The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.


เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมท้องถิ่น
อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ สู่สายตานักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mamaeacl, 2021-09-13 01:03:08

ชุดการเรียนรู้ เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมท้องถิ่น


เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมท้องถิ่น
อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ สู่สายตานักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น

คํานํา










ชดการเรียนร้เส้นทางการท่องเที ยวเชิงอนุรักษ์ทางวัฒนธรรม


ท้องถิ น อําเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ส่สายตานักท่องเที ยวชาว


ญี ป น จัดทําขึ นเพื อเป ดโลกทัศน์ใหม่แห่งการท่องเที ยวเชิงอนุรักษ์

ทางวัฒนธรรมท้องถิ น หมู่บ้านป าต้มดอน อําเภอพร้าว จังหวัด

เชียงใหม่เพื อส่งเสริมด้านการศึกษา และเห็นคุณค่าของชุมชนของ


ตนเองและสามารถถ่ายทอดความร้เบื องต้นเกี ยวกับของดีในชุมชน


ของตนเองให้นักท่องเที ยวชาวญี ป นทราบได้

อีกทั งเพี อเตรียมความพร้อมรอรับนักท่องเที ยวทั งในประเทศ


และต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ ง นักท่องเที ยวชาวญี ปุ น ที รัก

ในการท่องเที ยวเชิงอนุรักษ์ รักในความเงียบสงบของชุมชนที เต็ม


ไปด้วยบรรยากาศกลิ นอายท้องถิ น เรียนรู้วิถีชีวิต และอาชีพ ที อยู่


อยู่ค่ชมชนมายาวนาน อาทิ “น าอ้อยถั วดินตัด” และ “ถั วเน่า”

อาหารพื นบ้านของท้องถิ น ซึ งชาวญี ปุ นแล้วจะเรียกกันว่านัตโตะ

แหล่งท่องเที ยวที มีเสน่ห์ชวนหลงใหลแห่งหนึ ง เหมาะที จะเป น


แหล่งท่องเที ยวเชิงอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมท้องถิ น อันจะนําไปส่ ู

การสร้างรายได้ให้แก่ชมชนอย่างเป นลําดับเป นขั นเป นตอน สู่การ


ต่อยอดในการพัฒนาท้องถิ นอย่างยั งยืนต่อไป




นักวิจัย
















2

สารบัญ







หน้า



คํานํา 2


คําแนะนําการใช้ชดการเรียนร้ 4





จากเมืองส่พร้าว 5


กราบนมัสการพระคณเจ้า “วัดกลางเวียง” 7





“รังไหม” ห้องสมดชมชนที ไม่ธรรมดา 8
อ่างเก็บน าแม่สะลวม 9



ของดีบ้านป าต้ม “น าอ้อย ถั วดินตัด” 11




นัดโตะญี ป น ถั วเน่าบ้านเฮา 17


กราบนมัสการพระคณเจ้า “วัดป าต้ม” 20




รวมศัพท์ภาษาญี ป น 25


ภาคผนวก รวมภาพกิจกรรม 35



























3

คําแนะนําการใช้ชดการเรียนร้








ชดการเรียนร้ เส้นทางการท่องเที ยวเชิงอนุรักษ์ทางวัฒนธรรม



ท้องถิ น อําเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ส่สายตานักท่องเที ยวชาว

ญี ป น จัดทําขึ นสําหรับส่งเสริมการท่องเที ยวในชุมชนและส่งเสริม



การมาใช้ภาษาญี ป นในการแนะนําสถานที ท่องเที ยวในชมชนของตน
ในเนื อหาจึงประกอบไปด้วยเนื อหานําเที ยวในชุมชนเพื อเรียนรู้และ


เข้าใจถึงของดีในชมชนและสามารถถ่ายทอดให้นักท่องเที ยวได้ และ

เพื อให้การเรียนได้ประสิทธิภาพ ขอแนะนําให้ผู้เรียน ใช้ชุดการเรียน



ร้ควบค่กับข้อ1 และ ข้อ2




1. ผู้เรียนสามารถแสกนคิวอาร์โค้ด ที นําเสนอไว้ในแต่ละบท เพื อ


รับชมวีดีโอภาพเคลื อนไหว บรรยายด้วยเสียงภาษาไทยและมีตัว


อักษรภาษาญี ป นกํากับ ซึ งจะทําให้ผู้เรียนได้ฝ กรูปประโยคผ่านการ



ฟ งและพัฒนาการพดด้วยวิธี Shadowing (การฝ ดพดตาม) จากคํา
ศัพท์ที ได้ศึกษาในแต่ละบท


2. ผู้เรียนสามารถเรียนจาก E-BOOK หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดย

สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทั งในระบบออฟ


ไลน์ และออนไลน์ ตามลิ งค์ต่อไปนี


LINK :
















วิดีโอแนะนํา

การท่องเที ยว 4


ร่งเช้าวันนี เราออกเดินทางไปยังสถานที ที สงบแห่งหนึ ง ตั งอยู่ใน


จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย อยู่ในมมที ไม่ค่อยมีใครร้จักมากนัก
และยังไกลออกจากตัวเมืองมาก ไกลจากวิถีชีวิตของคนในเมืองสอง

ข้างทางของการเดินทางในครั งนี เต็มไปด้วยต้นไม้นานาพรรณและ


อากาศที แสนจะเย็นสบาย จดหมายในครั งนี คือ อําเภอพร้าว พร้าว

เป นอําเภอหนึ งในจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย และด้วยบรรยากาศ


ที ดีมากๆในยามเช้า ทําให้พวกเราอดไม่ได้ที จะแวะข้างทางเพื อถ่าย

ภาพบรรยากาศสวยๆมาฝากและด้วยอากาศที เย็นสบายในยามเช้า



และเมฆหมอกที ค่อยๆลอยลงมาล้อมกอดภเขาเอาไว้นับเป นภาพที หา

ได้ยากในตัวเมืองเชียงใหม่



5

6

และเราเริ มออกเดินทางกันต่อ สองข้างทางของการไปพร้าวนั น


ยังคงเต็มไปด้วยต้นไม้สีเขียวตลอดทาง พวกเราค่อยๆออกห่าง

จากตัวเมืองที มีแต่ความวุ่นวายขยับเข้าใกล้ความสวยงามของ


ธรรมชาติและพร้อมที จะเข้าไปเรียนร้วิถีชีวิตของชาวบ้านในอําเภอ

พร้าวที เรียบง่าย ซึ งสองข้างทางเป นการทําเกษตรของชาวบ้าน













































เดินทางต่อมาอีกสักหน่อย

เราก็ได้เดินทางมาถึงตัวเมือง


อําเภอพร้าว เราเริ มได้เห็นรถ

เห็นผู้คนออกมาใช้ชีวิตบน


ความเรียบง่าย และสถานที


แรกที เราแวะในครั งนี คือ วัดกลางเวียง ซึ งเป นวัดที อยู่กลาง ตัว


เมืองของอําเภอพร้าว ข้างตัววัดเป นตลาดที ชาวบ้านออกมาจับจ่าย


ใช้สอยกัน เราได้ทําการสักการะบชา ไหว้เสาหลักเมือง เพื อความ

เป นสิริมงคล

7

สถานที ต่อไปขอแนะนํา


คือ ห้องสมดรังไหม ที นี มี

ความน่าสนใจอย่างนึงก็คือ



เป นห้องสมดในชมชนเล็กๆ ที
มีชาวญี ป นเข้ามาช่วยพัฒนาให้มีหนังสือ มีกิจกรรมให้สําหรับเด็กๆ

ในชมชนระแวกนั น มีหนังสือเยอะแยะมากมาย มีทั งหนังสือไทย


ดีวีดี หนังสือเรียน และสิ งหนึ งที ไม่ค่อยพบเห็นจากห้องสมด


ที ไหน คือที นี มีหนังสือญี ป น ที มีภาษาญี ป นและตัดแปะแปลภาษา


ไทยตกแต่งไว้เป นอย่างดีและเข้าใจง่าย อ่านง่าย และสังเกตเห็นว่า


หนังสือญี ป นมีความแตกต่างจากหนังสือไทยอย่างนึงก็ คือการใส่

ลูกเล่นเข้าไปในหนังสือ ซึ งช่วยดึงความสนใจจากเด็กๆให้มาอ่าน


หนังสือได้ไม่น้อยเลยทีเดียว





8

แล้วที สดท้ายสําหรับวันนี ที


พวกเราอยากนําเสนอนั นก็คือ อ่าง

เก็บน าแม่สะลวม ที นี เป นอ่างเก็บ


น าของอําเภอพร้าว มองออกไปฟาก


แรกจะเป นน าไกลออกไปสดลูกห ู

ลูกตา และเมื อลองมอง ออกไปอีก


ฟากนึงของสันเขื อนนั น เราก็จะได้


เห็นวิวของอําเภอพร้าวจากที สง เมื อขึ นมาถึงบนนี เรียกได้ว่า ทุกคน

จะได้เห็นถึงความสวยงามของอําเภอพร้าวทั วทั งเมืองเลยก็ว่าได้







9

10

ถั วดิน





























จากตอนที แล้วเราได้นําทุกท่านไปที อําเภอเมืองของพร้าว


แล้ว วันนี เรา จะพามาส่หม่บ้านเล็กๆแห่งหนึ งที ชื อ บ้านป าตุ้ม



ดอน ที หม่บ้านเล็กๆแห่งนี เขาขึ นชื อเรื อง ถั ว เช้าตรู่ของวันนี


กลิ นควันจากเตาถ่านหอมลอยมา มองออกไปจะเห็นคณตา

กําลังสอนให้เราคัดถั วที ดีกับที ใช้ไม่ได้แยกออกจากกัน









































11

กําลังต้มอยู่นี คือกะทินั นเอง

ใส่ฟ นเข้าไปแล้วทิ งไว้สักพัก


รอจนกะทิเดือด เมื อกะทิเดือด

แล้วให้เพิ มความหวานโดยการ


ใส่น าอ้อยลงไปน าอ้อยจะหวาน


เหมือนน าตาล แต่จะให้ความ

หอมที มากกว่า จากนั นกวนๆ

จนเข้ากัน รอให้ร้อนได้ที

























12

ตอนนี น าอ้อยของเราเริ ม

ละลายเข้าเป นเนื อเดียวกันแล้ว



ค่ะ วัตถดิบสําคัญคือ ถั ว นั นเอง
ถั วที กําลังใส่เข้าไปนี ทางภาษา


เหนือเขาเรียกว่า “ ถั วดิน ” จาก


นั นกวนถั วดินให้เข้ากันรอ จน

ร้อนได้ที นําถั วดินมาเทลงบน


กระด้ง เพื อกระจายความร้อน

และให้ถั วกับน าอ้อยจับตัวกัน


เป นก้อนๆ เกลี ยให้ถั วแบนราบ จากนั นจะโรยด้วยงาเพื อเพิ มความ


หอมและจะใช้มือตบเล็กน้อยเพื อให้งาติดเป นเนื อเดียวกันกับถั ว


ดินและน าอ้อย ต่อจากนั นเราจะทําการตัดถั วออกเป นแท่งๆ เพื อ

ให้สามารถหยิบกินได้ง่ายและพอดีคําขนมที ทุกท่านเห็นนี เรียกว่า


“ถั วดินตัด” เป นขนมที เป นที นิยมทานกันมาก มีรสชาติหวานมัน

และกลิ นหอม









13

14

และขั นตอนสุดท้ายเราจะทําการพลิกกลับด้านขึ นมา เพื อไม่ให้ติด

กับกระด้ง เพราะน าอ้อยเมื อทิ งไว้ให้โดนอากาศจะแข็งตัวเร็วมาก


เพียงเท่านี ก็ เสร็จเรียบร้อยแล้วสําหรับ “ขนมถั วดินตัด” ของขึ น

ชื อบ้านป าตุ้มดอน













































































15

16


ในตอนที แล้วเราได้พาทุกท่านไปร้จักกับถั วดินตัด ของดี


บ้านป าต้มดอนกันแล้ว สําหรับวันนี เราจะมาต่อกันด้วย
เรื องถั วๆกันต่อ แต่ครั งนี เราไม่ได้นําถั วมาทําเป นของ


หวานอย่างครั งที แล้ว ครั งนี ต้องบอกก่อนว่าที เห็นกําลัง


ทําอยู่นี คือ เคล็ดลับความอร่อย รสชาติอมามิของหลายๆ

บ้านกันเลยทีเดียว









































































17

ถั วที กําลังถูกบดละเอียดอยู่นี


ทางเหนือเรียกกันว่า ถั วเน่า

ซึ งถั วเน่าที นี ไม่เหมือนกับของ



ทางญี ป น ไม่เหนียว ไม่ยืด ซึ ง
ถั วเน่าสามารถนําไปทําได้


หลากหลายอย่าง เช่น ถั วเน่า


เม๊อะ ถั วเน่าแผ่น ซึ งวันนี เรา

จะพาทุกท่านมาทําถั วเน่าแผ่น


ถั วเน่าแผ่นเป นวัตถุดิบหลัก

ในการทําอาหาร เหนือกันเลย


ทีเดียว เหมือนเช่นเดียวกับผง


ปรงรสที เอาไว้ปรงรสชาติของ

อาหารให้ออกมาอร่อยนั นเอง
















































18

แม่เพ็ญศรีเริ มตบถั วเน่าให้


เป นแผ่นแบนๆ แล้วนํามาวาง

เรียงบนตะแกลงไม้สาน เพื อจะ


นําไปตากแดดให้แห้งอีกทีจาก

ถั วเน่าแผ่นที มีสีน าตาลอ่อน เมื อ



ถกนําไปตากแห้งแล้วก็กลายเป น

สีน าตาลเข้ม


ตองผาแป ง

































































19


ในตอนที แล้วเราพาทุกท่านไปชมของดีบ้านป าต้มดอน

เรื องถั วๆ กันมาแล้ว คราวนี เราจะพาทุกท่านมารับบุญกัน



ณ วัดป าต้ม เป นวัดที ตั งอยู่ใน หม่บ้านป าต้มดอน ซึ งวันนี


เราได้เก็บบรรยากาศงานบญที วัดมาฝาก งานบญนี คือ

พิธีสมโภชพาราเม่ป อกและพาราปานปอง ซึ งเป นงานมงคล


ในพระพทธศาสนา ในงานมีการทอดผ้าป าจากศรัทธา


ของวัดทั งคนในหมู่บ้าน และต่างหมู่บ้าน































20

วัดแห่งนี เป นสถานที ที เป น


ที ยืดเหนียวทางจิตใจของ

คนในหม่บ้าน ภายในตัววัด


จะมีพระพทธรปองค์ ใหญ่


3 องค์ ตั งอยู่กลางวิหาร


มีอายุ มากถึง 109 ป เป น


ศิลปะล้านนา และมัณฑะ

เลย์ซึ งเป นที นิยมของชาวไต


และในวิหารก็จะมีพระพทธ


รปอีกหลายองค์และแต่องค์







มีอายุนับ 100 กว่าป เลยทีเดียว


เสียงแห่ที ดังมาแต่ไกลทําให้ร้ว่า

ตอนนี ได้เวลาที ชาวบ้านจะได้แห่

ขบวนผ้าป ามาที วัด โดยการแห่นี


ก็จะมีการฟ อนรําของไทย

ประกอบกับเสียงดนตรีแห่พร้อม


กับต้นผ้าป าที ประดับไปด้วยเงิน

และเครื องใช้ไม้สอยที เหมาะแก่


พระสงฆ์ เพื อถวายให้กับทาง


วัดป าต้มดอน บรรยากาศการแห่

นั นเต็มไปด้วยความสนุกสนาน


รื นเริง ต้นผ้าป า สานจากตอก

"ตอก" คือ ไม้ไผ่ที ผ่าออกเป นเส้นบาง แบน
และยาว เพื อใช้สานเครื องจักรสานต่างๆ





21

22

ขบวนแห่ของชาวบ้าน ได้นําต้น


ผ้าป าเข้ามาถึงภายในตัววัด แล้ว

ที ทุกท่านเห็นอยู่นี คือพระเกศ


โมลี พระเกศโมลี คือ มวยผม


ของพระพทธเจ้า นั นเอง โดยมี

พิธีการ คือการติดแผ่นทองที


พระเกศโมลีโดยพระเถระผู้ใหญ่

และหลังจากนั นก็จะให้ชาวบ้าน


และคณะศรัทธาที มาร่วมงาน

บญป ดแผ่นทองเพื อเป นสิริ


มงคลแก่ตัวเองและครอบครัว















































23

เมื อติดแผ่นทองเสร็จแล้วก็จะเป นการร่วมกันสวดมนต์ตามประเพณี



ศาสนาพทธและเป นการให้พรจากพระลูกวัดพิธีสดท้ายก็จะเป นการ
อันเชิญพระเกศโมลีขึ นประดิษฐานบนเศียรของพระพุทธรูปถวาย



พระประธานอโบสถและสวดมนต์เพื อเป นสิริมงคลสืบไป




















































24



คลังคําศัพท์จากชดการเรียนร้

























































































25

26

27

28

29

30

102.



103.



104.



105.



106.



107.



108.



109.


110.




111.


112.




113.







114.








115.












116.


31

117.



118.


119.



120.



121.



122.



123.



124.


115.



126.



127.



128.



129.



130.



131.



132.



133.



134.






32

135.


136.



137.








138.



139.




140.



141.







142.



143.



144.



145.



146.



147.


148.



149.



150.






33

151.



152.



153.



154.



155.



156.



157.



158.



159.



160.


161.



162.



163.







164.



165.



166.



167.



168.


34

ภาคผนวก


รวมภาพกิจกรรม























































































35

36

37

38

39

40

40

42

43

44


การพัฒนาชดเส้นทางการท่องเที ยวเชิงอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมท้องถิ น
อําเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่สู่สายตานักท่องเที ยวชาวญี ปุ น

โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื อการพัฒนาท้องถิ น
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่

ป งบประมาณ พ.ศ. 2563


ผ้รับผิดชอบโครงการ

อาจารย์ อิคโอะ เออิโสะ หลักสตรศิลปะและการออกแบบ





อาจารย์ กรณา กลจักร์วงค์ษา หลักสตรภาษาญี ป น
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่





























45


Click to View FlipBook Version