ทิ ลั (Digital
Rights) ทกั ษะดงั กลา่ วจะ
เป็ นทกั ษะทเี่ ชอื่ มโยง ไปสู่
การเป็ นพลเมอื ง 4.0 หรือ
พลเมอื งดจิ ิทลั นนั่ เอง

2

ความเป็ นพลเมอื งดจิ ทิ ลั

Digital Citizenship

ความเป็ นพลเมอื งดจิ ทิ ลั
(Digital Citizenship) คอื อะไร

ความเป็ นพลเมอื งดจิ ิทลั คือ พลเมอื งผใู้ ชง้ านสอื่ ดิจทิ ลั และส่ือ
สงั คมออนไลนท์ ี่เขา้ ใจบรรทดั ฐานของการปฏิบตั ติ วั ให้
เหมาะสมและมคี วามรบั ผดิ ชอบในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะ
อยา่ งย่ิง การสื่อสารในยคุ ดจิ ทิ ลั เป็ นการส่ือสารที่ไรพ้ รมแดน
สมาชิกของโลกออนไลนค์ ือ ทกุ คนที่ใชเ้ ครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต
บนโลกใบน้ี ผใู้ ชส้ ่ือสงั คมออนไลนม์ คี วามหลากหลายทางเชอ้ื
ชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม พลเมอื งดจิ ิทลั จึงตอ้ งเป็ น
พลเมอื งที่มคี วามรบั ผดิ ชอบ มจี ริยธรรม เห็นอกเห็นใจและ
เคารพผอู้ ่ืน มสี ว่ นรว่ มและมงุ่ เนน้ ความเป็ นธรรมในสงั คม
การเป็ นพลเมอื งในยคุ ดจิ ทิ ลั นน้ั มที กั ษะที่สาคัญ 8 ประการ

3

ความเป็ นพลเมอื งดจิ ทิ ลั

Digital Citizenship

1. ทกั ษะในการรกั ษา 4

อตั ลกั ษณท์ ี่ดขี องตนเอง

(Digital Citizen Identity)

สามารถสรา้ งและบริหารจดั การอัตลกั ษณท์ ่ีดขี องตนเองไวไ้ ดอ้ ยา่ งดีทงั้ ในโลก
ออนไลนแ์ ละโลกความจริง อตั ลกั ษณท์ ีด่ คี อื การทผี่ ใู้ ชส้ ่ือดิจทิ ลั สรา้ ง
ภาพลกั ษณใ์ นโลกออนไลนข์ องตนเองในแงบ่ วก ทงั้ ความคิด ความรสู้ กึ และ
การกระทา โดยมวี ิจารณญานในการรบั สง่ ขา่ วสารและแสดงความคดิ เห็น มี
ความเห็นอกเห็นใจผรู้ ว่ มใชง้ านในสงั คมออนไลน์ และรจู้ กั รบั ผดิ ชอบตอ่ การ
กระทา ไมก่ ระทาการทีผ่ ดิ กฎหมาย และจริยธรรมในโลกออนไลน์ เชน่ การ
ละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ การกลนั่ แกลง้ หรือการใชว้ าจาทสี่ รา้ งความเกลียดชงั ผอู้ น่ื ทาง
สื่อออนไลน์

5

ยกตวั อยา่ งเชน่ บางคนในโลกชวี ิตจริงภาพลกั ษณท์ ี่
แสดงออกตอ่ คนในสงั คมทวั่ ไป หรือ กบั เพ่ือนรว่ มงาน ก็ดเู ป็ น
คนสภุ าพ พดู จาดี แตพ่ ออยบู่ นโลกออนไลนก์ ลบั แสดงตวั ตนที่
แทจ้ ริงออกมาเต็มท่ี โพสตด์ ว้ ยถอ้ ยคาที่หยาบคาย ต่อวา่ ผอู้ ื่นที่
ทาใหไ้ มพ่ อใจดว้ ยถอ้ ยคาท่ีรนุ แรงโดยไมผ่ า่ นการกลัน่ กรองใดๆ
ทงั้ ส้นิ เพราะคิดวา่ นเี่ ป็ นพื้นที่สว่ นตวั แตไ่ มท่ ันไดค้ ิดตอ่ วา่ เป็ น
พื้นที่สว่ นตวั นไี้ ดเ้ ปิ ดเป็ นสาธารณะเอาไว้ ท่ีใครๆก็เขา้ มาอา่ น
โพสตข์ องเราไดต้ ลอดเวลา และนกี่ ็คือเหตผุ ลที่เราจงึ ควร
รกั ษาอตั ลกั ษณ์ หรือ ภาพลกั ษณ์ ของเราใหด้ ที ง้ั ในโลกออนไลน์
และโลกชีวิตจริง

6

2. ทกั ษะการคิดวิเคราะหม์ ี
วิจารณญาณท่ีดี

(Critical Thinking)

สามารถในการวิเคราะหแ์ ยกแยะระหวา่ งขอ้ มลู ท่ถี กู ตอ้ งและขอ้ มลู ทีผ่ ดิ ขอ้ มลู ทมี่ ี
เนอื้ หาเป็ นประโยชนแ์ ละขอ้ มลู ทเี่ ขา้ ขา่ ยอนั ตราย ขอ้ มลู ตดิ ตอ่ ทางออนไลนท์ ี่นา่ ตงั้ ขอ้
สงสยั และนา่ เชอ่ื ถือได้ เมอ่ื ใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตจะรวู้ ่าเนอ้ื หาอะไร เป็ นสาระ มปี ระโยชน์
รเู้ ทา่ ทนั สอื่ และสารสนเทศ สามารถวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ขอ้ มลู จากแหลง่ ขอ้ มลู ที่
หลากหลายได้ เขา้ ใจรปู แบบการหลอกลวงตา่ งๆ ในโลกไซเบอร์ เชน่ ขา่ วปลอม
เว็บปลอม ภาพตดั ตอ่ เป็ นตน้

7

ระวงั ! “ศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ วปลอม” ของปลอม หลงั พบ twitter ปลอม
แอบอา้ งและทาบญั ชี twitter ใหด้ เู หมือนศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ วปลอม โดยของจริง
ตอ้ งมเี ครื่องหมาย Verified Account ป้ ายเคร่ืองหมายถกู สขี าวบนพน้ื วงกลมสี
ฟ้ าดว้ ย Twitter ศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ วปลอม ของจริง ของแท้ ตอ้ งมี Verified
Account ซ่ึงเป็ นแถบป้ ายยืนยนั ทผ่ี า่ นการตรวจสอบจากทาง twitter แลว้ วา่ คอื
บญั ชผี ใู้ ชจ้ ริง สาหรบั บคุ คลสาธารณะ ไดแ้ ก่ คนดงั หนว่ ยงานรัฐ สานกั ขา่ ว
หลงั ศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ วปลอม พบมผี แู้ อบอา้ งใชช้ อื่ “หนว่ ยตอ่ ตา้ นขา่ วปลอม
(@antifakenewsth)” บน twitter โดยทาหนา้ ตาบญั ชใี หเ้ หมอื น ศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ ว
ปลอม ซ่ึงทางศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ วปลอม (ของจริง) ขอชแ้ี จงว่าทวิตเตอร์
@antifakenewsth ไมใ่ ชช่ อื่ แอคเคาทข์ องหนว่ ยงาน ฯ
โดยชอ่ งทางการตดิ ตามขา่ วสารของศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ วปลอม ประเทศไทย ของ
จริง มชี อ่ งทางดงั นี้
Twitter : ศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ วปลอม ประเทศไทย @AFNCThailand
Website : ศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ วปลอม ประเทศไทย
(https://www.antifakenewscenter.com)
Facebook : Anti-Fake News Center Thailand

8

วิธีป้ องกนั

9
3. ทกั ษะในการรกั ษาความ
ปลอดภยั ของตนเองใน

โลกไซเบอร์

(Cybersecurity Management)

สามารถป้ องกนั ขอ้ มลู ดว้ ยการสรา้ งระบบความปลอดภยั ท่ี
เขม้ แขง็ และป้ องกนั การโจรกรรมขอ้ มลู หรือการโจมตอี อนไลนไ์ ด้ มี
ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ การ
รกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอรค์ ือ การปกป้ อง
อปุ กรณด์ จิ ทิ ลั ขอ้ มลู ที่จดั เก็บและขอ้ มลู สว่ นตวั ไมใ่ หเ้ สียหาย สญู
หาย หรือถกู โจรกรรมจากผไู้ มห่ วงั ดใี นโลกไซเบอร์ การรกั ษาความ
ปลอดภยั ทางดิจิทลั มคี วามสาคญั ดงั น้ี

• เพ่ือรกั ษาความเป็ นสว่ นตวั และ
1 ความลบั

• เพื่อป้ องกนั การขโมยอัตลกั ษณ์

2

• เพ่ือป้ องกนั การโจรกรรมขอ้ มลู

3

• เพือ่ ป้ องกนั ความเสยี หายของ
4 ขอ้ มลู และอปุ กรณ์

11

ปัจจบุ นั นเ้ี ร่ืองการโจรกรรมขอ้ มลู บนโลกไซเบอรโ์ ดยพวกแฮก
เกอร์ (Hacker) มใี หเ้ ห็นมากขน้ึ ทกุ วนั ในรปู แบบที่เรียกว่า ฟิ ชชง่ิ
(Phishing) ซึ่งก็มอี ยหู่ ลากหลายวิธกี ารเชน่ การทาเวบไซตป์ ลอม, การ
สง่ อีเมลลป์ ลอม, การใชไ้ วรสั มลั แวร์ เป็ นตน้ ดงั นนั้ ในยคุ ดิจทิ ลั แบบนี้
เราตอ้ งใหค้ วามสาคญั กบั การตง้ั รหสั ผา่ นในทกุ กจิ กรรมท่ีเราทาบนโลก
ออนไลนใ์ หม้ คี ณุ ภาพ หลีกเลี่ยงการตง้ั รหสั ผา่ นที่คนจะเดาไดง้ า่ ยท่ีเขา
เรียกกนั ว่า รหสั ยอดแยแ่ ห่งปี หรือใขร้ หสั ผา่ นเดยี วกนั ในทกุ ๆบริการ
ออนไลนท์ ่ีเราใช้ เพราะเมือ่ แฮกเกอรส์ ามารถลว่ งรรู้ หสั ผา่ นเราไดแ้ ลว้ ก็
จะสามารถเขา้ ถึงทกุ บริการออนไลนข์ องเราไดท้ นั ที

12

เร่ืองจริง! แฮกเกอรเ์ จาะระบบสาธารณสขุ ฉกขอ้ มลู ผปู้ ่ วย 16 ลา้ น
"อนทุ ิน" ช้ตี น้ ตอทเ่ี พชรบรู ณ์ สงั่ สอบแลว้

แฮกเกอร์ เจาะฐานขอ้ มลู ผปู้ ่ วย 16 ลา้ นคน "อนทุ ิน" ยอมรบั
เรื่องจริง พบทเี่ พชรบรู ณ์ ยนั ไมม่ ขี อ้ มลู ลบั สงั่ ปลดั สธ.ตรวจสอบ ดาเนนิ คดี
จากกรณีมกี ารแชรว์ ่ามกี ารแฮกฐานขอ้ มลู ผปู้ ่ วยของกระทรวงสาธารณสขุ
ขโมยของมลู ของผปู้ ่ วยกวา่ 16 ลา้ นราย แลว้ เรียกคา่ ไถ่นน้ั
เมอ่ื วนั ท่ี 7 กนั ยายน นายอนทุ นิ ชาญวีรกลู รองนายกรฐั มนตรีและ
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ (สธ.) ยอมรบั ว่าเป็ นเร่ืองจริง เบื้องตน้
ทราบขอ้ มลู ว่าเหตเุ กดิ ใน พื้นท่จี งั หวดั เพชรบรู ณ์ และเรื่องนี้เคยเกดิ ขน้ึ ที่
จงั หวดั สระบรุ ี ซึ่งขอ้ มลู ทีถ่ กู ลว้ งออกไป เป็ นขอ้ มลู ทวั่ ไป ไมใ่ ชข่ อ้ มลู ท่เี ป็ น
ความลบั อะไร จากนค้ี งตอ้ งหาทางปรบั ปรงุ ระบบใหม้ คี วามปลอดภยั มากขนึ้

วิธีป้ องกนั 13

14

4. ทกั ษะในการรกั ษาขอ้ มลู สว่ นตวั

(Privacy Management)

มดี ลุ พินจิ ในการบริหารจดั การขอ้ มลู สว่ นตวั รจู้ กั ปกป้ องขอ้ มลู ความ
สว่ นตวั ในโลกออนไลนโ์ ดยเฉพาะการแชรข์ อ้ มลู ออนไลนเ์ พ่อื ป้ องกนั
ความเป็ นสว่ นตวั ทง้ั ของตนเองและผอู้ ื่น รเู้ ทา่ ทนั ภยั คกุ คามทาง
อินเทอรเ์ น็ต เชน่ มลั แวร์ ไวรสั คอมพิวเตอร์ และกลลวงทางไซเบอร์

15

สาเหตหุ นงึ่ ทีท่ าใหค้ นยคุ ดิจทิ ลั จะถกู หลอกงา่ ยก็คือ การไมร่ ะวงั
รกั ษาความเป็ นสว่ นตวั และขอ้ มลู สว่ นตวั ของตวั เอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใชส้ ือ่
โซเชยี ลในชวี ิตประจาวนั หลายคนก็โพสตท์ กุ ส่ิงอยา่ งลงไปเลย ไมว่ ่าจะเป็ น
อารมณค์ วามรสู้ ึก สขุ เศรา้ เหงา รกั อกหกั รกั คดุ หรือการเช็กอินอป้ เดตชวี ิต
ทกุ ทีท่ ี่ไดไ้ ป แมก้ ระทงั่ ภาพตา่ งๆในบา้ น เร่ืองราวตา่ งๆทเี่ กดิ ขน้ึ ในครอบครวั
เปิ ดเผยหมด โดยไมร่ เู้ ลยวา่ สง่ิ ทท่ี าอย่คู ือการเรียกแขก เรียกผไู้ มห่ วงั ดเี ขา้ มาใน
ชวี ิต เหตผุ ลพราะกอ่ นที่เราจะเขา้ สยู่ คุ ดิจทิ ลั กว่าทีเ่ ราจะสามารถเขา้ ใจถึงนสิ ยั ใจ
คอ ความรสู้ กึ นกึ คดิ ชวี ิตความเป็ นอยู่ ของใครสกั คนจะตอ้ งใชเ้ วลาพอสมควรใน
การศึกษาเก็บขอ้ มลู เพราะนนั่ เป็ นการพบกนั ในชวี ิตจริงไมใ่ ชโ่ ลกออนไลน์ ผคู้ น
ตา่ งๆก็จะพยายามเก็บรกั ษาความเป็ นสว่ นตวั ใหม้ ากทส่ี ดุ ไมเ่ ปิ ดเผยออกไปงา่ ยๆ
แตเ่ มอื่ มาอย่ใู นโลกออนไลน์ ถา้ เราอยากจะรจู้ กั ใครสกั คนอยา่ งลกึ ซ้ึง ก็แคเ่ ขา้ ไป
สอ่ งในสือ่ โซเชยี ลของคนๆนนั้ ทงั้ Facebook, Line, Instagram, Twitter เพียงไมก่ ี่
นาทีก็สามารถลว่ งรตู้ วั ตนของคนๆนน้ั ไดท้ นั ที แถมดว้ ยตารางชวี ิตประจาวนั
ทงั้ หมดว่าจะตอ้ งทาอะไร ตอนไหน ไปทไ่ี หน กบั ใคร ซึ่งขอ้ มลู เหลา่ นี้เองที่ผไู้ มห่ วงั
ดนี าไปใชใ้ นการวิเคราะหว์ างแผนเพอื่ มาหลอกลวงเรา

ดว้ ยเหตแุ ละผลขา้ งตน้ การรกั ษาขอ้ มลู สว่ นตวั และความเป็ นส่วนตวั
ของเราจึงเป็ นสิง่ สาคญั มาก การโพสตอ์ ะไรในส่ือโซเชยี ลก็ควรเปิ ดเผยแตพ่ อดี
เรื่องในครอบครวั ก็ใหอ้ ย่ใู นครอบครวั ขอ้ มลู สว่ นตวั เชน่ บตั รประชาชน ตวั๋
เคร่ืองบิน หนงั สือเดนิ ทาง รหสั ผา่ นตา่ งๆ ก็ควรเก็บรกั ษาใหด้ ี ปฎบิ ตั ติ วั ในการ
อยใู่ นโลกออนไลนใ์ หเ้ หมอื นในโลกชวี ิตจริง เพอื่ ความปลอดภยั ของตวั เราเอง

16

วิธีป้ องกนั

ส่งิ ไมค่ วรโพสตล์ งในโซเชยี ลเน็ตเวริ ค์

17

5. ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ

(Screen Time Management)

สามารถในการบริหารเวลาทใ่ี ชอ้ ปุ กรณย์ คุ ดจิ ิทลั รวมไปถึงการควบคมุ
เพอื่ ใหเ้ กดิ สมดลุ ระหวา่ งโลกออนไลน์ และโลกภายนอก ตระหนกั ถึง
อนั ตรายจากการใชเ้ วลาหนา้ จอนานเกนิ ไป การทางานหลายอยา่ งในเวลา
เดยี วกนั และผลเสียของการเสพตดิ ส่ือดจิ ิทลั สานกั วิจยั สยามเทคโนโลยี
อินเทอรเ์ น็ตโพลลร์ ะบวุ ่า วยั รนุ่ ไทยเกอื บ 40 % อยากใชเ้ วลาหนา้ จอ
มากกวา่ ออกกาลงั กาย และผลการสารวจจาก We are social พบว่า ในแต่
ละวนั คนไทยใชเ้ วลาหนา้ จอ ดงั น้ี

18

19

20

โรคภาวะสายตาสนั้ เทยี มถกู พบมากขน้ึ เนอื่ งจากพฤตกิ รรมในการใช้ social
media ทางสมารท์ โฟน แท็บเลต การใชง้ านคอมพิวเตอรเ์ ป็ นเวลานาน ใช้
สายตาในการเพง่ หรือจอ้ งท่มี ากเกนิ ไป มผี ลกระทบตอ่ การหดตวั ของ
กลา้ มเนอื้ ในตาอย่างมาก กอ่ ใหเ้ กิดความผดิ ปกตใิ นการมองเห็นได้ โดยมี
อาการมองไมช่ ดั ค่อนขา้ งจะทนั ที หลงั จากการใชส้ ายตาในระยะใกลเ้ ป็ น
เวลานาน
วนั นี้ (18 พ.ย.) ศนู ยต์ อ่ ตา้ นขา่ วปลอม ประเทศไทย เปิ ดเผยวา่ ตามท่ีไดม้ ี
การเผยแพร่ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ประเด็นเร่ือง มองหนา้ จอสมารท์ โฟน แท็บเลต
คอมพวิ เตอร์ เป็ นเวลานาน ทาใหเ้ กดิ ภาวะโรคสายตาสน้ั เทียมได้ ทางศนู ย์
ตอ่ ตา้ นขา่ วปลอมไดด้ าเนนิ การตรวจสอบขอ้ เท็จจริงโดย กรมการแพทย์
กระทรวงสาธารณสขุ พบวา่ ประเด็นดงั กลา่ วนนั้ เป็ นขอ้ มลู จริง
และเพ่ือใหป้ ระชาชนไดร้ บั ขอ้ มลู ขา่ วสารจากกรมการแพทย์ สามารถติดตาม
ไดท้ ี่ www.dms.go.th หรือโทร 02 5906000
หนว่ ยงานที่ตรวจสอบ : กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ

21

วิธีป้ องกนั

6. ทกั ษะในการบริหาร 22
จดั การขอ้ มลู ที่ผใู้ ชง้ านมี
การท้ิงไวบ้ นโลกออนไลน์

(Digital Footprints)

สามารถเขา้ ใจธรรมชาตขิ องการใชช้ วี ิตในโลกดจิ ิทลั ว่าจะหลงเหลือร่อยรอย
ขอ้ มลู ทิ้งไวเ้ สมอ รวมไปถึงเขา้ ใจผลลพั ธท์ ่อี าจเกดิ ขน้ึ เพื่อการดแู ลสง่ิ เหลา่ น้ี
อยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบรอยเทา้ ดจิ ทิ ลั (Digital Footprints) คืออะไร
รอยเทา้ ดจิ ิทลั คือ คาท่ีใชเ้ รียกรอ่ งรอยการกระทาตา่ งๆ ท่ผี ใู้ ชง้ านทง้ิ รอย
เอาไวใ้ นโลกออนไลน์ โซเชยี ล มเี ดยี เว็บไซตห์ รือโปรแกรมสนทนา
เชน่ เดยี วกบั รอยเทา้ ของคนเดนิ ทาง ขอ้ มลู ดจิ ทิ ลั เชน่ การลงทะเบียน อีเมล
การโพสตข์ อ้ ความหรือรปู ภาพ เมอื่ ถกู สง่ เขา้ โลกไซเบอรแ์ ลว้ จะท้ิงร่อยรอย
ขอ้ มลู สว่ นตวั ของผใู้ ชง้ านไวใ้ หผ้ อู้ ่ืนตดิ ตามไดเ้ สมอ แมผ้ ใู้ ชง้ านจะลบไปแลว้
ดงั นน้ั หากเป็ นการกระทาที่ผดิ กฎหมาย หรือศีลธรรม ก็อาจมผี ลกระทบ
ตอ่ ชอ่ื เสยี งและภาพลกั ษณข์ องผกู้ ระทา กลา่ วงา่ ยๆ รอยเทา้ ดจิ ิทลั คือ
ทกุ ส่งิ ทกุ อยา่ งในโลกอนิ เทอรเ์ น็ตที่บอกเร่ืองของเรา เชน่

23

เร่ืองนสี้ าคญั มากๆเมอื่ รปู แบบการเก็บขอ้ มลู เปล่ียนมาเป็ นระบบดจิ ทิ ลั ขอให้
ทกุ คนจงตระหนกั ไวเ้ ลยวา่ ขอ้ มลู ทกุ สิ่งทกุ อยา่ งท่อี ยใู่ นระบบดิจทิ ลั สว่ นใหญ่
มนั จะคงอยตู่ ลอดไป แมเ้ ราจะลบขอ้ มลู ตน้ ทางของเราออกไปแลว้ แตโ่ พสตน์ น้ั
อาจจะถกู กอ๊ บปี้ และนาไปแชรต์ อ่ แลว้ โดยทนั ทกี ็เป็ นได้ ซ่ึงเมื่อถึงจดุ นนั้ ขอ้ มลู
เหลา่ นน้ั ก็จะคงอย่บู นโลกออนไลนต์ ลอดไป ไมเ่ พยี งแตก่ ารโพสตข์ องเรา
เทา่ นนั้ อยา่ ลมื วา่ ในยคุ นที้ กุ เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขน้ึ ในชวี ิตประจาวนั สามารถถกู
บนั ทกึ ไดห้ มดทงั้ โดยกลอ้ งวงจรปิ ดท่ีมอี ยรู่ อบตวั และกลอ้ งสมารท์ โฟนทม่ี อี ยู่
รอบดา้ นดว้ ยเชน่ กนั เรามกั จะเห็นตามขา่ วอย่บู อ่ ยๆเมอื่ มกี รณีขอ้ ขดั แยง้ กนั
ก็จะมกี ารถ่ายคลิบมาแชรใ์ หเ้ ป็ นเรื่องเป็ นขา่ ว และถา้ เรื่องนน้ั เป็ นเรื่องของเรา
ท่ีเราเกดิ พลาดทาในเรื่องท่ขี าดสตอิ อกไปเพยี งชว่ งเวลาสน้ั ๆ จนทาใหค้ นอื่น
ในสงั คมเดอื ดรอ้ น และก็จะสง่ ผลกระทบกลบั มาทีต่ วั เราทง้ั ในเร่ืองหนา้ ทกี่ าร
งาน หรือการใชช้ วี ิตประจาวนั ดว้ ยเชน่ กนั อย่างทมี่ ใี หเ้ ห็นกันบอ่ ยๆตามขา่ ว
เชน่ กรณี “กราบรถก”ู เป็ นตน้ ซึ่งบทสรปุ ก็คือตอ้ งถกู ใหอ้ อกจากงานตามมา
ดว้ ยคดคี วามตา่ งๆอีกดว้ ย

24

25

กระแสขา่ ว "กราบรถก"ู ที่ถาโถมเขา้ มาในหว้ งเวลา 24 ชวั่ โมง ทา
ใหผ้ เู้ ขยี นอยากชวนผอู้ า่ นวิเคราะหไ์ ปพรอ้ มๆ กนั วา่ อ่านขา่ วน้ี
แลว้ เราไดอ้ ะไร?
วนั น้ี (7 พ.ย.59) หลงั จากวลีเด็ด “กราบรถก”ู ของน็อต-อคั ร
ณฐั อริยฤทธิ์วิกลุ กลายเป็ นกระแสท่ีโดง่ ดงั ในโลกโซเชยี ลมเี ดยี
สามารถใชเ้ ป็ นบทเรียนสาคญั ในการใชช้ วี ิตในโลกออนไลนข์ องคน
ไทยหลายคนได้

(อา่ นขา่ ว : จติ แพทยแ์ นะกาจดั จดุ ออ่ น “เส้ียวนาที” แห่งความ
โกรธ กอ่ นทกุ อยา่ งพงั ทลาย )

26
7. ทกั ษะในการรบั มอื กบั การ
กลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์

(Cyberbullying Management)

การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอรค์ อื การใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเป็ นเคร่ืองมอื หรือชอ่ งทาง
เพือ่ กอ่ ใหเ้ กดิ การคกุ คามลอ่ ลวงและการกลนั่ แกลง้ บนโลกอินเทอรเ์ น็ตและสือ่
สงั คมออนไลน์ โดยกลมุ่ เป้ าหมายมกั จะเป็ นกลมุ่ เด็กจนถึงเด็กวยั ร่นุ การกลนั่
แกลง้ บนโลกไซเบอรค์ ลา้ ยกนั กบั การกลนั่ แกลง้ ในรปู แบบอน่ื
หากแตก่ ารกลนั่ แกลง้ ประเภทนจ้ี ะกระทาผา่ นสื่อออนไลนห์ รือสือ่ ดจิ ทิ ลั เชน่
การสง่ ขอ้ ความทางโทรศพั ท์ ผกู้ ลนั่ แกลง้ อาจจะเป็ นเพ่อื นรว่ มชน้ั คนรจู้ กั ใน
สอ่ื สงั คมออนไลน์ หรืออาจจะเป็ นคนแปลกหนา้ ก็ได้ แตส่ ว่ นใหญผ่ ทู้ กี่ ระทาจะ
รจู้ กั ผทู้ ี่ถกู กลนั่ แกลง้

รปู แบบของการกลนั่ แกลง้ มกั จะเป็ น

27

และกอ่ นท่ีเราจะอยใู่ นสงั คมออนไลนเ์ วลาถกู ตอ่ ว่า ถกู ลอ้
ถกู ตาหนิ ก็จะเป็ นไปเฉพาะในวงแคบ ซึ่งโดยมากก็จะเป็ นคนท่ีเรา
รจู้ กั ซึ่งเร่ืองราวท่ีคนเหลา่ นนั้ พดู ก็มกั จะมที ้ังจริงและไมจ่ ริง แต่
การรบั มอื กบั เร่ืองเหลา่ นกี้ ็ไมย่ ากนกั เพราะเราจะรจู้ ักตวั ตนของคน
ที่กระทาตอ่ เรา สามารถอธบิ ายทาความเขา้ ใจกนั ได้ แตใ่ นโลกของ
สงั คมออนไลนน์ น้ั ตอ้ งยอมรบั กนั กอ่ นเลยวา่ ยากที่จะควบคมุ
เพราะผคู้ นที่จะกระทากบั เรานนั้ มาจากทวั่ ทกุ สารทิศ มีทงั้ ตอ่ วา่
ตาหนิ สรา้ งเร่ืองเท็จ และ อ่ืนๆอีกมากมาย ซ่ึงสิง่ ที่เกิดขนึ้ นเ้ี รียก
กนั ว่า Cyberbullying หรือ การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์

28

ตวั ยา่ ง

เคยมกี รณี เด็กผหู้ ญิง อายุ 11 ปี ไปเลน่ อินเทอรเ์ น็ตที่รา้ นแลว้ ลมื ออกจาก
บญั ชกี ารใชง้ านเฟซบกุ๊ ทาใหม้ คี นสวมรอยใชเ้ ฟซบกุ๊ ของเธอ ไปโพสตข์ อ้ มลู
ตามกลมุ่ สนทนาท่ีขายบริการทางเพศ มเี นอ้ื หาเชงิ เชญิ ชวนวา่ ‘สาววยั ใสวยั
ประถมยงั ไมเ่ คยเสยี สาว สนใจตดิ ตอ่ ผา่ นอินบ็อกซเ์ ฟซบกุ๊ น’้ี ดว้ ยความทีเ่ ธอ
ไมร่ เู้ รื่อง พอมคี นแอดเฟรนดม์ าก็รบั เลย เนอ่ื งจากไมไ่ ดค้ ดิ ถึงอันตรายหรือภยั
ตา่ งๆ คดิ แคอ่ ยากมเี พื่อนเยอะๆ ตอ่ มาปรากฎว่าสว่ นใหญ่จะเป็ นผชู้ ายสง่
ขอ้ ความมาหา ซึ่งตอนแรกก็คยุ ดๆี ปกตธิ รรมดา สกั พกั ก็ถามวา่ อย่ทู ี่ไหน
เคยรึยงั ขอเบอรโ์ ทรตดิ ตอ่ หนอ่ ยจะนดั ขน้ึ หอ้ ง ทาให้ เธอกลวั มากแตโ่ ชคดที ี่
เธอมสี มั พนั ธภาพกบั พอ่ แมค่ ่อนขา้ งดี จงึ เลา่ ใหผ้ ปู้ กครองฟังว่าเกิดอะไรขน้ึ
แมก่ ็รบั ฟัง และชว่ ยกนั รบั มอื กบั การกลนั่ แกลง้ บนโลกออนไลนน์ ้ี

วิธีป้ องกนั 29

การรบั มอื กบั การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์

อนั ดบั แรกเราตอ้ งเขา้ ใจธรรมชาตขิ องโลกไซเบอรก์ อ่ นว่า เป็ นโลกแห่งการ
ส่ือสารไรพ้ รหมแดน ทกุ คนสามารถมาตดิ ตอ่ กบั เราไดห้ มด และสว่ นใหญ่จะ
เป็ นคนทีไ่ มร่ จู้ กั เรา และ เราก็ไมร่ จู้ กั พวกเขา ไมม่ คี วามสมั พันธใ์ ดๆตอ่ กนั ไมร่ ู้
เร่ืองราวใดๆของกนั และกนั คอมเมนทต์ า่ งๆเกิดจากการคอมเมนทต์ ามๆกนั
มา ขน้ึ กบั วา่ คนกลมุ่ แรกจะคอมเมนทไ์ ปในทิศทางไหน และขอ้ ความท่ีคอม
เมนทส์ ว่ นใหญก่ ็ออกมาจากทศั นคตคิ วามคดิ ของแตล่ ะคน ซ่ึงมขี อ้ เท็จจริง
นอ้ ยมาก และคนเหลา่ นน้ั ไมไ่ ดม้ คี วามสาคญั กบั ชวี ิตเราเลย บางคนแคม่ าพมิ พ์
ทิ้งไวแ้ ลว้ ก็ไมไ่ ดก้ ลบั มาสนใจกบั คอมเมนทน์ นั้ อีกเลย แตถ่ า้ เรานาทกุ คอม
เมนทม์ าคดิ หรือ ไปตอบแกต้ า่ งทกุ คอมเมนทก์ ็จะทาใหเ้ ราเครียดโดยใชเ่ หตุ

วิธีการรบั มอื กบั เร่ืองนอี้ ยา่ งชาญฉลาดทส่ี ดุ คอื การไมไ่ ปตอบโตใ้ ดๆ หรือ
ตอบโตใ้ หน้ อ้ ยท่ีสดุ แลว้ ไมน่ านเร่ืองก็จะเงยี บหายไป เพราะบนโลกออนไลนม์ ี
กระแสเร่ืองใหมๆ่ เกิดขน้ึ ทกุ ชวั่ โมง ถา้ ย่ิงตอบโตก้ นั ไปมาเร่ืองของเราก็จะย่ิง
อย่กู ระแสตอ่ ไปอีกนานมากขนึ้ แตห่ ากมผี ลกระทบกบั ชอ่ื เสยี งของเรา ก็ใหเ้ ก็บ
รวบรวมหลกั ฐานเอาไวแ้ ละก็ดาเนนิ คดตี ามกฎหมายเพื่อพสิ จู นค์ วามจริงกนั
ในชนั้ ศาล

30

8. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีอย่าง
มจี ริยธรรม

(Digital Empathy)

มคี วามเห็นอกเห็นใจ และสรา้ งความสมั พนั ธท์ ่ดี กี บั ผอู้ ่ืนบนโลกออนไลน์ แมจ้ ะ
เป็ นการสอ่ื สารที่ไมไ่ ดเ้ ห็นหนา้ กนั มปี ฏิสมั พนั ธอ์ นั ดตี อ่ คนรอบขา้ ง ไมว่ า่ พ่อแม่
ครู เพอ่ื นทงั้ ในโลกออนไลนแ์ ละในชวี ิตจริง ไมด่ ว่ นตดั สินผอู้ ื่นจากขอ้ มลู
ออนไลนแ์ ตเ่ พียงอย่างเดยี ว และจะเป็ นกระบอกเสียงใหผ้ ทู้ ่ตี อ้ งการความ
ชว่ ยเหลอื

คดิ กอ่ นจะโพสตล์ งสงั คมออนไลน์ (Think Before You Post)

ใครค่ รวญกอ่ นที่จะโพสตร์ ปู หรือขอ้ ความลงในสอ่ื ออนไลน์ ไมโ่ พสตข์ ณะกาลงั
อย่ใู นอารมณโ์ กรธ สื่อสารกบั ผอู้ ื่นดว้ ยเจตนาดี ไมใ่ ชว้ าจาท่สี รา้ งความเกลียด
ชงั ทางออนไลน์ ไมน่ าลว้ งขอ้ มลู สว่ นตวั ของผอู้ ื่น ไมก่ ลนั่ แกลง้ ผอู้ ื่นผา่ นสื่อ
ดจิ ทิ ลั โดยอาจตง้ั ความถามกบั ตวั เองกอ่ นโพสตว์ ่า

I – is it illegal?
เร่อื งท่ีจะโพสตผ์ ิด
กฎหมำยหรอื ไม่

H – is it hurtful? N – is it necessary?
เรอ่ื งท่ีจะโพสตท์ ำ เร่อื งท่ีจะโพสตม์ ีสำระ
ใครเดือดรอ้ นหรอื ไม่ หรอื ควำมจำเป็นหรอื ไม่

T – is it true ? K – is it kind?
เรอ่ื งท่ีจะโพสตเ์ ป็น เรอ่ื งท่ีจะโพสต์
เรอ่ื งจรงิ หรอื ไม่ มีเจตนำดหี รอื ไม่

31

32

สงั คมบนโลกออนไลนเ์ ป็ นสงั คมแห่งการส่ือสารไรพ้ รหมแดน
ทาใหเ้ ราสามารถตดิ ตอ่ กบั คนไดท้ งั้ โลกสามารถรบั รเู้ รื่องราว
ตา่ งๆของคนอื่นๆไดต้ ลอดเวลา ดงั นน้ั เราก็ควรจะพฒั นาใน
เร่ืองของการมมี นษุ ยส์ มั พนั ธท์ ี่ดกี บั คนบนโลกออนไลน์ รจู้ กั
เห็นอกเห็นใจผอู้ ่ืนถึงแมจ้ ะไมร่ จู้ กั กนั คอมเมนทใ์ หก้ นั และกนั ใน
เชิงสรา้ งสรรค์ ใหก้ าลงั ใจกนั และเมอื่ เห็นผทู้ ่ีเดอื ดรอ้ น
ตอ้ งการความชว่ ยเหลือเราก็สามารถใชเ้ ทคโนโลยีการสอื่ สาร
ในส่ือสงั คมออนไลนต์ า่ งๆเป็ นกระบอกเสยี งเพ่อื ใหเ้ กิดความ
ชว่ ยเหลอื ซึ่งกนั และกนั ได้

33

อย่างเชน่ เมอื่ เกดิ เหตกุ ารไฟป่ าท่อี อสเตรเลยี ส่อื สงั คมออนไลนก์ ็เป็ นหนงึ่
ชอ่ งทางทีส่ าคญั ในการระดมความชว่ ยเหลือจากคนทงั้ โลก ทง้ั ในเรื่องของเงนิ
บริจาค ส่ิงของ วิทยาการ หรือแมแ้ ตก่ าลงั คนจากทวั่ ทกุ มมุ โลกเพ่ือชว่ ยให้
สามารถผา่ นพน้ อปุ สรรคปัญหาตา่ งๆไปไดด้ ว้ ยดี

แมแ้ ตใ่ นเมอื งไทยเองก็เชน่ กนั เมอื่ มเี หตกุ ารภยั พิบตั นิ า้ ทว่ มท่ี จ.อบุ ลราชธานี
เราก็จะไดเ้ ห็นการประชาสมั พนั ธผ์ า่ นสอ่ื สงั คมออนไลน์ จนเกิดธารนา้ ใจ
หลงั่ ไหลชว่ ยกนั บริจาคเงนิ ไดเ้ ป็ นจานวนนบั รอ้ ยๆลา้ นบาท นกี่ ็คอื หนงึ ใน
ตวั อย่างการใชเ้ ทคโนโลยีอย่างมจี ริยธรรม ใชเ้ พ่ือใหเ้ กิดสาธารณประโยชนก์ บั
คนใสสงั คม

34

วิธีป้ องกนั

ส่งิ ท่เี ราตอ้ งพึงระวงั

ในเรื่องของการใหค้ วามชว่ ยเหลือกบั ผคู้ นทไ่ี ดร้ บั ความ
เดอื ดรอ้ นผา่ นโลกออนไลน์ เพราะมกั จะมมี จิ ฉาชพี แอบ
แฝงมาหาผลประโยชนก์ บั ความมนี า้ ใจของคนอ่ืนๆดว้ ย
เชน่ กนั ดงั นน้ั เมอื่ เห็นขา่ วสารตา่ งๆที่มคี นรอ้ งขอความ
ชว่ ยเหลือบนโลกออนไลน์ ก็ขอใหต้ รวจสอบขอ้ มลู ใหร้ อบ
ดา้ นกอ่ นว่าเป็ นเรื่องจริง หรือเป็ นเร่ืองของมิจฉาชพี ที่มา
หลอกลวง เพ่ือท่จี ะไดไ้ มต่ กเป็ นเหย่ือของมจิ ฉาชีพในทกุ ๆ
กรณี

35

สรปุ

ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั เป็ นทกั ษะท่ีสาคญั สาหรบั
นกั เรียน บคุ คลทวั่ ไป โดยเฉพาะสาหรบั ครู ทกุ คนควรไดร้ บั การ
ปลกู ฝัง การใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งรอบคอบในการสอ่ื สารในโลก
ออนไลนเ์ ป็ นอยา่ งยิ่ง ทง้ั เอกลกั ษณพ์ ลเมอื งดจิ ิทลั การบริหาร
จดั การเวลาบนโลกดจิ ิทลั การจดั การการกลนั่ แกลง้ บนไซเบอร์
การจดั การความปลอดภยั บนระบบเครือขา่ ย การจดั การความ
เป็ นสว่ นตวั การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ รอ่ งรอยทางดิจิทลั
ความเห็นอกเห็นใจและสรา้ งสมั พนั ธภาพท่ีดกี บั ผอู้ ่ืนทางดจิ ิทลั

บคุ คลที่มที กั ษะและความสามารถทงั้ 8 ประการ จะ
ทาใหบ้ คุ คลนน้ั มคี วามสามารถในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตในการ
บริหารจดั การ ควบคมุ กากบั ตน รผู้ ดิ รถู้ กู และรเู้ ทา่ ทนั เป็ น
บรรทดั ฐานในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั อยา่ งเหมาะสม เรียนรทู้ ี่จะ
ใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งชาญฉลาด ถกู ตอ้ งและปลอดภยั

36

เอกสารอา้ งอิง

ดร.สรำนนท์ อินทนนท์ มกรำคม 2563 เรอื่ งควำมฉลำดทำงดิจทิ ัล (DQ
Digital Intelligence) http://cclickthailand.com/wp-
content/uploads/2020/04/dq_FINAL.pdf

ฉตั รพงศ์ ชูแสงนลิ ธันวำคม 2561 ยคุ แห่งพลเมืองดจิ ทิ ลั
https://www.scimath.org/article-technology/item/8659-
2018-09-11-07-58-08

สถำบันสอื่ เดก็ และเยำวชน. (2561). กำรจัดท ำ Fact Sheet‘ควำมฉลำด
ทำงดจิ ิทัล’ (Digital Intelligence :
DQ) และกำรศกึ ษำกำรรงั แกกนั บนโลกไซเบอร์ของวัยรุ่น.
กรุงเทพมหำนคร : สถำบันสือ่ เด็กและ เยำวชน

Yuhyun Park. (2016). 8 digital skills we must teach our
children. Retrieved March 8, 2017,
https://www.weforum.org/agenda/2016/06/8-digital-skills-
we-must-teach our-children

ครลู ภสั ภำส์ หริ ินทรำนกุ ลู July 2018 ควำมเป็นพลเมืองดจิ ิตอล
(Digital Citizenship) http://www.mtrs.ac.th/krupu/week-10/

37

เสนออาจารยผ์ สู้ อน

จดั ทาโดย

นางสาววารศิ า สนิ ธวุ งษ์
ป.บณั ฑิตวิชาชีพคร ู รน่ ุ ที่ 23

เลขที่ 11 หมู่ 4
มหาวิทยาลยั ราชภฏั หม่บู า้ นจอมบึง


Click to View FlipBook Version