The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายนาคนครา เหลนปก, 2021-06-19 11:07:08

วัสดุในชีวิตประจำวัน

1

หนว่ ยที่ 1
วสั ดแุ ละเคร่อื งมือชา่ งพ้ืนฐาน

หวั ขอ้ : วัสดใุ นชีวิตประจาวนั

วัสดุและเคร่ืองมอื ชา่ งพ้ืนฐาน

บทเรยี น จดุ ประสงค์ของการเรยี นรู้
หวั ขอ้ ท่จี ะศึกษา
1. วิเครำะหส์ มบัติของวัสดแุ ละเครื่องมอื ชำ่ งท่ใี ช้ในกำรสรำ้ งช้นิ งำน
• วสั ดใุ นชวี ติ ประจำวัน 2. เลือกใชว้ ัสดุและเครื่องมือชำ่ งในกำรสรำ้ งช้นิ งำนได้อย่ำงเหมำะสมกับ
• เครอ่ื งมือช่ำงพ้ืนฐำน
ลักษณะของงำนและคำนงึ ถึงควำมปลอดภัย
ประตู
การนาไปใช้

ประตูท่ีเรำใช้กันท่ัวไปสร้ำงจำกวัสดุหลำยประเภท
เช่น ไม้ พลำสติด แต่ละส่วนของประตูก็สร้ำงจำกวัสดุท่ีแตกต่ำง
กัน เช่น บำนประตูทำจำกไม้ ลูกบิดและสลักเป็นโลหะ ทั้งน้ี
เนอ่ื งจำกสมบตั ขิ องวัสดทุ ีแ่ ตกต่ำงกันจึงทำใหม้ ีควำมเหมำะสมใน
กำรนำมำใช้งำนที่แตกต่ำงกันด้วย กำรเลือกอุปกรณ์หรือ
เคร่ืองมือที่ใช้สร้ำงหรือประกอบชิ้นส่วนของประตูก็ต้องเลือกให้
เหมำะสมกับประเภทของวัสดแุ ละกำรทำงำนอยำ่ งปลอดภัย

วัสดุและเครอื่ งมือช่างพื้นฐาน การนาไปใช้

ชวนคดิ

เพราะเหตุใดส่ิงของเครื่องใช้
จงึ ทามาจากวัสดุหลายชนิด ?

วสั ดแุ ละเครือ่ งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน

ทบทวนความรูก้ อ่ นเรียน

นักเรียนทรำบแล้วว่ำ วัสดุมีหลำยประเภท แต่ละประเภทมีสมบัติบำงประกำรที่เหมือนกันและแตกต่ำงกัน เช่น ควำมแข็ง ควำม
เหนียว สภำพหยืดหยุ่น กำรนำควำมร้อน กำรนำไฟฟ้ำ กำรเลือกวัสดุมำใช้งำนหรือสร้ำงส่ิงของเครื่องใช้ ต้องพิจำรณำสมบัติของวัสดุให้
เหมำะสมกับกำรใช้งำนและเลือกใช้เครื่องมอื ชำ่ งใหเ้ หมำะสมกบั ประเภทของวสั ดุ กำรใชง้ ำนและคำนงึ ถึงควำมปลอดภัย

วสั ดุในชวี ิตประจาวนั

สิ่งของเครื่องใช้ต่ำง ๆ สร้ำงขึ้น
จำกวัสดุหลำกหลำยประเภท วัสดุแต่ละ
ประเภทมีสทมบัติท่ีแตกต่ำงกัน กำรเลือกใช้
วัสดุให้ถูกต้องและเหมำะสมจึงมีควำมสำคัญ
ต่อกำรออกแบบและสรำ้ งสง่ิ ของเคร่อื งใช้

วสั ดุและเคร่ืองมอื ช่างพ้นื ฐาน

ตัวอย่างเชน่

เก้ำอ้ีที่เรำใช้มีท้ังที่ผลิตจำกไม้ พลำสติก โลหะ และวัสดุอ่ืน ๆ ซึ่งมีสมบัติและลักษณะกำรใช้งำน รวมท้ังวิธีกำรเก็บรักษำท่ีแตกต่ ำงกัน
ออกไป ดังตำรำงเปรยี บเทยี บสมบตั แิ ละกำรใช้งำนเก้ำอท้ี ผี่ ลิตมำจำกวสั ดทุ แ่ี ตกตำ่ งกัน

การเปรยี บเทยี บสมบัติและการใชง้ านเก้าอีท้ ี่ผลติ จากวัสดทุ ี่แตกต่างกัน

เก้าอี้ ประเภทของ ความ นา้ หนัก อายกุ ารใช้งาน/ความ การทาความ การใชง้ าน
วสั ดุ แขง็ คงทนต่อสภาพอากาศ สะอาด

ไม้ มำก หนกั ไม่ทนต่อควำมชนื้ ยำก ใช้งำนภำยในอำคำร
เกดิ เช้อื รำได้ง่ำย

พลำสตกิ ปำน เบำ ทนตอ่ สภำพอำกำศ ง่ำย ใชง้ ำนได้ทง้ั ภำยในและ
กลำง ถ้ำโดนแสงแดดเปน็ เวลำนำน ภำยนอกอำคำร สะดวกใน
กำรเคล่ือนย้ำยและจัดเกบ็
ทำใหแ้ ตกเปรำะงำ่ ย

โลหะ (สเตนเลส) มำก หนกั ทนตอ่ สภำพอำกำศทง้ั ควำม งำ่ ย ใช้งำนไดท้ ้งั ภำยในและ
ชน่ื และแสงแดด ภำยนอกอำคำร

วสั ดแุ ละเครื่องมอื ช่างพน้ื ฐาน
ระดมความคดิ

จาน/ชาม ประเภทของ ความ นา้ หนกั อายุการใชง้ าน/ความ การทา การใช้งาน
วัสดุ แข็ง คงทนตอ่ สภาพอากาศ ความ
สะอาด

วสั ดแุ ละเครอ่ื งมอื ช่างพื้นฐาน

วสั ดุทีน่ ามาทาสง่ิ ของเคร่ืองใชท้ ่เี ราพบเจอในชวี ิตประจาวัน

ไม้ ยาง

โลหะ พลาสตกิ

มีสมบัตแิ ละการนาไปใช้งานทแี่ ตกต่างกนั ดงั น้ี

วสั ดุและเครอื่ งมอื ชา่ งพืน้ ฐาน

ไม้ (wood) คือ วัสดุธรรมชำติท่ีได้มำจำกลำต้นของต้นไม้ ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นไม่ยืนต้น ไม้
สำมำรถนำมำใชป้ ระโยชนไ์ ด้หลำกหลำย เพรำะมีควำมแข็งแรง ทนทำน ต้ำนทำนไฟฟ้ำ
ไม่เป็นสนิม มีรูปร่ำงคงตัว มีผิวเรียบ มีกล่ินและลวดลำยท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพำะตัว แต่
ถ้ำไดร้ บั ควำมชื้นเป็นเวลำนำนอำจบวมผดิ รูปหรือผุได้

แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไมธ้ รรมชาติหรอื ไมจ้ ริง (ไhมaเ้ rนdอื้wแoขodง็ )
(ไsมoเ้ fนtw้ือoอoอ่ dน)
(natural wood or solid wood) (plไaมyw้อัดood)
(orienteไมdอ้ Sดั traOnSdBBoard)
ไมป้ ระกอบ (ไpมaป้ rtาiตclิเeคbลิ oบaอrรdด์)

(processed wood)

วสั ดุและเครอ่ื งมอื ชา่ งพืน้ ฐาน

(natural wood or solid wood)

ไม้ธรรมชาตหิ รือไม้จรงิ คือ ไมท้ ่มี ำจำกลำตน้ ของไมโ้ ดยตรง

ไมเ้ น้อื แขง็ สมบตั ิ : แข็งแรงทนทำน มนี ำ้ หนักมำก เนือ้ แน่นและมัน ลำยเน้ือไม้ละเอยี ด มีสีเข้ม (แดงถงึ ดำ)
การใช้งาน : คำน โครงหลังคำบ้ำน พ้ืน ฝำ บ้ำน ประตู หน้ำต่ำง เฟอร์นิเจอร์ ของใช้ในครัวเรือน
(hardwood) เคร่อื งดนตรีไทย

ไมเ้ น้อื อ่อน สมบัติ : เนื้อไม้ค่อนข้ำงเหนียว น้ำหนักเบำใช้งำนง่ำย แต่ไม่แข็งแรงมำกจึงรับน้ำหนักได้ไม่ดี มี
ตง้ั แตส่ ีจำงออ่ นไปถึงสีเขม้
(softwood) การใช้งาน : ประตู หน้ำต่ำง เฟอร์นิเจอร์ ของใช้ต่ำง ๆ กล่องใส่งำนวัสดุ งำนตกแต่ง เครื่องดนตรี
ไทย

วสั ดแุ ละเครอ่ื งมอื ชา่ งพืน้ ฐาน

(processed wood) คือ ไมท้ ไ่ี ดจ้ ำกกำรนำชิน้ สว่ นไมม้ ำต่อรวมกันดว้ ยกระบวนกำรตำ่ ง ๆ

ไมป้ ระกอบ

(plไaมywอ้ ดัood) สมบัติ : แข็งแรง ไมย่ ืดหรอื ไม่หดตวั เมอื่ ควำมชื้นเปลยี่ นไป
การใชง้ าน : ผนงั บำ้ น เฟอรน์ เิ จอร์ประเภทโตะ๊ เกำอ้ี ตู้เกบ็ ของ

(orienteไมd้อSดั traOnSdBBoard) สมบตั ิ : แข็งแรง เหนียว ทนควำมชืน้ และเชอ้ื รำ ใชง้ ำนงำ่ ย กำรขยำยตัวและหดตัวตำ่
(ไpมaป้ rtาiตclเิeคbลิ oบaอrรdด์) การใช้งาน : ตกแตง่ ภำยใน ฝำ้ พืน้ ผนงั เฟอร์นิเจอร์

สมบัติ : เหนียว น้ำหนักเบำ แต่ควำมแข็งแรงและควำมต้ำนทำนแมลง ปลวกและควำมช้ืนต่ำ อำยุ
กำรใช้งำนสนั้ กว่ำไม่อัด
การใช้งาน : ตกแตง่ ภำยใน เฟอรน์ ิเจอร์

วสั ดแุ ละเครอื่ งมือช่างพน้ื ฐาน

เกรด็ นา่ รู้ คือ วัสดุที่ทำมำจำกเยื่อไม้ มีน้ำหนักเบำ ใช้ประโยชน์ได้หลำกหลำย ท้ังสำหรับจด
กระดาษ (paper) บันทึก งำนพิมพ์ ประดิษฐ์สิ่งของ เคร่ืองใช้ ของเล่น บรรจุภัณฑ์ วัสดุก่อสร้ำง งำนศิลปะ งำน
ตกแต่ง สำมำรถย่อยสลำยได้ตำมธรรมชำติ แต่หำกโดนน้ำจะเปื่อยยุ่ยและขำดง่ำย ปัจจุบัน
กระดำษมีมำกมำยหลำยประเภท ดังตอ่ ไปนี้

กระดาษปรู๊ฟ กระดาษแขง็

กระดาษปอนด์ กระดาษลูกฟกู

วสั ดแุ ละเคร่อื งมือช่างพนื้ ฐาน

โลหะ (Metals) คือวัสดุที่ได้จำกกำรถลุงสินแร่ต่ำง ๆ โลหะที่นำมำใช้งำนส่วนใหญ่ จะผ่ำนกำร
ปรับปรุงสมบัติให้ดีขึ้นก่อนนำมำใช้งำน โลหะเป็นวัสดุที่นำมำใช้ประโยชน์อย่ำงกว้ำงขวำง
เน่ืองจำกมีสมบัติท่ีดี เช่น เป็นตัวนำควำมร้อนและนำไฟฟ้ำได้ดี มีควำมแข็งแรงสูง มีควำมคงทน
ถำวร ไม่เสื่อมสลำยหรือเปลี่ยนแปลงสภำพง่ำย เป็นวัสดุทึบแสง สำมำรถป้องกันไม่ให้แสงผ่ำน
ทนทำนต่อกำรกัดกร่อน มีควำมสวยงวำม ผิวของโลหะสำมำรถขัดให้เป็นเงำวำว สำมำรถตีเป็น
แผ่นบำงหรอื ดงึ ให้เป็นเส้นลวดได้

แบ่งออกเป็น 2 ประเภท (ferrous metals) 1. เหล็กกล้า (steel) 2. เหลก็ หลอ่ (cast Iron)

โลหะกล่มุ เหล็ก 1. อะลมู ิเนยี ม (Aluminium)
2. ทองแดง (Copper)
โลหะนอกกลมุ่ เหล็ก 3. สงั กะสี (Zinc) 4. ทองเหลือง (brass)

(non-ferrous metals)

วัสดแุ ละเครอ่ื งมอื ช่างพน้ื ฐาน

โลหะกลมุ่ เหลก็ คือ โลหะทีม่ เี หล็กเป็นส่วนประกอบหลกั แบ่งออกเปน็ เหล็กกลำ้ (steel) และเหล็กหลอ่ (cast
Iron) ซงึ่ มธี ำตุคำร์บอนผสมอยใู่ นปรมิ ำณที่ต่ำงกันตั้งแต่ 0.1% ไปจนถึง 4% คำรบ์ อนท่ีผสมลวในเหล็กมี
(ferrous metals) ผลต่อควำมแข็งและควำมเปรำะของเหล็ก โดยท่ัวไปโลหะกลุ่มเหล็กจะเกิดสนิมและมีสมบัติดูดติดกับ
แม่เหล็กได้ มีควำมแข็งแรงสงู สำมำรถปรับปรงุ คณุ ภำพและเปล่ียนแปลงรูปทรงโดยกำรกลึง เจำะ ไส รีด
เป็นแผ่นบำงได้ตำมท่ตี อ้ งกำร

1. เหลก็ กล้า (steel) สมบัติ : มคี วำมแขง็ แรงสงู เปลีย่ นแปลงรูปร่ำงไดง้ ่ำย เกิดสนมิ ได้ง่ำย
การใช้งาน : ของใช้ในครัวเรือน กระป๋องบรรจุภัณฑ์ ชิ้นส่วนอะไหล่ อุปกรณ์ เครื่องมือต่ำงๆ ลวด
กรรไกร ใบมดี โกน

2. เหลก็ หล่อ (cast Iron) สมบตั ิ : มคี วำมแข็งมำกแตเ่ ปรำะ มีควำมเหนยี วน้อย เกดิ สนมิ ได้ง่ำย
การใช้งาน : ของใช้ในครัว ชนิ้ ส่วนเคร่อื งจักร ฝำท่อระบำยนำ้ รวั้ ชน้ิ สว่ นรถยนต์

วสั ดแุ ละเครื่องมือช่างพ้ืนฐาน

โลหะนอกกลุ่มเหลก็ 1. อะลูมเิ นยี ม (Aluminium)

สมบัติ : น้ำหนักเบำ เปลยี่ นรปู ร่ำงได้งำ่ ย มสี เี ทำเงิน สะท้อนแสงได้ดี นำไฟฟ้ำและควำม
รอ้ นได้ดี
การใช้งาน : กรอบประตูหรือหน้ำต่ำง ฟอยล์ห่ออำหำร ส่วนประกอบของเครื่องบิน
กระป๋องนำ้ อดั ลม

2. ทองแดง (Copper)

คือ โลหะท่ีไม่มีเหล็กเป็นส่วนประกอบ สมบตั ิ : นำควำมรอ้ นและไฟฟ้ำไดด้ ี มสี นี ำ้ ตำลแดง ทนทำนตอ่ กำรกดั กร่อน
ดังน้ันโลหะประเภทน้ีจะไม่เกิดสนิมและ การใช้งาน : สำยไฟ เคเบิล อุปกรณ์สำหรับส่งน้ำ เคร่ืองประดับตกแต่ง เหรียญ
ไมด่ ดู ติดกับแมเ่ หล็ก กษำปณ์

วัสดแุ ละเครื่องมอื ช่างพืน้ ฐาน

โลหะนอกกลุม่ เหล็ก 3. สงั กะสี (Zinc)

คือ โลหะท่ีไม่มีเหล็กเป็นส่วนประกอบ สมบตั ิ : มคี วำมแขง็ แตเ่ ปรำะ มสี ีเงินมันวำว ทนตอ่ กำรกดั กร่อน
ดังน้ันโลหะประเภทนี้จะไม่เกิดสนิมและ การใชง้ าน : เคลือบโลหะเพือ่ ปอ้ งกันสนมิ และกำรกัดกร่อน
ไมด่ ดู ติดกับแม่เหลก็
4. ทองเหลือง (brass)

สมบตั ิ : มีควำมแขง็ แกรง่ มสี ีเหลอื งทอง นำไฟฟำ้ และควำมร้อนได้ดี
การใช้งาน : พำน แจกัน กอ๊ กนำ้ ลูกบิดประตู ขอ้ ตอ่ เคร่อื งจักร เครอื่ งดนตรี

เกร็ดนา่ รู้ เ ห ล็กกล้าไร้สนิ มห รือ ส เ ตน เ ล ส
(stainless steel) เป็นเหล็กกล้ำที่มำ
กำรเตมิ ธำตุโครเมยี ม (Chromium: Cr)
ลงไปผสม เพ่ือให้มีสมบัติต้ำนทำนกำร
กัดกรอ่ นหรอื กำรเกิดสนทิ

วสั ดุและเคร่ืองมือชา่ งพ้ืนฐาน

เกรด็ นา่ รู้

กังหันนา้ ชยั พัฒนา

รู้หรือไม่ กังหันน้าชัยพัฒนา สร้างมา
จากวสั ดุประเภทใด

จำกหลักกำรทำงำนของ
กังหันน้ำชัยพัฒนำ ที่ต้องลอยอยู่บน
ผิวน้ำ และอำศัยกำรหมุนของกังหัน
ซองตักวิดน้ำเพ่ือเติมออกซิเจนหรือ
อำกำศในน้ำ กังหันน้ำชัยพัฒนำจึง
สร้ำงมำจำกวัสดุประเภทโลหะสเตน
เลส ซึ่งมีควำมแข็งแรง ทนทำนต่อกำร
ใช้งำน และต้ำนทำนกำรกัดกร่อนหรือ
กำรเกิดสนิม

วัสดแุ ละเคร่อื งมอื ชา่ งพ้นื ฐาน

พลาสตกิ (plastics)

1. เทอร์โมพลาสติก

(thermoplastics)

คือ วัสดุสังเครำะห์ท่ีมนุษย์สร้ำงข้ึน 2. เทอร์โมเซตตง้ิ พลาสตกิ
ส่วนใหญ่เป็นผลผลิตท่ีได้จำกกำรกลั่นน้ำมันดิบ
ปัจจุบันพลำสติกนำมำใช้สร้ำงส่ิงเคร่ืองใช้มำกมำย (thermosetting plastics)
และมีบทบำทอย่ำงย่ิงต่อกำรดำเนินชีวิตประจำวัน
ของทกุ คน

วสั ดแุ ละเคร่ืองมอื ชา่ งพน้ื ฐาน

1. เทอรโ์ มพลาสตกิ พลำสติกประเภทนี้เมื่อได้รับควำมร้อนจะอ่อนตัวและเปล่ียนรูปร่ำงได้ เม่ือเย็นลงจะแข็งตัว ถ้ำให้
ควำมร้อนอีกจะอ่อนตัว ดังน้ันจึงสำมำรถทำให้กลับเป็นรูปเดิมหรือเปล่ียนรูปได้ซ้ำไปมำหลำยคร้ัง
(thermoplastics) โดยไมท่ ำลำยโครงสรำ้ งเดิม ทนต่อแรงดึงได้สูง
สมบัติ : ทนต่อแรงดึงได้สูง สำมำรถหลอมให้อ่อนตัวและแข็งตัวเมื่อเย็นลงได้หลำยคร้ัง จึงนำ
กลบั มำผ่ำนกระบวนกำรผลิตเพ่ือใชง้ ำนใหมไ่ ด้
การใช้งาน : ถุงใส่ของ ขวดน้ำ จำน ช้อนส้อม ขนแปรงสีฟัน สำยยำง เชือก กระเป๋ำ รองเท้ำ ไม่
บรรทดั ถงั ขยะ ของเล่นเด็ก บรรจุภณั ฑ์ พลำสติกลกู ฟกู วสั ดตุ กแตง่ บำ้ น

พอลิเอทิลนี อะครลิ ิก

พอลไิ วนลิ คลอไรด์ (พวี ซี )ี พอลสิ ไตรนี

วสั ดุและเคร่ืองมือช่างพื้นฐาน

เกรด็ นา่ รู้ โฟม (foam)

ที่เรำใช้กันท่ัวไป เช่น ถำด
หรือกลอ่ งโฟมบรรจอุ ำหำร กล่องโฟม
บรรจุภัณฑ์ต่ำง ๆ โฟมแผ่น ผลิตจำก
เทอร์โมพลำสติกประเภทพอลิสไตรีน
ท่ีผ่ำนกระบวนกำรใช้สำรท่ีทำให้
พลำสติกขยำยตัวและนำไปข้ึนรูป ทำ
ให้โฟมสำมำรถรับแรงกระแทกได้ดี
จึงเหมำะสำหรับใช้บรรจุสินค้ำ และ
ยังคงเป็นฉนวนรักษำควำมร้อนและ
ควำมเน็นไดอ้ ีกดว้ ย

วสั ดแุ ละเครอื่ งมือช่างพนื้ ฐาน

2. เทอร์โมเซตตงิ้ พลาสติก พลำสติกประเภทนี้มีควำมแข็งแรง ทนทำนต่อกำรเปล่ียนแปลงอุณหภูมิและปฏิกิริยำเคมีได้ดี เม่ือ
ได้รับควำมรอ้ นจะไม่ออ่ นตัว ไม่สำมำรถหลอมและนำกลับมำข้ึนรปู ใหม่ได้ ถำ้ อยู่ในอุณหภูมิสูงจะทำ
(thermosetting plastics) ใหแ้ ตกและไหม้เปน็ ขี้เถำ้ สีดำ
สมบตั ิ : มีควำมแขง็ แรง ทนทำนตอ่ กำรเปล่ียนแปลงอณึ หภูมิและปฏิกิริยำเคมีได้ดี เม่ือได้รับควำม
ร้อนจะไมอ่ อ่ นตวั ไมส่ ำมำรถหลอมและนำกลับมำขน้ึ รปู ไดใ้ หม่ได้
การใช้งาน : จำน ชำม แก้วน้ำ ของใช้ในครัวเรือน กระดุม กระดำนขำวลบได้ เครื่องเล็กเล่น
อปุ กรณ์แต่งสวน ถงั ขนำดใหญ่ ลำเรอื

พอลิเอสเทอร์เรซนิ เมลามนี

วัสดแุ ละเคร่อื งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน

ยาง (rubber)

คือ วสั ดุที่มีควำมยืดหยุ่น เมื่ออกแรงดึง 1. ยางธรรมชาติ
ดึงหรือกด ยำงจะยืดหรือยุบและกลับสู่สภำพเดิม
ได้เม่ือปล่อยให้ยำงเป็นอิสระ ยำงถูกนำไปแปรรูป (natural rubber)
เพื่อใช้ประโยชน์ในกำรสร้ำงสิ่งของเคร่ืองใช้ย่ำง
หลำกหลำยชนดิ 2. ยางสงั เคราะห์

(synthetic rubber)

วสั ดุและเครือ่ งมอื ชา่ งพื้นฐาน

1. ยางธรรมชาติ คือ ผลผลิตท่ีได้จำกต้นยำง เช่น ต้นยำงพำรำ เม่ือยำงอยู่ในสภำวะอุณหภูมิต่ำจะแข็ง
กระด้ำง เม่ืออยู่ในสภำวะอุณหภูมิสูงจะอ่อนน่ิม ทำให้ยำงใช้งำนได้ในช่วงอุณหภูมิที่จำกัด ยำงมี
(natural rubber) ควำมยืดหยุ่นสูง นต่อกำรฉีกขำดและกำรสึกหรอ แต่ไม่ทนต่อตัวทำละลำยพวกน้ำมันปิโตรเลียม
และมักเสื่อมสภำพเร็วภำยใต้แสงแดด ควำมร้อน ออกซิเจน โดยน้ำยำงดิบจะถูกแปรสภำพเป็น 2
ลกั ษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ในรูปของน้ำยำงข้น ซ่ึงเป็นวัตถุดิบในกำรผลิตของใช้ต่ำง ๆ เช่น ถุงมือยำง ยำงรัด
ของ ลกู โป่ง ชน้ิ สว่ นอิเล็กทรอนิกส์ เคร่ืองมอื ทำงกำรแพทย์

2. ในรูปยำงแห้ง ยำงแผ่นรมควัน ยำงแผ่นผ่ึงแห้ง ยำงแท่ง ซ่ึงใช้เป็นวัตถุดิบในกำรผลิต
รองเทำ้ ยำงรถจักรยำน ยำงรถยนต์
สมบัติ : มีควำมยืดหยุ่นสูง ทนต่อกำรฉีกขำดและกำรสึกหรอ แต่ไม่ทนต่อตัวทำละลำยพวกน้ำมัน
ปโิ ตรเลยี ม เส่อื มสภำพเรว็ ภำยใตแ้ สงแดด ควำมรอ้ น ออกซเิ จน
การใช้งาน : ถุงมือยำง ยำงรัดของ ลูกโป่ง ช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือทำงกำรแพทย์ ยำง
รถจักรยำน ยำงรถยนต์ รองเท้ำ สำยพำนลำเลียง

วัสดแุ ละเคร่ืองมอื ช่างพืน้ ฐาน

2. ยางสังเคราะห์ คือ ยำงที่ได้จำกกำรสังเครำะห์ทำงเคมี เพ่ือเลียนแบบยำงธรรมชำติ ข้อดีคือ สำมำรถ
ปรับปรุงสมบัติ เช่น สภำพยืดหยุ่น ควำมทนทำนต่อแรงดึงและกำรฉีกขำด ควำมทนต่อเปลวไฟ
(synthetic rubber) สภำพอำกำศ แสงแดด สำรเคมีและน้ำมันได้ตำมต้องกำร ยำงสังเครำะห์มีหลำยประเภท แต่ละ
ประเภทมีสมบัติท่ีแตกต่ำงกันไปตำมควำมเหมำะสมในกำรใช้งำน อีกท้ังยำงสังเครำะห์ยังมีควำม
ทนทำนต่อกำรใช้งำนและเสอื่ มสภำพไดช้ ำ้ กวำ่ ยำงธรรมชำติ ส่งผลให้ยำงสังเครำะห์ได้รับควำมนิยม
นำมำใชง้ ำน
สมบัติ : มีควำมยืดหยุ่นสูง ปรับปรุงสมบัติได้ตำมที่ต้องกำร ทนทำนต่อกำรใช้งำนและเส่ือมสภำพ
ช้ำ
การใช้งาน : จุกนม ของเล่น สิ่งของเคร่ืองใช้ ของประดับตกแต่ง อุปกรณ์ทำงกำรแพทย์ ยำง
รถยนต์ ฉนวนหุ้มสำยไฟ กำวยำง ยำงสำยพำน ยำงกันกระแทก


Click to View FlipBook Version