ประวัติบาสเกตบอล กติกาบาสเกตบอล ความเป็นมากีฬาบาสเกตบอล ประวัติบาสเกตบอล มีความเป็นมายาวนานกว่า 100 ปี นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2434 โดย Dr. James Naismith (เจมส์ ไนสมิท) อาจารย์พลศึกษาของโรงเรียนคนงานคริสเตียน ปัจจุบันเป็นวิทยาลัยสปริงฟิล (Springfield College) เมืองสปริงฟิล รัฐแมสซาชูเซส สหรัฐอเมริกา ( Massachusetts, USA. ) ขณะนั้นผู้ฝึกสอนฟุตบอล ของโรงเรียนต้องการให้มีการแข่งขันกีฬาในร่มสำหรับนักเรียนระหว่างฤดูหนาว แต่เดิม บาสเกตบอล ได้กำหนดกติกาพื้นฐาน 5 ข้อ ดังนี้ 1. ผู้เล่นใช้มือเล่นลูกบอล 2. ผู้เล่นห้ามถือลูกบอลวิ่ง 3. ผู้เล่นสามารถยืนตำแหน่งใดก็ได้ในสนาม 4. ผู้เล่นห้ามปะทะหรือถูกต้องตัวกัน 5. ห่วงประตูติดตั้งไว้เหนือพื้นสนามขนานกับเส้นเขตสนาม Dr. James Naismith ได้ใช้ไม้รูปร่างคล้ายผลท้อจัดทำเป็นห่วงประตู ติดตั้งไว้ที่ระเบียงห้องโถงตามความสูง ของระเบียง ประมาณ 10 ฟุต ครั้งแรกใช้ลูกฟุตบอลโดยมีคนนั่งบนราวบันไดเพื่อหยิบลูกบอลออกจากประตู เมื่อเกิดการยิงประตูเป็นผล ต่อมา Dr.James Naismith ได้กำหนดหลักการเล่นขึ้น 13 ข้อ เป็นพื้นฐานของ กติกาโดยใช้ทักษะมากกว่าการใช้แรง ดอกเตอร์ เจมส์ ไนสมิท (Dr. James Naismith) ผู้คิดค้นกีฬาบาสเกตบอล
ประวัติบาสเกตบอล กติกาบาสเกตบอล ความเป็นมากีฬาบาสเกตบอล ประวัติบาสเกตบอล มีความเป็นมายาวนานกว่า 100 ปี นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2434 โดย Dr. James Naismith (เจมส์ ไนสมิท) อาจารย์พลศึกษาของโรงเรียนคนงานคริสเตียน ปัจจุบันเป็นวิทยาลัยสปริงฟิล (Springfield College) เมืองสปริงฟิล รัฐแมสซาชูเซส สหรัฐอเมริกา ( Massachusetts, USA. ) ขณะนั้นผู้ฝึกสอนฟุตบอล ของโรงเรียนต้องการให้มีการแข่งขันกีฬาในร่มสำหรับนักเรียนระหว่างฤดูหนาว แต่เดิม บาสเกตบอล ได้กำหนดกติกาพื้นฐาน 5 ข้อ ดังนี้ 1. ผู้เล่นใช้มือเล่นลูกบอล 2. ผู้เล่นห้ามถือลูกบอลวิ่ง 3. ผู้เล่นสามารถยืนตำแหน่งใดก็ได้ในสนาม 4. ผู้เล่นห้ามปะทะหรือถูกต้องตัวกัน 5. ห่วงประตูติดตั้งไว้เหนือพื้นสนามขนานกับเส้นเขตสนาม Dr. James Naismith ได้ใช้ไม้รูปร่างคล้ายผลท้อจัดทำเป็นห่วงประตู ติดตั้งไว้ที่ระเบียงห้องโถงตามความสูง ของระเบียง ประมาณ 10 ฟุต ครั้งแรกใช้ลูกฟุตบอลโดยมีคนนั่งบนราวบันไดเพื่อหยิบลูกบอลออกจากประตู เมื่อเกิดการยิงประตูเป็นผล ต่อมา Dr.James Naismith ได้กำหนดหลักการเล่นขึ้น 13 ข้อ เป็นพื้นฐานของ กติกาโดยใช้ทักษะมากกว่าการใช้แรง ดอกเตอร์ เจมส์ ไนสมิท (Dr. James Naismith) ผู้คิดค้นกีฬาบาสเกตบอล
และในปี พ.ศ.2435 นิตยสาร Triangle magazine ได้ออกนิตยสารและมีบทความที่ใช้หัวข้อว่า A New Game โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. สามารถโยนลูกบอลด้วยมือข้างเดียวหรือสองมือ 2. สามารถตีลูกบอลด้วยมือข้างเดียวหรือสองมือ แต่ต้องไม่ใช้กำปั้น 3. ห้ามถือลูกบอลวิ่งต้องโยนลูกบอลจากจุดที่ถือลูกบอล ผู้เล่นสามารถวิ่งเพื่อคว้าบอล 4. ต้องถือลูกบอลด้วยมือ แขนหรือลำตัว ห้ามดึงลูกบอล 5. ห้ามใช้ไหล่ดัน ผลัก ดึง ตบหรือตี ฝ่ายตรงข้าม หากเกิดการละเมิดให้ถือเป็น ฟาล์ว หาก กระทำซ้ำอีก ถือเป็น ฟาล์วเสียสิทธิ์ จนกว่าจะเกิดการยิงประตูเป็นผลในคราวต่อไป หรือเกิดผู้เล่นบาดเจ็บของผู้ เล่นตลอดการแข่งขัน ห้ามเปลี่ยนตัวผู้เล่น 6. การฟาล์วเป็นการกระแทกลูกบอลด้วยกำปั้นและการผิดระเบียบของกติกาข้อ 3,4 และตาม รายละเอียดตามกติกาข้อ 5 7. หากผู้เล่นฝ่ายเดียวกันกระทำฟาล์วติดต่อกัน 3 ครั้ง ให้นับคะแนน (การฟาล์วติดต่อกัน หมายถึง เป็น การฟาล์วที่ไม่มีการฟาล์วของฝ่ายตรงข้ามคั่นระหว่างการฟาล์วติดต่อนั้น) 8. เมื่อลูกบอลถูกตี หรือโยนจากพื้นเข้าประตู ให้นับคะแนน หากลูกบอลค้างก้านห่วงโดยผู้ เล่นฝ่าย ป้องกันสัมผัสหรือกระทบประตู ให้นับคะแนน 9. เมื่อลูกบอลออกนอกสนามให้ส่งบอลเข้าเล่นที่สัมผัสลูกบอลครั้งแรกในกรณี ที่มีผู้คัดค้าน กรรมการผู้ ร่วมตัดสิน (Umpire) จะโยนบอลเข้าไปในสนาม ผู้เล่น ที่ส่งบอลสามารถใช้เวลาได้ 5 วินาที หากเกิน กว่านั้นฝ่ายตรงข้ามได้ส่งบอลแทน หากมีการคัดค้านและทำให้การแข่งขัน ล่าช้า กรรมการผู้ร่วม ตัดสิน (Umpire) สามารถขานฟาล์วเทคนิค 10. กรรมการผู้ร่วมตัดสิน (Umpire) มีหน้าที่ตัดสินและจดบันทึดการฟาล์ว เกิดฟาล์วต่อกัน ครบ 3 ครั้ง ให้แจ้งต่อผู้ตัดสิน (Referee) และสามารถให้ฟาล์วเสียสิทธิ์ ตามกติกาข้อ 5 11. ผู้ตัดสิน (Referee) มีหน้าที่ตัดสินชี้ขาด เมื่อลูกบอลเข้าสู่การเล่นในพื้นที่ของเขาและเป็นผู้ จับเวลา , ให้คะแนนเมื่อเกิดการยิงประตูเป็นผล ,จดบันทึกคะแนนและรับผิดชองตามพื้นที่ 12. เวลาการแข่งขัน แบ่งเป็น 2 ครึ่ง ๆละ 15 นาที พัก 5 นาที 13. เมื่อหมดเวลาการแข่งขัน ฝ่ายที่ทำคะแนนมากกว่าเป็นผู้ชนะ กรณีมีคะแนนเท่ากันให้ หัวหน้าทีมตก ลงกันเพื่อแข่งขันต่อจนกว่ามีฝ่ายใดทำคะแนนได้ จากกฎดังกล่าวถือเป็นต้นกำเนิด กีฬาบาสเกตบอล ซึ่งภายหลังได้ วิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ดังต่อไปนี้
ประวัติบาสเกตบอล แบ่งตามปีพุทธศักราช (พ.ศ.) พ.ศ. 2435 เริ่มมีการแข่งขันบาสเกตบอลครั้งแรก ระหว่างนักศึกษากับคณะครู ของวิทยาลัย สปริงฟิล (Springfield College) ผลการแข่งขัน นักศึกษาชนะ 5:1 ในปีเดียวกันนี้ เริ่มมีการเผยแพร่เข้าไปเล่นในประเทศเม็กซิโก (Mexico) Lew Allen of Hartford ได้ประดิษฐ์ประตูทรงกระบอกที่ทำจากเส้นลวดลักษณะคล้ายกับของ Dr.James Naismith ห่วงประตูยังตงติดตั้งไว้ตำแหน่งเดิม มีตะแกรงป้องกันลูกบอลสำหรับผู้ชมทำให้ มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน มีการจัดทำกระดานหลังแผ่นแรกขึ้น มีขนาด 3.6 เมตร * 1.8 เมตร พ.ศ. 2437 บาสเกตบอลแยกออกมาจากฟุตบอล โดยมีคณะกรรมการบาสเกตบอล มีการรับรองกระดานหลัง ซึ่งมีขนาด 1.8 เมตร * 1.2 เมตร กำหนดให้มีการโยนโทษ เกิดการคิดค้นห่วงประตู มีตาข่ายติดกับห่วงประตูด้วยเส้นเชือก เมื่อเชือกนั้นถูกดึงจะทำให้ลูกบอล ผ่านไปได้ และยกเลิกการใช้บันไดตั้งแต่บัดนั้น เริ่มการแข่งขันบาสเกตบอลหญิงเป็นครั้งแรกที่ นอร์ตแฮมตัน (Northamton) พ.ศ. 2439 เปลี่ยนแปลงกติกาเรื่องการนับคะแนนจากการยิงประตูธรรมดา เป็น 2 คะแนน และนับคะแนนจาก การโยนลูกโทษ 1 คะแนน เกิดการแข่งขันระดับวิทยาลัยเป็นครั้งแรกระหว่าง ชิคาโก (Chicago) กับโลวา (Lowa) โดยให้มีผู้เล่น ฝ่ายละ 5 คน ผลการแข่งขัน ชิคาโก ชนะ 15:12 ไม่มีการเปลี่ยนตัวผู้เล่น Dr. James Naismith ควบคุมกติกา จนกระทั่งมีการจัดตั้งสหพันธ์กีฬาสมัครเล่นและได้บรรจุกติกา และการเปลี่ยนแปลง พ.ศ. 2440 สหพันธ์ได้กำหนดกติกาโดยให้ทีมมีผู้เล่นฝ่ายละ 5 คน และเป็นที่ยอมรับกัน ทั่วโลก ซึ่งก่อนหน้านี้ การเล่นบางครั้งมีผู้เล่นมากกว่า 50 คน ของแต่ละฝ่ายในสนาม พ.ศ. 2448 ได้ขยายเข้าไปในโรงเรียนมัธยม,มหาวิทยาลัย,สมาคม โบสถ์ และทหาร นักศึกษาโรงเรียนกีฬาสปริงฟิลได้นำเผยแพร่ ณ ประเทศฝรั่งเศส
พ.ศ. 2452 มีการนำกระดานหลังชนิดกระจกใสเป็นครั้งแรก และได้รับการรับรองในกติกา และผู้เล่นที่ฟาล์ว ครบ 4 ครั้งให้เป็นฟาล์วเสียสิทธ์ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 การแข่งขันบาสเกตบอลได้หยุดชะงักลง ระหว่างนั้นทหารอเมริกัน,ผู้ฝึกสอน และ Dr.James Naismith นำบาสเกตบอลเข้าไปยุโรปเป็นนวัตกรรมการแข่งขัน พ.ศ. 2463 มีการแข่งขัน Inter-Allied Game เป็นครั้งแรก ณ กรุงปารีส (Paris) ผลการแข่ง ขันสหรัฐอเมริกา (USA.) ชนะฝรั่งเศส (France)และอิตาลี (Italy) โดยถือเป็นการแข่งขันระหว่างชาติเป็นครั้งแรก และเป็นการ เริ่มต้นไปสู่การแข่งขันชิงชนะเลิศระดับโลก การเล่นบาสในช่วงแรก | ประวัติบาสเกตบอล พ.ศ. 2466 กำหนดการฟาล์วผู้เล่นยิงประตูโทษโดยแยกจากการฟาล์วอื่น ๆ กล่าวคือ การ ฟาล์วบุคคลต่อผู้ เล่นกำลังยิงประตูจะต้องมีการโยนโทษ พ.ศ. 2467 เป็นกีฬาสาธิตในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิค ณ กรุงปารีส (Paris) พ.ศ. 2470 Abe Saperstein ติดต่อกับ Harlem Gloketrotters. ซึ่งเป็นผู้เล่นจากชิคาโก และ แข่งขันกันครั้ง แรกที่ Hinebluy มลรัฐ Illinois ตั้งแต่นั้นมีส่วนทำให้ประชาชนทั่วไปหันมาสนใจกีฬาบาสเกตบอลเพิ่มขึ้นกว่า 100 ประเทศ พ.ศ. 2472 จัดตั้งโรงเรียนพลศึกษา ขึ้นที่ กรุงเจนีวา (Geneva) โดยได้รับความร่วมมือจาก วิทยาลัยสปริงฟิล (Springfield College) พ.ศ. 2475
บาสเกตบอลเป็นที่สนใจและเป็นที่นิยมของคนทั่วโลก และสามารถกล่าวได้ว่า บาสเกตบอลเป็นกีฬา มาจาก สหรัฐอเมริกา (USA.) สมาคมบาสเกตบอล ได้จัดการประชุมสัมมนา ณ กรุงเจนีวา (Genrva) และได้มีประเทศ ก่อตั้ง สหพันธ์บาสเกตบอลสมัครเล่นนานาชาติ (FIBA) รวม 8 ประเทศ ในปี พ.ศ. 2475 FIBA ได้กำหนดและจัดทำกติกาบาสเกตบอลอย่างละเอียด ดังนี้ แต่ละทีมมีผู้เล่นได้ 5 คน เปลี่ยนผู้เล่นสำรองได้ 2 คน 2 ครั้ง ภายหลังจากการทำคะแนนปกติหรือจากการโยนโทษ ให้เริ่มการแข่งขันด้วยลูกกระโดด ณ วงกลม กลาง มอบหมายให้ Technical Commission ประชุมตกลงเปลี่ยนแปลงกติกาทุก ๆ 4 ปี ภายในปีที่มีการ แข่งขันกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2478 จัดการแข่งขันกีฬาบาสเกตบอลชายชิงชนะเลิศแห่งทวีปยุโรปเป็นครั้งแรก ณ กรุงเจนีวา (Geneva) โดยมีทีมเข้าร่วมการแข่งขัน 10 ประเทศ ในครั้งนั้นทีมชนะเลิศ คือ ประเทศแลตเวีย (Latvia) ซึ่งชนะ ประเทศสเปน (Spain) ด้วยคะแนน 24 :18 การประชุมคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ณ กรุงออสโล (Oslo) และได้รับการบรรจุในการแข่งขันกีฬา โอลิมปิกครั้งต่อไป ณ กรุงเบอร์ลิน (Berlin) นับเป็นรายการแข่งขันที่ใหญ่ที่สุดครั้งแรงของ บาสเกตบอล และในการแข่งขันครั้งนั้น ประเทศสหรัฐอเมริกา (USA.) ชนะเลิศ โดยชนะคู่ชิง ประเทศแคนาดา (Canada) ด้วยคะแนน 19:8 ผู้ให้เกียรติมอบเหรียญรางวัล คือ Dr. James Naismith ในปี พ.ศ. 2478 FIBA จัดการประชุม ณ กรุงเบอร์ลิน (Berlin)โดยมีรายละเอียดดังนี้ ให้เกิดความสมดุลและเสมอภาคระหว่างผู้เล่นฝ่ายป้องกันและฝ่ายรุก จำกัดความสูงของผู้เล่น ขอเวลานอกได้ 3 ครั้ง ยกเลิกการเล่นลูกกระโดดหลังจากเกิดทำคะแนนได้ ให้ส่งบอลเข้าเล่นจากเส้นหลังแทน แบ่งสนามเป็นสองส่วน เริ่มใช้กติกาว่าด้วย 10 วินาทีในแดนหลัง ฟาล์วบุคคลของผู้เล่นเพิ่มเป็น 4 ครั้ง พ.ศ. 2483 Dr. James Naismith ผู้คิดค้นกีฬาบาสเกตบอล ได้เสียชีวิต
พ.ศ. 2491 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 FIBA ได้ประชุม ณ กรุงลอนดอน (London) โดยมี รายละเอียดที่ เปลี่ยนแปลง ดังนี้ เริ่มนำกติกาว่าด้วย 3 วินาที ห้ามผู้เล่นที่มีความสูงยืนใต้ห่วงประตู เพิ่มผู้เล่นสำรองจาก 5 คน เป็น 7 คน ขอเวลานอกเพิ่มเป็น 4 ครั้ง ให้ส่งบอลแทนการโยนโทษในช่วงเวลา 3 นาทีสุดท้ายของการแข่งขัน ให้ยกเท้าหลักได้ก่อนการยิงประตู ,ส่งบอล หรือเลี้ยงบอล ผู้เล่นชาวเอเชียเริ่มใช้วิธีการกระโดดยิงประตู พ.ศ. 2492 จัดตั้งสมาคมบาสเกตบอลอาชีพ NBA พ.ศ. 2493 จัดการแข่งขันชิงชนะเลิศชายของโลก ณ ประเทศอาเจนตินา (Argentina) พ.ศ. 2494 จัดการแข่งขัน NBA-ALL STAR เป็นครั้งแรก ณ กรุงบอสตัน (Boston) ในครั้งนั้นฝั่งตะวันออก ชนะ ฝั่งตะวันตก ด้วยคะแนน 111 : 94 พ.ศ. 2495 หลังจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงเฮลซิงกิ (Helsinki) มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ เพิ่มฟาล์วบุคคลเป็น 5 ครั้ง (Foul-out) เกิดการแข่งขันที่น่าเบื่อ เนื่องจากทีมเล่นช้าลงมากโดยไม่มีเหตุการณ์ใด ๆ ทำให้ เกิดช่องว่างของการ พัฒนาเกมการแข่งขัน พ.ศ. 2496 จัดการแข่งขันชิงชนะเลิศหญิงของโลก ณ ประเทศชิลี (Chile) พ.ศ. 2497 Danny Biason เสนอแนะข้อสรุป และใน NBA เริ่มใช้กติกาใหม่ เพื่อให้เกมการ แข่งขันรวดเร็ว โดยให้ทีมครอบครองบอลต้องยิงประตู ภายใน 24 วินาที พ.ศ. 2499 ในการแข่งขัน ณ กรุงเมลเบอร์น (Melbourne) มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ฝ่ายรุกต้องยิงประตู ภายในเวลา 30 วินาที กำหนดเขตโยนโทษ เป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู บริเวณใต้ห่วงประตู FIBA Technical Commission ทบทวนความสมดุลและเสมอภาคของผู้เล่นฝ่ายรุกและฝ่ายป้องกัน การยิงประตูยกเท้าหลักแล้วปล่อยบอลหลุดจากมือ และการเลี้ยงบอลต้องปล่อยบอลหลุดจากมือก่อน ยกเท้าหลัก
เกิดการกระโดดยิงประตูได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย และเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของการยิงประตู , การส่งบอล และการเลี้ยงบอล เกิดยุทธวิธีก าบัง (Screen) การเล่นเต็มสนามของผู้เล่นท าให้ยากต่อการจัดการ การแข่งบาสเกตบอลในสหรัฐ | ประวัติบาสเกตบอล พ.ศ. 2501 จัดการแข่งขันชายชิงชนะเลิศชายของสโมสรยุโรป พ.ศ. 2502 จัดการแข่งขันชิงชนะเลิศหญิงของสโมสรยุโรป พ.ศ. 2503 FIBA ประชุม ณ กรุงโรม (Rome) มีการเปลี่ยนแปลง ดังรายละเอียดดังนี้ 5 นาทีสุดท้ายของการแข่งขัน เกิดการฟาล์วบุคคลจะลงโทษด้วยการโยนโทษ 2 ครั้ง กระทำฟาล์วแล้วยิงประตูเป็นผล ให้ยกเลิกคะแนน ทั้งสองทีมทำฟาล์วซึ่งกันและกัน และบทลงโทษเท่ากัน ให้ยกเลิกบทลงโทษของการโยนโทษ หาก บทลงโทษไม่สามารถยกเลิกได้ ให้โยนโทษได้ไม่เกิน 2 ครั้งและครอบครองบอล การเปลี่ยนแปลงของบทลงโทษที่สลับซ้ำซ้อนทำให้บางครั้งเป็นสถานการณ์ที่ยุ่งยากสำหรับกรรมการ ผู้ตัดสิน เมื่อต้องมีการนับการยกเลิกบทลงโทษ และจำนวนของการโยนโทษที่เหลือ ทำให้บางครั้ง ผู้ชมหรือผู้เล่นไม่เข้าใจและเกิดความสับสน พ.ศ. 2507 เริ่มใช้ ช่วงการเล่น (Play Phase) FIBA ได้ประชุม ณ กรุงโตเกียว (Tokyo) ตกลงให้จัดทำหนังสือกติกาที่เข้าใจง่าย เกิดระบบของการรุก และมีการยิงประตูทำคะแนนได้เพิ่มขึ้น ความแข็งแกร่งของผู้เล่นมีความสำคัญ เนื่องจากกีฬาบาสเกตบอลค้องเคลื่อนที่ตลอดเวลา
พ.ศ. 2515 หลังจากการแข่งขันโอลิมปิก ณ ประเทศเม็กซิโก (Mexico) FIBA ได้ กำหนดการเปลี่ยนแปลง รายละเอียดของกติกาดังนี้ กำหนดหลักทรงกระบอกเหนือห่วงประตู ยกเลิกการห้ามผู้เล่นฝ่ายป้องกันสัมผัสลูกบอลเหนือห่วง ประตู เมื่อลูกบอลกระทบห่วงประตูผู้เล่นทั้งสองฝ่ายสามารถเล่นได้ 3 นาทีสุดท้ายของการแข่งขัน หากเกิดการฟาล์วจะได้โยนโทษ 2 ครั้ง หากเกิดฟาล์วทีมให้ส่งบอลเข้าเล่นแทนการโยนโทษ FIBA มีการประชุม ณ กรุงมิวนิค (Munich) และได้เปลี่ยนแปลงกติกาดังนี้ ยกเลิก 3 นาทีสุดท้าย ให้ใช้กับทุกนาทีในการแข่งขัน หากเกิดการฟาล์วผู้เล่นที่ไม่มีบอล ให้ส่งบอลเข้า เล่น การเปลี่ยนแปลงกติกาทำให้ผู้เล่นฝ่ายป้องกันสามารถละเมิดการฟาล์วเพื่อทำให้ ผู้เล่นฝ่ายรุกไม่อยู่ใน ตำแหน่งยิงประตู พ.ศ. 2516 การแข่งขันชิงชนะเลิศของทวีปยุโรป ณ กรุงบาร์เซโลนา (Barselona) การฟาล์วช่วงใหล้หมดเวลา การแข่งขันเพิ่มมากขึ้น ทำให้การฟาล์วเฉลี่ยต่อเกมสูงถึง 61 ครั้ง ซึ่งมีผลกระทบต่อการแข่งขันเป็นอย่างยิ่ง ทำให้ FIBA ไม่สามารถรอจนถึงการประชุมในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งหน้า ดังนั้น FIBA จึงมีการประชุม และกำหนดตกลงดังนี้ หากแต่ละครึ่งเวลาทีมกระทำฟาล์วครบ10 ครั้ง จะถูกโยนโทษ 2 ครั้ง สำหรับการฟาล์วของทีม ครอบครองบอลให้ส่งบอลเข้าเล่นจากเส้นข้าง พ.ศ. 2517 เกิดการเปลี่ยนแปลงจากการใช้การฟาล์วทีมครบ 10 ครั้ง พ.ศ. 2519 ประชุม FIBA ณ กรุงมอลทรีออล (Montreal) มีการกำหนดการเปลี่ยนแปลงใหม่ดังนี้ ให้มีการใช้กติกาว่าด้วยการฟาล์วทีม 10 ครั้ง บทลงโทษ โยนโทษ 2 ครั้ง ผู้เล่นที่ถูกกระทำฟาล์วขณะกำลังยิงประตู บทลงโทษให้ได้โยนโทษใน 3 ครั้ง หากการยิงประตู ธรรมดานั้นเป็นผล ให้นับคะแนนและได้โยนโทษ 1 ครั้ง พ.ศ. 2523 ประชุม FIBA ณ กรุงมอสโคว์ (Moscow) เกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ลดจำนวนการฟาล์วทีมรวม เหลือ 8 ครั้ง ฟาล์วเทคนิคที่นั่งทีม และหากฟาล์วเทคนิคผู้ฝึกสอนครบ 3 ครั้ง ให้เป็นการฟาล์วเสียสิทธิ์ต่อผู้ ฝึกสอน
ได้จัดทำเอกสารข้อแนะนำกติกาสำหรับวิธีการพิจารณาหลักการประทะโดยกำหนดผู้เล่นใดที่ต้อง รับผิดชอบต่อการปะทะนั้น ( ใช้หลักของแนวดิ่ง หมายถึง ช่องว่างเหนือผู้เล่นที่เป็นรูปทรงกระบอก โดยผู้เล่นที่ลอยตัวในอากาศอย่างถูกต้องจะลงสู่พื้นตำแหน่งเดิมก่อนการกระโดด และการป้องกัน อย่างถูกต้องนั้นเป็นลักษณะใด รวมถึงการพิจารณาการสกัดกั้น) พ.ศ. 2527 FIBA ได้กำหนดกติกาใหม่ดังนี้ เริ่มใช้การยิงประตู 3 คะแนน (NBA เริ่มใช้เมื่อปี 2526 โดยกำหนดการพยายามยิงประตู 3 คะแนน ด้วยเส้นที่ห่างจากห่วงประตู 6.25 เมตร, NBA 7.24 เมตร ) เป็นการเปิดโอกาสให้สำหรับผู้เล่นที่ รูปร่างเล็กสามารถทำคะแนนได้ ขนาดสนามเปลี่ยนเป็น 15 เมตร * 28 เมตร ฟาล์วทีมรวมลดลงเหลือ 7 ครั้ง บทลงโทษ 1+1 (ผู้เล่นโยนโทษครั้งแรกพลาดให้การแข่งขันดำเนิน ต่อไปทันที) ยกเลิกการโยนโทษสำหรับผู้เล่นขณะกำลังยิงประตูโทษสำหรับผู้เล่นขณะกำลังยิงประตู 2 ใน 3 ให้ใช้ บทลงโทษของการพยายามยิงประตูตามพื้นที่ (หากพยายามยิงประตู 2 คะแนนไม่เป็นผล ให้โยนโทษ 2 ครั้ง หากพยายามยิงประตู 3 คะแนนไม่เป็นผลให้โยนโทษ 3 ครั้ง) บทลงโทษการฟาล์วเทคนิคผู้ฝึกสอน เปลี่ยนเป็น โยนโทษ 2 ครั้ง และได้ครอบครองบอล พ.ศ. 2529 FIBA World Congress ได้กำหนดการเปลี่ยนแปลงกติกาดังนี้ ให้มีการฟาล์วเจตนาและฟาล์วเสียสิทธิ์ต่อผู้เล่น ให้โยนโทษ 2 หรือ 3 ครั้ง และเพิ่มการครอบครอง บอล จุดประสงค์เพื่อเพิ่มชนิดของการฟาล์วซึ่งเกิดขึ้นบ่อยครั้งในการแข่งขัน
พ.ศ. 2533 ได้มีการเปลี่ยนแปลงกติกาดังนี้ ยกเลิกสิทธิ์ในการเลือกสำหรับการส่งบอลเข้าเล่นและช่วงการเล่น (Play Phase) ยกเลิกข้อจำกัดของ การโยนโทษที่เกิดขึ้น ไม่มีข้อยุ่งยากสำหรับทุกคน กำหนดเขตที่นั่งทีม หากผู้ฝึกสอนหรือผู้ติดตามทีมลุกออกจากที่นั่งทีมอย่างไรจึงถูกขานฟาล์วเทคนิคผู้ฝึกสอน และลุก ออกจากที่นั่งทีมขณะเกิดการชกต่อย ให้ขานฟาล์วเสียสิทธิ์ทันที ให้กรรมการผู้ตัดสินยื่นส่งบอลให้แก่ผู้เล่นทุกจุดที่มีการส่งบอลเข้าเล่น ห้ามผู้เล่นที่ส่งบอลเข้าเล่นก้าวเท้าเกินกว่า 1 เมตร ในทิศทางเดียวกันก่อนการปล่อยบอลจากการส่ง ผู้เล่นที่ยืนช่องโยนโทษเข้าแย่งบอลจากการโยนโทษครั้งสุดท้ายหรือครั้งเดียวเมื่อลูกบอลหลุดจากมือ ของผู้โยนโทษ ผู้ตัดสินสามารถแก้ไขความผิดผลาดที่เกี่ยวกับการโยนโทษและคะแนน พ.ศ. 2535 FIBA เปิดโอกาสให้ผู้เล่นอาขีพสามารถลงแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุง บาร์เซโลนา (Barcelona) ซึ่งเรียกว่า Dream Team ได้รับการสนใจจากบุคคลทั่วโลก พ.ศ. 2537 FIBA ได้ปรับปรุงกติการ ดังนี้ กำหนดระบบการแข่งขัน 2 x 20 นาที หรือ 4 x 12 นาที การส่งบอลเข้าเบ่นให้ส่งใกล้จุดเกิดเหตุ รวมถึงเส้นหลัง
ผู้เล่นกำลังยิงประตู ให้นับรวมถึงกรณีผู้เล่นการลอยตัวในอากาศจากการยิงประตูจนกว่าเท้าสัมผัสพื้น ทั้งสองข้าง สามารถกระโดดยัดห่วง (Alley-oop) จากการส่งบอลและลูกบอลนั้นย้อยลงมาเหน็จห่วงได้ เปลี่ยน ฟาล์วเจตนา เป็น ฟาล์วขาดน้ำใจนักกีฬา ยกเลิกบทลงโทษ 1+1 ให้ใช้บทลงโทษการโยนโทษ 2 ครั้ง แทน หากผู้เล่น,ผู้ฝึกสอนหรือผู้ติดตามทีม ถูกขานฟาล์วเสียสิทธิ์ ต้องออกจากสนามแข่งขันกลับไปยัง ห้องพักหรือออกจากอาคารการแข่งขัน จากสถานการณ์การโยนโทษ ให้มีผู้เล่นทั้งสองทีมทำการแย่งลูกบอลในช่องยืนโยนโทษ ไม่เกิน 6 คน (รวมผู้โยนโทษด้วย ทีมละ 3 คน) พ.ศ. 2541 FIBA ได้มีการเปลี่ยนแปลงกติกา ดังนี้ ยกเลิก บอลเข้าสู่การเล่น (Ball in Play) เปลี่ยนแปลง ‘บอลดี’ ขณะส่งบอลเข้าเล่นและการเล่นลูกกระโดด ขอเวลานอกเพิ่มเป็น 3 ครั้ง 2 นาทีสุดท้ายของครึ่งเวลาหลังหรือช่วงต่อเงลาเพิ่มพิเศษ เมื่อเกิดการยิงประตูธรรมดาเป็นผล นาฬิกาแข่งขันจะหยุด ผู้เล่นผ่ายรุก และฝ่ายป้องกัน ห้ามสัมผัสลูกบอลเหนือห่วงประตูและขณะลูกบอลการะทบกระดาน หลังจากการยิงประตู บทลงโทษของการฟาล์วคู่ ทีมที่ครอบครองบอลแล้วเกิดกระทำฟาล์วคู่ ยังคงได้ส่งบอลเข้าเล่นแทน การเล่นลูกกระโดด ใช้ ฟาล์วเทคนิคขาดน้ำใจนักกีฬา ให้โยนโทษ 2 ครั้งและครอบครองบอล พ.ศ. 2543 Central Broad of FIBA ได้เปลี่ยนแปลงกติกาดังนี้ ระบบการแข่งขัน เป็น 4 period ๆ ละ 10 นาที (4 x 10 นาที) ฟาล์วทีมรวมเหลือ 4 ครั้งต่อ period ครั้งต่อไปให้โยนโทษ 2 ครั้ง พักการแข่งขัน period ที่ 1-2, 3-4 หรือช่วงต่อเวลาเพิ่มพิเศษ 2 นาที พักการแข่งขัน period ที่ 2-3 เป็นเวลา15 นาที ขอเวลานอก period ที่ 1, 2, 3หรือช่วงต่อเวลาเพิ่มพิเศษได้ 1 ครั้ง ขอเวลานอก period ที่ 4 ได้ 2 ครั้ง ให้เวลานอก 1 นาทีเต็ม ถึงแม้ทีมที่ขอเวลานอกพร้อมแข่งขัน เปลี่ยนกติกาว่าด้วย 30 วินาที และนาฬิกา 24 วินาทีเริ่มต้นนับใหม่เมื่อลูกบอลหลุดจากมือจากการ ยิงประตูและสัมผัสห่วงประตู หากลูกบอลลอยในอากาศจากการยิงประตูแล้วเสียงสัญญาณ 24 วินาที
ดังขึ้นนาฬิกาแข่งขันหยุดทันที หากบอลเข้าห่วงประตู ให้นับคะแนน หากไม่ลงถือเป็นผิดระเบียบ ให้ ฝ่ายตรงข้ามได้ส่งบอลเข้าเล่น ทีมครองครองบอลต้องพาบอลสู่แดนหน้า ลดเหลือ 8 วินาที ช่วง 2 นาทีสุดท้ายของ period ที่ 4 หรือช่วงต่อเวลาเพิ่มพิเศษ เมื่อเกิดการยิงประตูเป็นผล นาฬิกา แข่งขันจะหยุด ทีมที่มีสิทธิ์ส่งบอลเข้าเล่นจากการเสียประตู ขอเปลี่ยนตัวได้ และฝ่ายตรงข้ามขอ เปลี่ยนตัวตามได้ FIฺBA จะใช้ระบบการตัดสิน 3 คน สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกและการแข่งขันชิงชนะเลิศแห่งโลก สำหรับระบบการตัดสินใจ 3 คน หากฝ่ายจัดการแข่งขันพิจารณาแลัวและมีความเห็นให้ใช้ก็สามารถ กระทำได้ บทลงโทษการฟาล์วเทคนิคผู้เล่น ให้โยนโทษ 1 ครั้ง และครอบครองบอล พ.ศ. 2543 FIBA Technical Commission ได้เผยแพร่เอกสารการวินิจฉัยและตีความอธิบายรายละเอียดของ กติกาและเหตุการณ์ที่เกิดให้ชัดเจนขึ้น พ.ศ. 2544 FIBA Technical Commission ได้เผยแพร่เอกสารเน้นจุดสำคัญของการปฏิบัติ เช่น การลงโทษ การ พิจารณาการเล่นที่ได้เปรียบ/เสียเปรียบ ได้เผยแพร่เอกสารเน้นการแข่งขันอย่างรวดเร็ว การเคลื่อนที่ของผู้ตัดสินในสนาม ระบบการตัดสินที่ ชัดเจน และการวินิจฉัยตีความเพื่อแนวทางในมื่อเกิดเหตุการณ์ในสนาม เมื่อสิ้นทศวรรตที่ 20 (พ.ศ.2543) ประมาณกันว่ามีผู้นิยมกีฬาบาสเกตบอลกว่า 250 ล้านคน และมีประเทศที่ เป็นสมาชิกสหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติ (F.I.B.A.) 208 ประเทศ ประวัติบาสเกตบอล เอ็นบีเอ (NBA – National Basketball Association) ในปี พ.ศ. 2489 ถือกำเนิดลีกเอ็นบีเอ (National Basketball Association, NBA) ก่อตั้งโดยรวบรวมทีม อาชีพชั้นนำ และทำให้กีฬาบาสเกตบอลระดับอาชีพได้รับความนิยมสูงขึ้น ปี พ.ศ. 2510 มีการจัดตั้งลีกเอบีเอ (American Basketball Association, ABA) ขึ้นอีกลีกมาเป็นคู่แข่งอยู่พักหนึ่ง ลีกทั้งสองก็ควบรวมกันในปี พ.ศ. 2519
ในเอ็นบีเอมีผู้เล่นมีชื่อเสียงหลายคน เช่น จอร์จ มิคาน (George Mikan) ผู้เล่นร่างใหญ่ที่โดดเด่นคนแรก บอบ คอสี (Bob Cousy) ผู้มีทักษะการครองบอล บิล รัสเซล (Bill Russell) ผู้ที่เก่งด้านการตั้งรับ วิลท์ แชมเบอร์ เลน (Wilt Chamberlain) รวมถึง ออสการ์ รอเบิร์ตสัน (Oscar Robertson) และ เจอร์รี เวสต์ (Jerry West) ผู้ที่เก่งในรอบด้าน คารีม อับดุล-จับบาร์ (Kareem Abdul-Jabbar) และ บิล วอลตัน (Bill Walton) ผู้เล่นร่าง ยักษ์ในยุคหลัง จอห์น สต็อกตัน (John Stockton) ผู้ที่มีทักษะการคุมเกม ตลอดจนผู้เล่นสามคนที่ทำให้เอ็นบี เอได้รับความนิยมจนถึงขีดสุด คือ แลร์รี เบิร์ด (Larry Bird) แมจิก จอห์นสัน (Magic Johnson) และ ไมเคิล จอร์แดน (Michael Jordan) ลีกดับเบิ้ลยูเอ็นบีเอ (Women’s National Basketball Association, WNBA) สำหรับบาสเกตบอลหญิงเริ่ม เล่นในปี พ.ศ. 2540 ถึงแม้ว่าในฤดูกาลแรกจะไม่ค่อยมั่นคงนัก นักกีฬามีชื่อหลายคน เช่น เชอริล สวูปส์ (Sheryl Swoopes), ลิซา เลสลี (Lisa Leslie) และ ซู เบิร์ด (Sue Bird) ช่วยเพิ่มความนิยมและระดับการ แข่งขันของลีก ลีกบาสเกตบอลหญิงอื่น ๆ ล้มไปเนื่องจากความสำเร็จของดับเบิ้ลยูเอ็นบีเอ
https://www.educatepark.com/story/history-of-basketball/ ประวัติบาสเกตบอลในประเทศไทย ประเทศไทยเริ่มเล่นบาสเกตบอลมากว่า 60 ปีแล้ว มีหลักฐานยืนยันว่า ใน พ.ศ. 2477 นายนพคุณ พงษ์ สุวรรณ ครูสอนภาษาจีน โรงเรียนมัธยมบพิตรพิมุข ได้ช่วยเหลือกรมพลศึกษาจัดแปลกติกาบาสเกตบอลขึ้น เป็นครั้งแรก และทางกรมพลศึกษาได้จัดอบรมครูพลศึกษาทั่วประเทศ ประมาณ 100 คน ใช้เวลา 1 เดือน วิทยากรสำคัญในการอบรมครั้งนั้น ได้แก่ หลวงชาติตระการโกศล ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญการเล่นกีฬาบาสเกตบอล ทั้งยังเคยเป็นผู้แทนมหาวิทยาลัยเข้าแข่งขันบาสเกตบอล เมื่อครั้งศึกษาอยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา จากนั้น กีฬาบาสเกตบอลก็แพร่หลายทั่วประเทศไทย นิยมเล่นกันมากในหมู่ชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีภูมิลำเนาอยู่ตามหัว เมือง ในตลาดเขตอำเภอของจังหวัดต่างๆ ปัจจุบันกีฬาบาสเกตบอลถูกบรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอนแทบทุกระดับการศึกษา คือ ตั้งแต่ระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา นอกจากนี้ยังมีการแข่งขันอยู่ตลอดเวลา องค์กรสำคัญที่ส่งเสริม และจัดการแข่งขันกีฬาบาสเกตบอลในประเทศไทย ได้แก่ สมาคมบาสเกตบอลแห่งประเทศไทย การกีฬาแห่ง ประเทศไทย เป็นต้น
กฏและกติกาบาสเกตบอล กฏและกติกาบาสเกตบอล กฎและกติกาของ NBA กฎเกี่ยวกับขนาดและเวลาที่ใช้แข่ง อาจแตกต่างกันขึ้นกับทัวร์นาเมนต์หรือองค์กรที่จัดการแข่งขัน รายละเอียดในส่วนนี้จะใช้ของสากลและเอ็นบีเอเป็นหลัก จุดมุ่งหมายของเกมคือ การทำคะแนนให้ได้มากกว่าคู่แข่งโดยการโยนลูกเข้าห่วงของคู่ต่อสู้จากด้านบน ในขณะที่ป้องกันไม่ให้คู่ต่อสู่โยนลูกลงห่วงของฝ่ายตน การโยนลูกในลักษณะนี้เรียกว่าการชู้ต (หรือช็อต shot) การชู้ตที่เข้าห่วงจะได้สองคะแนน แต่ถ้าผู้ชู้ตอยู่เลยเส้นสามคะแนนออกไปในขณะชู้ตลูกก็จะได้สามคะแนน เส้นสามคะแนนจะอยู่ห่างจากห่วงเป็นระยะ 6.25 เมตร (20 ฟุต 5 นิ้ว) ในกติกาสากล และ 23 ฟุต 9 นิ้ว (7.24 เมตร) ในกติกาเอ็นบีเอ การชู้ตลูกโทษหรือที่เรียกว่า ฟรีโทรว์ (free throw) เมื่อฟาล์วมีค่าหนึ่งคะแนน
เกมจะแบ่งการเล่นเป็น 4 ควาเตอร์ (quarter) แต่ละควาเตอร์มี 10 นาที (สากล) หรือ 12 นาที (เอ็นบีเอ) ช่วง พักครึ่งนาน 15 นาที ส่วนพักอื่นๆ ยาว 2 นาที ช่วงต่อเวลา (overtime) ยาว 5 นาที ทีมจะสลับด้านสนาม เมื่อเริ่มครึ่งหลัง เวลาจะเดินเฉพาะระหว่างที่เล่น และนาฬิกาจะหยุดเดินเมื่อเกมหยุด เช่น เมื่อเกิดการฟาล์ว หรือระหว่างการชู้ตลูกโทษ เป็นต้น ดังนั้นเวลาทั้งหมดที่ใช้แข่งมักยาวกว่านี้มาก (ประมาณสองชั่วโมง) ในขณะใดขณะหนึ่งจะมีผู้เล่นในสนามฝ่ายละห้าคน และจะมีผู้เล่นสำรองสูงสุดทีมละเจ็ดคน สามารถ เปลี่ยนตัวได้ไม่จำกัดและเปลี่ยนได้เฉพาะเมื่อเกมหยุด ทีมยังมีโค้ชที่ดูแลทีมและวางกลยุทธ์ในการเล่น รวมถึง ผู้ช่วยโค้ช ผู้จัดการทีม นักสถิติ แพทย์ และเทรนเนอร์ เครื่องแบบนักกีฬาสำหรับทีมชายและหญิงตามมาตรฐานได้แก่ กางเกงขาสั้นและเสื้อกล้ามที่มีหมายเลขผู้เล่น ชัดเจนพิมพ์ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง รองเท้าเป็นรองเท้ากีฬาหุ้มข้อเท้า อาจมีชื่อทีม ชื่อนักกีฬา และ สปอนเซอร์ ปรากฏบนชุดด้วยก็ได้ แต่ละทีมจะได้เวลานอกจำนวนหนึ่งสำหรับให้โค้ชและผู้เล่นปรึกษากัน มักยาวไม่เกินหนึ่งนาที ยกเว้นเมื่อ ต้องการโฆษณาระหว่างการถ่ายทอดสด เกมควบคุมโดยกรรมการและหัวหน้ากรรมการผู้ตัดสินในสนาม และกรรมการโต๊ะ กรรมการโต๊ะมีหน้าที่บันทึก คะแนน ควบคุมเวลา บันทึกจำนวนฟาล์วผู้เล่นและฟาล์วทีม ดูเรื่องการเปลี่ยนตัว โพเซสซันแอร์โรว์ และช็อตคล็อก เทคนิคพื้นฐานของ บาสเกตบอล ต าแหน่งผู้เล่นและโครงสร้าง ถึงแม้ว่าในกฎจะไม่กำหนดตำแหน่งใด ๆ ของผู้เล่น แต่เรื่องนี้มีวิวัฒนาการจนเป็นส่วนหนึ่งของบาสเกตบอล ในช่วงห้าสิบปีแรกของเกม จะใช้ การ์ดสองคน ฟอร์เวิร์ดสองคน และเซ็นเตอร์หนึ่งคนในการเล่น ตั้งแต่คริสต์ ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา มีการแบ่งชัดเจนขึ้นเป็น พอยท์การ์ด (หรือการ์ดจ่าย) ชู้ตติ้งการ์ด สมอลฟอร์เวิร์ด
เพาเวอร์ฟอร์เวิร์ด และ เซ็นเตอร์ ในบางครั้งทีมอาจเลือกใช้ การ์ดสามคน แทนฟอร์เวิร์ดหรือเซ็ตเตอร์คนหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า three guard offense การเล่นตั้งรับ มีหลักการแตกต่างกันสองรูปแบบ คือ ตั้งรับแบบโซน (zone defense) และ แบบแมน-ทู-แมน (man-to-man defense) การตั้งรับแบบโซน ผู้เล่นจะยืนคุมผู้เล่นฝ่ายบุกที่อยู่ในโซนที่ตัวเองรับผิดชอบ ส่วน แบบ แมน-ทู-แมน นั้น ผู้เล่นฝ่ายรับแต่ละคนจะยืนคุมและป้องกันผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามที่โค้ชวางแผนการเล่น เอาไว้ ส่วนการเล่นบุกทำคะแนนมีหลากหลายกว่า เกี่ยวข้องกับแผนการส่งลูก และการเคลื่อนไหวของผู้เล่นที่ไม่ถือ ลูก การคัท (cut) หรือวิ่งตัด คือการที่ผู้เล่นที่ไม่มีลูกวิ่งอย่างรวดเร็วไปยังตำแหน่งที่ได้เปรียบ การสกรีน (screen) หรือ พิก (pick) คือการที่ผู้เล่นฝ่ายบุกยืนขวางทางผู้เล่นฝ่ายรับที่ประกบเพื่อนร่วมทีมในขณะที่เพื่อน ร่วมทีมนั้นวิ่งตัดข้าง ๆ เขา การเล่นสองแบบนี้สามารถรวมเข้าเป็นพิกแอนด์โรล (pick and roll) โดยที่ผู้เล่น คนแรกทำพิกจากนั้นก็หมุนตัววิ่งเข้าหาห่วง (ซึ่งเรียกว่าโรล) สกรีน และ คัท เป็นส่วนสำคัญของการเล่น ทำให้ ส่งลูกและทำคะแนนได้สำเร็จ ทีมมักมีแผนการเล่นที่หลากหลายเพื่อให้อีกฝ่ายไม่สามารถคาดเดาการเล่นได้ ในสนามผู้เล่นตำแหน่งพอยท์การ์ดมักมีหน้าที่บอกแผนการเล่นที่จะใช้ให้กับเพื่อนร่วมทีม โครงสร้างของการตั้งรับ การบุก และตำแหน่งการเล่น ถูกเน้นในการเล่นบาสเกตบอลระดับสูง และเป็นสิ่งที่ โค้ชจะขอเวลานอกเพื่อคุยกับลูกทีม
การชู้ต บาสเกตบอล การชู้ตเพื่อทำคะแนนนั้น วิธีการจะแตกต่างกันไปขึ้นกับผู้เล่นและสถานการณ์ ที่จะอธิบายต่อไปนี้เป็นเทคนิ กพื้นฐานที่ใช้มากที่สุด ผู้เล่นเอาลูกไปพักบนปลายนิ้วมือข้างที่ถนัด ให้อยู่สูงกว่าศีรษะเล็กน้อย ส่วนมืออีกข้างประคองด้านข้างลูก จากนั้นก็ยืดแขนข้างที่พักลูกให้เหยียดตรงให้ลูกลอยออกจากปลายนิ้วในขณะที่บิดข้อมือลง ปกติมืออีกข้าง ประคองลูกเพื่อควบคุมทิศการชู้ตเท่านั้น ไม่มีส่วนในการให้แรงส่ง ผู้เล่นมักชู้ตลูกให้ลูกหมุนแบบแบ็คสปิน (backspin) กล่าวคือหมุนย้อนไปข้างหลังขณะที่ลูกเคลื่อนที่ไปยังห่วง ซึ่งจะช่วยป้องกันไม่ให้ลูกกระดอนออกจากห่วงหลังจากการกระทบ ผู้เล่นส่วนมากชู้ตไปยังห่วงตรง ๆ แต่ใน บางครั้งผู้ชู้ตอาจต้องชู้ตให้กระดอนกับแป้นแทน วิธีการชู้ตที่ใช้บ่อยสุด ได้แก่ เซ็ตช็อต (set shot) และ จัมพ์ช็อต (jump shot) เซ็ตช็อตคือการชู้ตขณะที่ทั้ง สองเท้ายังอยู่ติดพื้น ใช้ในการชู้ตฟรีโทรว์ ส่วนจัมพ์ช็อต คือการชู้ตขณะที่กำลังกระโดดโดยปล่อยลูกขณะที่ตัว อยู่ตำแหน่งลอยตัวสูงสุด การชู้ตวิธีนี้ให้กำลังมากกว่าและชู้ตได้ไกล อีกทั้งสามารถกระโดดลอยตัวเหนือผู้เล่นที่ ยืนตั้งรับได้ด้วย
ผู้เล่นที่ชู้ตเก่งนอกจากจะมีสัมผัส การทรงตัว ความกล้า และการฝึกฝนที่ดีแล้ว ยังต้องรู้จักเลือกโอกาสการชู้ต อีกด้วย ผู้เล่นระดับแนวหน้ามักชู้ตไม่พลาดเมื่อไม่มีผู้เล่นอื่นมาประกบ การส่งบอล ในการส่งบอล (pass) ระหว่างผู้เล่น ผู้ส่งมักส่งในจังหวะที่ก้าวไปข้างหน้าเพื่อเพิ่มกำลังส่ง และอาศัยมือ ประคองในจังหวะที่ปล่อยลูกเพื่อช่วยเรื่องความแม่นยำ การส่งพื้นฐานสุดแบบหนึ่งคือการส่งระดับอก (chest pass) โดยส่งโดยตรงจากอกของผู้ส่งลูกไปยังผู้รับลูก เป็นการส่งที่รวดเร็วที่สุด การส่งอีกแบบคือแบบ bounce pass ผู้ส่งจะส่งจากระดับอก ให้ลูกบอลกระเด้งกับพื้นที่ระยะประมาณสองใน สามจากผู้ส่ง ซึ่งลูกจะกระเด้งเข้าระดับอกของผู้รับพอดี มีประโยชน์เวลาที่มีผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามยืนอยู่ในจุดซึ่ง อาจแย่งลูกได้หากส่งลูกธรรมดา การส่งแบบข้ามหัว (overhead pass) สำหรับส่งข้ามผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม โดยจะส่งข้ามศีรษะของผู้ส่ง เล็งไปที่ ระดับคางของผู้รับ การส่งไม่จำเป็นต้องใช้กรณีที่ผู้เล่นอยู่ไกลกัน แต่อาจจะเป็นการยื่นลูกให้ผู้เล่นคนที่อยู่ข้าง ๆ ซึ่งกำลังเคลื่อนที่ เข้าไปยังห่วงเพื่อทำคะแนน เป็นต้น จุดสำคัญของการส่งลูกก็คือ จะต้องไม่ให้อีกฝ่ายแย่งหรือขโมยลูกไปได้ ด้วยเหตุนี้การส่งข้ามสนามไกล ๆ ที่ เรียกว่าการส่งสกิป (skip pass) ถึงใช้กับแค่บางสถานการณ์เท่านั้น
การเลี้ยงลูก บาสเกตบอล การเลี้ยงลูกเป็นบังคับให้ลูกกระเด้งกับพื้นตลอดเวลา ผู้เล่นไม่ใช้มือตบลูกแต่จะใช้มือดันลูกไปหาพื้นแทน เนื่องจากควบคุมลูกได้ดีกว่า เมื่อต้องเลี้ยงลูกผ่านคู่ต่อสู้ ผู้เลี้ยงลูกควรเลี้ยงให้ลูกอยู่ห่างจากผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามมากสุด ดังนั้นผู้เล่น จำเป็นต้องเลี้ยงลูกได้ทั้งสองมือ ด้วยการสลับมือเลี้ยงลูกผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามก็เอื้อมมือถึงลูกได้ยากขึ้น และ ระหว่างที่สลับมือจะต้องเลี้ยงลูกให้ต่ำลงป้องกันการขโมยลูก ผู้เล่นอาจเปลี่ยนมือโดยเลี้ยงลูกลอดระหว่างขา หรือไขว้หลังก็ได้ ผู้เล่นที่ชำนาญสามารถเลี้ยงลูกได้โดยไม่ต้องมองลูก ซึ่งช่วยให้มองหาเพื่อนร่วมทีมหรือโอกาสการทำแต้ม และ ป้องกันการขโมยลูกจากผู้เล่นที่ยืนอยู่รอบ ๆ ได้
การเล่นบาสเกตบอลรูปแบบอื่น บาสเกตบอลยังมีการดัดแปลงการเล่นเป็นรูปแบบอื่น ๆ โดยยังคงใช้ทักษะทางบาสเกตบอล ตลอดจนอุปกรณ์ การเล่น (มักได้แก่ลูกบาสเกตบอล และห่วง) การเล่นบางรูปแบบก็เป็นการเพียงเปลี่ยนกฎอย่างผิวเผิน แต่ บางอย่างก็ถือเป็นเกมคนละชนิดไปเลย ซึ่งเกมเหล่านี้มักเป็นการเล่นไม่เป็นทางการ โดยไม่มีกรรมการ และกฎ ข้อบังคับที่เข้มงวด เกมที่น่าจะพบบ่อยสุด คือการเล่นแบบ ฮาล์ฟคอร์ต (half court game) โดยใช้สนามเพียงครึ่งเดียว เมื่อมีการ เปลี่ยนการครองบอล จะต้องเคลียร์ลูก คือส่งลูกออกไปยังเส้นครึ่งสนามหรือนอกเส้นชู้ตสามคะแนนก่อนถึงจะ เล่นต่อได้ การเล่นแบบนี้ใช้พละกำลังและความแกร่งน้อยกว่าเพราะไม่ต้องวิ่งตลอดความยาวสนาม การเล่น แบบนี้ยังเป็นการใช้สนามอย่างคุ้มค่าขึ้น เนื่องจากสนามบาสสนามหนึ่งสามารถเล่นพร้อมกันสองเกม เมื่อมีคน มาเล่นในสนามเป็นจำนวนมาก เจ้าของสนามอาจบังคับว่าต้องเล่นในลักษณะฮาล์ฟคอร์ต
กฎเกี่ยวกับขนาดและเวลาที่ใช้แข่ง อาจแตกต่างกันขึ้นกับทัวร์นาเมนต์หรือองค์กรที่จัดการแข่งขัน รายละเอียดในส่วนนี้จะใช้ของสากลและเอ็นบีเอเป็นหลัก จุดมุ่งหมายของเกมคือ การท าคะแนนให้ได้ มากกว่าคู่แข่งโดยการโยนลูกเข้าห่วงของคู่ต่อสู้จากด้านบน ในขณะที่ป้องกันไม่ให้คู่ต่อสู่โยนลูกลงห่วง ของฝ่ายตน การโยนลูกในลักษณะนี้เรียกว่าการชู้ต (หรือช็อต shot) การชู้ตที่เข้าห่วงจะได้สองคะแนน แต่ถ้าผู้ชู้ตอยู่เลยเส้นสามคะแนนออกไปในขณะชู้ตลูกก็จะได้สามคะแนน เส้นสามคะแนนจะอยู่ห่างจาก ห่วงเป็นระยะ 6.25 เมตร (20 ฟุต 5 นิ้ว) ในกติกาสากล และ 23 ฟุต 9 นิ้ว (7.24 เมตร) ในกติกาเอ็นบีเอ การชู้ตลูกโทษหรือที่เรียกว่า ฟรีโทรว์ (free throw) เมื่อฟาล์วมีค่าหนึ่งคะแนน
กติกาการเล่นบาสเกตบอล เกมจะแบ่งการเล่นเป็น 4 ควาเตอร์ (quarter) แต่ละควาเตอร์มี 10 นาที (สากล) หรือ 12 นาที (เอ็นบี เอ) ช่วงพักครึ่งนาน 15 นาที ส่วนพักอื่นๆ ยาว 2 นาที ช่วงต่อเวลา (overtime) ยาว 5 นาที ทีมจะสลับ ด้านสนามเมื่อเริ่มครึ่งหลัง เวลาจะเดินเฉพาะระหว่างที่เล่น และนาฬิกาจะหยุดเดินเมื่อเกมหยุด เช่น เมื่อ เกิดการฟาล์ว หรือระหว่างการชู้ตลูกโทษ เป็นต้น ดังนั้นเวลาทั้งหมดที่ใช้แข่งมักยาวกว่านี้มาก (ประมาณ สองชั่วโมง) ในขณะใดขณะหนึ่งจะมีผู้เล่นในสนามฝ่ายละห้าคน และจะมีผู้เล่นส ารองสูงสุดทีมละเจ็ดคน สามารถเปลี่ยนตัวได้ไม่จ ากัดและเปลี่ยนได้เฉพาะเมื่อเกมหยุด ทีมยังมีโค้ชที่ดูแลทีมและวางกลยุทธ์ในการ เล่น รวมถึงผู้ช่วยโค้ช ผู้จัดการทีม นักสถิติ แพทย์ และเทรนเนอร์ เครื่องแบบนักกีฬาส าหรับทีมชายและ หญิงตามมาตรฐานได้แก่ กางเกงขาสั้นและเสื้อกล้ามที่มีหมายเลขผู้เล่นชัดเจนพิมพ์ทั้งด้านหน้าและ ด้านหลัง รองเท้าเป็นรองเท้ากีฬาหุ้มข้อเท้า อาจมีชื่อทีม ชื่อนักกีฬา และสปอนเซอร์ ปรากฏบนชุดด้วยก็ ได้ แต่ละทีมจะได้เวลานอกจ านวนหนึ่งส าหรับให้โค้ชและผู้เล่นปรึกษากัน มักยาวไม่เกินหนึ่งนาที ยกเว้น เมื่อต้องการโฆษณาระหว่างการถ่ายทอดสด เกมควบคุมโดยกรรมการและหัวหน้ากรรมการผู้ตัดสินใน สนาม และกรรมการโต๊ะ กรรมการโต๊ะมีหน้าที่บันทึกคะแนน ควบคุมเวลา บันทึกจ านวนฟาล์วผู้เล่นและ ฟาล์วทีม ดูเรื่องการเปลี่ยนตัว โพเซสซันแอร์โรว์ และช็อตคล็อก
อุปกรณ์การเล่นบาสเกตบอล อุปกรณ์ที่จ าเป็นจริง ๆ ในกีฬาบาสเกตบอลมีเพียงลูกบอลและสนามที่มีห่วงติดอยู่ที่ปลายทั้งสองด้าน การ เล่นในระดับแข่งขันต้องใช้อุปกรณ์อื่น เช่น นาฬิกา กระดาษบันทึกคะแนน สกอร์บอร์ด โพเซสซันแอร์โรว์ ระบบหยุดนาฬิกาด้วยนกหวีด เป็นต้น ลูกบาสเกตบอลชายมีเส้นรอบวงประมาณ 30 นิ้ว (76 เซนติเมตร) และหนักประมาณ 1 ปอนด์ 5 ออนส์ ( ุ600 กรัม) ลูกบาสเกตบอลหญิงมีเส้นรอบวงประมาณ 29 นิ้ว (73 ซม.) และหนักประมาณ 1 ปอนด์ 3 ออนส์ (540 กรัม) สนามบาสเกตบอลมาตรฐานในเกมสากลมีขนาด 28 คูณ 15 เมตร (ประมาณ 92 คูณ 49 ฟุต) ส่วนในเอ็นบีเอมีขนาด 94 คูณ 50 ฟุต (29 คูณ 15 เมตร) พื้นสนามส่วนใหญ่ท าด้วยไม้ ห่วงที่ท าจากเหล็กหล่อ พร้อมทั้งเน็ต และแป้น ติดอยู่ที่ปลายทั้งสองด้านของสนาม ในการแข่งขันเกือ นทุกระดับ ขอบห่วงด้านบนอยู่สูงจากพื้น 10 ฟุต (3.05 เมตร) พอดีและถัดเข้ามาจากเส้นหลัง 4 ฟุต (1.2 เมตร) ถึงแม้ว่าขนาดของสนามและแป้นอาจแตกต่างกันออกไป แต่ความสูงของห่วงถือว่าส าคัญมาก ถึงต าแหน่งจะคลาดเคลื่อนไปไม่เพียงกี่นิ้วก็มีผลต่อการชู้ตอย่างมาก ข้อบังคับบาสเกตบอล ลูกสามารถเคลื่อน ที่ไปข้างหน้าเข้าหาห่วงโดยการชู้ต การส่งระหว่างผู้เล่น การขว้าง การเคาะลูก การ กลิ้งลูก หรือ การเลี้ยงลูก (โดยการให้ลูกกระเด้งกับพื้นขณะวิ่ง ภาษาอังกฤษเรียก ดริบบลิง, dribbling) ลูกจะต้องอยู่ใน สนาม ทีมสุดท้ายที่สัมผัสลูกก่อนที่ลูกจะออกนอกสนามจะสูญเสียการครองบอล ผู้เล่น ห้ามขยับขาทั้งสองพร้อมกันในขณะเลี้ยงลูก (เรียกว่า แทรเวลลิง, travelling) เลี้ยงลูกพร้อมกันทั้งสอง มือ หรือเลื้ยงลูกแล้วจับลูกแล้วเลี้ยงลูกต่อ (เรียกว่า ดับเบิล-ดริบบลิง, double-dribbling) เวลาเลี้ยงมือ ของผู้เล่นต้องอยู่ด้านบนของลูก มิฉะนั้นจะนับว่า ถือลูก (carrying) ถ้าทีมพาลูกไปยังแดนของฝ่ายตรง ข้ามของสนาม (frontcourt) แล้ว ห้ามน าลูกกลับเข้าแดนตนเอง (backcourt) อีก ห้ามเตะหรือชกลูก ถ้าท าผิดกฎข้อห้ามเหล่านี้จะเสียการครองบอล อีกฝ่ายจะเป็นฝ่ายได้ลูกไปเล่น แต่ถ้าฝ่ายรับท าผิดกฎฝ่าย ที่ครองบอลจะได้เริ่มช็อตคล็อกใหม่ ผู้เล่นจะต้องน า ลูกจากแดนตัวเองข้ามเข้าแดนตรงข้ามภายในเวลาที่ ก าหนด (8 วินาทีทั้งในกติกาสากลและเอ็นบีเอ) ต้องชู้ตภายในเวลา 24 วินาที ถือลูกขณะที่ถูกยืนคุมโดย ฝ่ายตรงข้ามไม่เกิน 5 วินาที อยู่ในบริเวณใต้แป้นไม่เกิน 3 วินาที กฎเหล่านี้มีไว้เป็นรางวัลแก่การตั้งรับที่ดี ห้ามผู้เล่นรบกวน ห่วง หรือ ลูกขณะเคลื่อนที่คล้อยลงมายังห่วง หรือ ขณะอยู่บนห่วง (ในเอ็นบีเอ ยังรวม กรณีลูกอยู่เหนือห่วงพอดี) การฝ่าฝืนข้อห้ามนี้เรียก โกลเทนดิง (goaltending) ถ้าฝ่ายรับท าผิด จะถือว่า การชู้ตส าเร็จและอีกฝ่ายได้คะแนน แต่ถ้าฝ่ายรุกท าผิด จะไม่คิดคะแนนการชู้ตนี้ และเสียการครองบอล
ฟาล์ว การเล่นที่กระทบกระทั่งผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามให้อีกฝ่ายเสียเปรียบและไม่เป็น ธรรม ถือเป็นข้อห้ามที่ถ้าฝ่าฝืน จะนับเป็น ฟาล์ว (foul) ผู้เล่นตั้งรับมักจะเป็นคนท าฟาล์วแต่ผู้เล่นฝ่ายรุกก็สามารถท าฟาล์วได้เช่น เดียวกัน คนที่ถูกฟาล์วจะได้ส่งลูกจากข้างสนาม (inbound) เพื่อเล่นต่อ หรือได้ชู้ตลูกโทษ หรือ ฟรีโทร (free throw) ถ้าการฟาล์วเกิดขึ้นขณะก าลังชู้ตลูก การชู้ตลูกโทษลงห่วงครั้งหนึ่งจะได้หนึ่งคะแนน ผู้เล่น จะได้ชู้ตลูกโทษหนึ่งกี่ครั้งขึ้นกับว่าลูกที่ผู้เล่นชู้ตตอนถูก ฟาล์วนั้นได้แต้มหรือไม่ เวลาชู้ตลูกโทษผู้เล่นต้อง ยืนหลังเส้นลูกโทษซึ่งห่างจากห่วง 4.5 เมตร (15 ฟุต) การที่จะมีฟาล์วหรือไม่อยู่วิจารณญาณของ กรรมการผู้ตัดสิน ว่าผู้เล่นเกิดการได้เปรียบในการเล่นอย่างขาวสะอาดหรือไม่ ท าให้บางครั้งมีความเห็น ขัดแย้งกับการเรียกฟาล์วของกรรมการ การกระทบกระทั่งในกีฬาบาสเกตบอลเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และการเรียกฟาล์วอาจแตกต่างกันในแต่ละเกม ลีก หรือแม้กระทั่งกรรมการตัดสินแต่ละคน ผู้เล่นหรือโค้ช ซึ่งแสดงน้ าใจนักกีฬาที่แย่ เช่น เถียงกับกรรมการ หรือ ชกกับผู้เล่นอื่น อาจโดนเทคนิคัลฟาล์ว หรือ ฟาล์ว เทคนิค (technical foul) ซึ่งถูกลงโทษโดยให้อีกทีมได้ชู้ตลูกโทษ (รายละเอียดขึ้นอยู่กับลีก) ถ้าเกิด เหตุการณ์ซ้ าก็อาจถูกไล่ออกจากสนามได้ ฟาล์วที่เกิดจากการเล่นที่รุนแรงเกินไป จะเรียกว่าฟาล์วขาด น้ าใจนักกีฬา หรือ ฟาล์วรุนแรง (unsportsmanlike foul ในสากลหรือ flagrant foul ในเอ็นบีเอ) ก็ จะได้รับโทษที่สูงขึ้นกว่าฟาล์วธรรมดา บางครั้งอาจถูกให้ออกจากสนามด้วย ถ้าทีมท าฟาล์วเกินกว่าที่ก าหนด (ในหนึ่งควาเตอร์ หรือ ในครึ่งเกม) ซึ่งก็คือ สี่ครั้งส าหรับกติกาสากลและ เอ็นบีเอ ทีมตรงข้ามสามารถชู้ตลูกโทษส าหรับฟาล์วที่เกิดขึ้นครั้งต่อ ๆ ไปจากนั้นจนกว่าจะจบช่วง ไม่ว่า การฟาล์วจะเกิดขึ้นขณะก าลังชู้ตลูกหรือไม่ (รายละเอียดขึ้นอยู่กับลีก) ถ้าผู้เล่นฟาล์วรวมห้าครั้งนับเทคนิ คัลฟาล์วด้วย (บางลีก รวมถือเอ็นบีเอ ยอมให้ฟาล์วได้หกครั้ง) ผู้เล่นนั้นไม่สามารถเล่นในเกมได้อีก เรียกว่าฟาล์วเอาท์ (foul out)
FIBA ได้ก าหนดและจัดท ากติกาบาสเกตบอลอย่างละเอียด ดังนี้ – แต่ละทีมมีผู้เล่นได้ 5 คน เปลี่ยนผู้เล่นส ารองได้ 2 คน 2 ครั้ง – ภายหลังจากการท าคะแนนปกติหรือจากการโยนโทษ ให้เริ่มการแข่งขันด้วยลูกกระโดด ณ วงกลมกลาง – มอบหมายให้ Technical Commission ประชุมตกลงเปลี่ยนแปลงกติกาทุก ๆ 4 ปี ภายในปีที่มีการ แข่งขันกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2478 จัดการแข่งขันกีฬาบาสเกตบอลชายชิงชนะเลิศแห่งทวีปยุโรปเป็นครั้งแรก ณ กรุงเจนีวา (Geneva) โดยมีทีมเข้าร่วมการแข่งขัน 10 ประเทศ ในครั้งนั้นทีมชนะเลิศ คือ ประเทศแลตเวีย (Latvia) ซึ่งชนะ ประเทศสเปน (Spain) ด้วยคะแนน 24 :18 – การประชุมคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ณ กรุงออสโล (Oslo) และได้รับการบรรจุในการแข่งขันกีฬา โอลิมปิกครั้งต่อไป ณ กรุงเบอร์ลิน (Berlin) นับเป็นรายการแข่งขันที่ใหญ่ที่สุดครั้งแรงของบาสเกตบอล และในการแข่งขันครั้งนั้น ประเทศสหรัฐอเมริกา (USA.) ชนะเลิศ โดยชนะคู่ชิง ประเทศแคนาดา (Canada) ด้วยคะแนน 19:8 ผู้ให้เกียรติมอบเหรียญรางวัล คือ Dr.James Naismith – FIBA จัดการประชุม ณ กรุงเบอร์ลิน (Berlin)โดยมีรายละเอียดดังนี้ + ให้เกิดความสมดุลและเสมอภาคระหว่างผู้เล่นฝ่ายป้องกันและฝ่ายรุก + จ ากัดความสูงของผู้เล่น + ขอเวลานอกได้ 3 ครั้ง + ยกเลิกการเล่นลูกกระโดดหลังจากเกิดท าคะแนนได้ ให้ส่งบอลเข้าเล่นจากเส้นหลังแทน + แบ่งสนามเป็นสองส่วน + เริ่มใช้กติกาว่าด้วย 10 วินาทีในแดนหลัง + ฟาล์วบุคคลของผู้เล่นเพิ่มเป็น 4 ครั้ง พ.ศ. 2483 Dr.James Naismith ผู้คิดค้นกีฬาบาสเกตบอล ได้เสียชีวิต พ.ศ. 2491 หลังสงครามโลกครั้งที่2 , FIBA ได้ประชุม ณ กรุงลอนดอน (London) โดยมี รายละเอียดที่ เปลี่ยนแปลง ดังนี้ – เริ่มน ากติกาว่าด้วย 3 วินาที – ห้ามผู้เล่นที่มีความสูงยืนใต้ห่วงประตู – เพิ่มผู้เล่นส ารองจาก 5 คน เป็น 7 คน – ขอเวลานอกเพิ่มเป็น 4 ครั้ง – ให้ส่งบอลแทนการโยนโทษในช่วงเวลา 3 นาทีสุดท้ายของการแข่งขัน – ให้ยกเท้าหลักได้ก่อนการยิงประตู ,ส่งบอล หรือเลี้ยงบอล
– ผู้เล่นชาวเอเชียเริ่มใช้วิธีการกระโดดยิงประตู พ.ศ. 2492 จัดตั้งสมาคมบาสเกตบอลอาชีพ NBA พ.ศ. 2493 จัดการแข่งขันชิงชนะเลิศชายของโลก ณ ประเทศอาเจนตินา (Argentina) พ.ศ. 2494 จัดการแข่งขัน NBA-ALL STAR เป็นครั้งแรก ณ กรุงบอสตัน (Boston) ในครั้งนั้นฝั่ง ตะวันออก ชนะ ฝั่งตะวันตก ด้วยคะแนน 111 : 94 พ.ศ. 2495 หลังจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงเฮลซิงกิ (Helsinki) มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ – เพิ่มฟาล์วบุคคลเป็น 5 ครั้ง (Foul-out) – เกิดการแข่งขันที่น่าเบื่อ เนื่องจากทีมเล่นช้าลงมากโดยไม่มีเหตุการณ์ใด ๆ ท าให้ เกิดช่องว่างของการ พัฒนาเกมการแข่งขัน พ.ศ. 2496 จัดการแข่งขันชิงชนะเลิศหญิงของโลก ณ ประเทศชิลี (Chile) พ.ศ. 2497 Danny Biason เสนอแนะข้อสรุป และใน NBA เริ่มใช้กติกาใหม่ เพื่อให้เกมการ แข่งขัน รวดเร็ว โดยให้ทีมครอบครองบอลต้องยิงประตู ภายใน 24 วินาที พ.ศ. 2499 ในการแข่งขัน ณ กรุงเมลเบอร์น (Melbourne) มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ – ฝ่ายรุกต้องยิงประตู ภายในเวลา 30 วินาที – ก าหนดเขตโยนโทษ เป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู บริเวณใต้ห่วงประตู – FIBA Technical Commission ทบทวนความสมดุลและเสมอภาคของผู้เล่นฝ่ายรุกและฝ่ายป้องกัน การยิงประตูยกเท้าหลักแล้วปล่อยบอลหลุดจากมือ และการเลี้ยงบอลต้องปล่อยบอลหลุดจากมือก่อนยก เท้าหลัก – เกิดการกระโดดยิงประตูได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย และเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งส าคัญของการยิงประตู , การส่งบอล และการเลี้ยงบอล – เกิดยุทธวิธีก าบัง (Screen) การเล่นเต็มสนามของผู้เล่นท าให้ยากต่อการจัดการ พ.ศ. 2501 จัดการแข่งขันชายชิงชนะเลิศชายของสโมสรยุโรป พ.ศ. 2502 จัดการแข่งขันชิงชนะเลิศหญิงของสโมสรยุโรป พ.ศ. 2503 FIBA ประชุม ณ กรุงโรม (Rome) มีการเปลี่ยนแปลง ดังรายละเอียดดังนี้ – 5 นาทีสุดท้ายของการแข่งขัน เกิดการฟาล์วบุคคลจะลงโทษด้วยการโยนโทษ 2 ครั้ง – กระท าฟาล์วแล้วยิงประตูเป็นผล ให้ยกเลิกคะแนน – ทั้งสองทีมท าฟาล์วซึ่งกันและกัน และบทลงโทษเท่ากัน ให้ยกเลิกบทลงโทษของการโยนโทษ หาก บทลงโทษไม่สามารถยกเลิกได้ให้โยนโทษได้ไม่เกิน 2 ครั้งและครอบครองบอล – การเปลี่ยนแปลงของบทลงโทษที่สลับซ้ าซ้อนท าให้บางครั้งเป็นสถานการณ์ที่ยุ่ง ยากส าหรับกรรมการผู้
ตัดสิน เมื่อต้องมีการนับการยกเลิกบทลงโทษ และจ านวนของการโยนโทษที่เหลือ ท าให้บางครั้งผู้ชมหรือ ผู้เล่นไม่เข้าใจและเกิดความสับสน พ.ศ. 2507 เริ่มใช้ ช่วงการเล่น (Play Phase) – FIBA ได้ประชุม ณ กรุงโตเกียว (Tokyo) ตกลงให้จัดท าหนังสือกติกาที่เข้าใจง่าย – เกิดระบบของการรุก และมีการยิงประตูท าคะแนนได้เพิ่มขึ้น ความแข็งแกร่งของผู้เล่นมีความส าคัญ เนื่องจากกีฬาบาสเกตบอลค้องเคลื่อนที่ตลอดเวลา พ.ศ. 2515 หลังจากการแข่งขันโอลิมปิก ณ ประเทศเม็กซิโก (Mexico), FIBA ได้ ก าหนดการ เปลี่ยนแปลงรายละเอียดของกติกาดังนี้ – ก าหนดหลักทรงกระบอกเหนือห่วงประตู ยกเลิกการห้ามผู้เล่นฝ่ายป้องกันสัมผัสลูกบอลเหนือห่วงประตู เมื่อลูกบอลกระทบห่วงประตูผู้เล่นทั้งสองฝ่ายสามารถเล่นได้ – 3 นาทีสุดท้ายของการแข่งขัน หากเกิดการฟาล์วจะได้โยนโทษ 2 ครั้ง – หากเกิดฟาล์วทีมให้ส่งบอลเข้าเล่นแทนการโยนโทษ FIBA มีการประชุม ณ กรุงมิวนิค (Munich) และได้เปลี่ยนแปลงกติกาดังนี้ – ยกเลิก 3 นาทีสุดท้าย ให้ใช้กับทุกนาทีในการแข่งขัน หากเกิดการฟาล์วผู้เล่นที่ไม่มีบอล ให้ส่งบอลเข้า เล่น – การเปลี่ยนแปลงกติกาท าให้ผู้เล่นฝ่ายป้องกันสามารถละเมิดการฟาล์วเพื่อท าให้ ผู้เล่นฝ่ายรุกไม่อยู่ใน ต าแหน่งยิงประตู พ.ศ. 2516 การแข่งขันชิงชนะเลิศของทวีปยุโรป ณ กรุงบาร์เซโลนา (Barselona) การฟาล์วช่วงใหล้ หมดเวลาการแข่งขันเพิ่มมากขึ้น ท าให้การฟาล์วเฉลี่ยต่อเกมสูงถึง 61 ครั้ง ซึ่งมีผลกระทบต่อการแข่งขัน เป็นอย่างยิ่ง ท าให้ FIBA ไม่สามารถรอจนถึงการประชุมในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งหน้า ดังนั้น FIBA จึงมีการประชุมและก าหนดตกลงดังนี้ – “หากแต่ละครึ่งเวลาทีมกระท าฟาล์วครบ10 ครั้ง จะถูกโยนโทษ 2 ครั้ง ” ส าหรับการฟาล์วของทีม ครอบครองบอลให้ส่งบอลเข้าเล่นจากเส้นข้าง พ.ศ. 2517 เกิดการเปลี่ยนแปลงจากการใช้การฟาล์วทีมครบ 10 ครั้ง พ.ศ. 2519 ประชุม FIBA ณ กรุงมอลทรีออล (Montreal) มีการก าหนดการเปลี่ยนแปลงใหม่ดังนี้ – ให้มีการใช้กติกาว่าด้วยการฟาล์วทีม 10 ครั้ง บทลงโทษ โยนโทษ 2 ครั้ง – ผู้เล่นที่ถูกกระท าฟาล์วขณะก าลังยิงประตู บทลงโทษให้ได้โยนโทษใน 3 ครั้ง หากการยิงประตูธรรมดา นั้นเป็นผล ให้นับคะแนนและได้โยนโทษ 1 ครั้ง พ.ศ. 2523 ประชุม FIBA ณ กรุงมอสโคว์ (Moscow) เกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้
– ลดจ านวนการฟาล์วทีมรวม เหลือ 8 ครั้ง – ฟาล์วเทคนิคที่นั่งทีม และหากฟาล์วเทคนิคผู้ฝึกสอนครบ 3 ครั้ง ให้เป็นการฟาล์วเสียสิทธิ์ต่อผู้ฝึกสอน – ได้จัดท าเอกสารข้อแนะน ากติกาส าหรับวิธีการพิจารณาหลักการประทะโดยก าหนดผู้ เล่นใดที่ต้อง รับผิดชอบต่อการปะทะนั้น ( ใช้หลักของแนวดิ่ง หมายถึง ช่องว่างเหนือผู้เล่นที่เป็นรูปทรงกระบอก โดยผู้ เล่นที่ลอยตัวในอากาศอย่างถูกต้องจะลงสู่พื้นต าแหน่งเดิมก่อนการ กระโดด และการป้องกันอย่างถูกต้อง นั้นเป็นลักษณะใด รวมถึงการพิจารณาการสกัดกั้น ) พ.ศ. 2527 FIBA ได้ก าหนดกติกาใหม่ดังนี้ – เริ่มใช้การยิงประตู 3 คะแนน (NBA เริ่มใช้เมื่อปี 2526 โดยก าหนดการพยายามยิงประตู 3 คะแนน ด้วยเส้นที่ห่างจากห่วงประตู 6.25 เมตร, NBA 7.24 เมตร ) เป็นการเปิดโอกาสให้ส าหรับผู้เล่นที่รูปร่าง เล็กสามารถท าคะแนนได้ – ขนาดสนามเปลี่ยนเป็น 15 เมตร * 28 เมตร – ฟาล์วทีมรวมลดลงเหลือ 7 ครั้ง บทลงโทษ 1+1 (ผู้เล่นโยนโทษครั้งแรกพลาดให้การแข่งขันด าเนิน ต่อไปทันที) – ยกเลิกการโยนโทษส าหรับผู้เล่นขณะก าลังยิงประตูโทษส าหรับผู้เล่นขณะก าลังยิง ประตู 2 ใน 3 ให้ใช้ บทลงโทษของการพยายามยิงประตูตามพื้นที่ (หากพยายามยิงประตู 2 คะแนนไม่เป็นผล ให้โยนโทษ 2 ครั้ง หากพยายามยิงประตู 3 คะแนนไม่เป็นผลให้โยนโทษ 3 ครั้ง) – บทลงโทษการฟาล์วเทคนิคผู้ฝึกสอน เปลี่ยนเป็น โยนโทษ 2 ครั้ง และได้ครอบครองบอล พ.ศ. 2529 FIBA World Congress ได้ก าหนดการเปลี่ยนแปลงกติกาดังนี้ – ให้มีการฟาล์วเจตนาและฟาล์วเสียสิทธิ์ต่อผู้เล่น ให้โยนโทษ 2 หรือ 3 ครั้ง และเพิ่มการครอบครองบอล จุดประสงค์เพื่อเพิ่มชนิดของการฟาล์วซึ่งเกิดขึ้นบ่อยครั้งในการแข่งขัน พ.ศ. 2533 ได้มีการเปลี่ยนแปลงกติกาดังนี้ – ยกเลิกสิทธิ์ในการเลือกส าหรับการส่งบอลเข้าเล่นและช่วงการเล่น (Play Phase) ยกเลิกข้อจ ากัดของ การโยนโทษที่เกิดขึ้น ไม่มีข้อยุ่งยากส าหรับทุกคน – ก าหนดเขตที่นั่งทีม – หากผู้ฝึกสอนหรือผู้ติดตามทีมลุกออกจากที่นั่งทีมอย่างไรจึงถูกขานฟาล์ว เทคนิคผู้ฝึกสอน และลุกออก จากที่นั่งทีมขณะเกิดการชกต่อย ให้ขานฟาล์วเสียสิทธิ์ทันที – ให้กรรมการผู้ตัดสินยื่นส่งบอลให้แก่ผู้เล่นทุกจุดที่มีการส่งบอลเข้าเล่น – ห้ามผู้เล่นที่ส่งบอลเข้าเล่นก้าวเท้าเกินกว่า 1 เมตร ในทิศทางเดียวกันก่อนการปล่อยบอลจากการส่ง – ผู้เล่นที่ยืนช่องโยนโทษเข้าแย่งบอลจากการโยนโทษครั้งสุดท้ายหรือครั้งเดียวเมื่อลูกบอลหลุดจากมือ
ของผู้โยนโทษ – ผู้ตัดสินสามารถแก้ไขความผิดผลาดที่เกี่ยวกับการโยนโทษและคะแนน พ.ศ. 2535 FIBA เปิดโอกาสให้ผู้เล่นอาขีพสามารถลงแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุง บาร์เซโลนา (Barcelona) ซึ่งเรียกว่า ‘Dream Team’ ได้รับการสนใจจากบุคคลทั่วโลก พ.ศ. 2537 FIBA ได้ปรับปรุงกติการ ดังนี้ – ก าหนดระบบการแข่งขัน 2 x 20 นาที หรือ 4×12 นาที – การส่งบอลเข้าเบ่นให้ส่งใกล้จุดเกิดเหตุ รวมถึงเส้นหลัง – ผู้เล่นก าลังยิงประตู ให้นับรวมถึงกรณีผู้เล่นการลอยตัวในอากาศจากการยิงประตูจนกว่าเท้าสัมผัสพื้น ทั้งสองข้าง – สามารถกระโดดยัดห่วง (Alley-oop) จากการส่งบอลและลูกบอลนั้นย้อยลงมาเหน็จห่วงได้ – เปลี่ยน ‘ฟาล์วเจตนา’ เป็น ‘ฟาล์วขาดน้ าใจนักกีฬา’ – ยกเลิกบทลงโทษ ‘1+1’ ให้ใช้บทลงโทษการโยนโทษ 2 ครั้ง แทน – หากผู้เล่น,ผู้ฝึกสอนหรือผู้ติดตามทีม ถูกขานฟาล์วเสียสิทธิ์ ต้องออกจากสนามแข่งขันกลับไปยังห้องพัก หรือออกจากอาคารการแข่งขัน – จากสถานการณ์การโยนโทษ ให้มีผู้เล่นทั้งสองทีมท าการแย่งลูกบอลในช่องยืนโยนโทษ ไม่เกิน 6 คน (รวมผู้โยนโทษด้วย ทีมละ 3 คน) พ.ศ. 2541 FIBA ได้มีการเปลี่ยนแปลงกติกา ดังนี้ – ยกเลิก ‘บอลเข้าสู่การเล่น (Ball in Play)’ – เปลี่ยนแปลง ‘บอลดี’ ขณะส่งบอลเข้าเล่นและการเล่นลูกกระโดด – ขอเวลานอกเพิ่มเป็น 3 ครั้ง – 2 นาทีสุดท้ายของครึ่งเวลาหลังหรือช่วงต่อเงลาเพิ่มพิเศษ เมื่อเกิดการยิงประตูธรรมดาเป็นผล นาฬิกา แข่งขันจะหยุด – ผู้เล่นผ่ายรุกปละฝ่ายป้องกัน ห้ามสัมผัสลูกบอลเหนือห่วงประตูและขณะลูกบอลการะทบกระดาน หลังจากการยิงประตู – บทลงโทษของการฟาล์วคู่ ทีมที่ครอบครองบอลแล้วเกิดกระท าฟาล์วคู่ ยังคงได้ส่งบอลเข้าเล่นแทนการ เล่นลูกกระโดด – ใช้ ‘ ฟาล์วเทคนิคขาดน้ าใจนักกีฬา ’ ให้โยนโทษ 2 ครั้งและครอบครองบอล พ.ศ. 2543 Central Broad of FIBA ได้เปลี่ยนแปลงกติกาดังนี้ – ระบบการแข่งขัน เป็น 4 period ๆ ละ 10 นาที (4X10 นาที)
– ฟาล์วทีมรวมเหลือ 4 ครั้งต่อ period ครั้งต่อไปให้โยนโทษ 2 ครั้ง – พักการแข่งขัน period ที่ 1-2,3-4 หรือช่วงต่อเวลาเพิ่มพิเศษ 2 นาที พักการแข่งขัน period ที่ 2-3 เป็นเวลา15 นาที – ขอเวลานอก period ที่ 1,2,3หรือช่วงต่อเวลาเพิ่มพิเศษได้ 1 ครั้ง ขอเวลานอก period ที่ 4 ได้ 2 ครั้ง – ให้เวลานอก 1 นาทีเต็ม ถึงแม้ทีมที่ขอเวลานอกพร้อมแข่งขัน – เปลี่ยนกติกาว่าด้วย 30 วินาที และนาฬิกา 24 วินาทีเริ่มต้นนับใหม่เมื่อลูกบอลหลุดจากมือจากการยิง ประตูและสัมผัสห่วง ประตู หากลูกบอลลอยในอากาศจากการยิงประตูแล้วเสียงสัญญาณ 24 วินาทีดังขึ้น นาฬิกาแข่งขันหยุดทันที หากบอลเข้าห่วงประตู ให้นับคะแนน หากไม่ลงถือเป็นผิดระเบียบ ให้ฝ่ายตรง ข้ามได้ส่งบอลเข้าเล่น – ทีมครองครองบอลต้องพาบอลสู่แดนหน้า ลดเหลือ 8 วินาที – ช่วง 2 นาทีสุดท้ายของ period ที่ 4 หรือช่วงต่อเวลาเพิ่มพิเศษ เมื่อเกิดการยิงประตูเป็นผล นาฬิกา แข่งขันจะหยุด ทีมที่มีสิทธิ์ส่งบอลเข้าเล่นจากการเสียประตู ขอเปลี่ยนตัวได้ และฝ่ายตรงข้ามขอ เปลี่ยนตัวตามได้ – FIFA จะใช้ระบบการตัดสิน 3 คน ส าหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกและการแข่งขันชิงชนะเลิศแห่งโลก – ส าหรับระบบการตัดสินใจ 3 คน หากฝ่ายจัดการแข่งขันพิจารณาแลัวและมีความเห็นให้ใช้ก็สามารถ กระท าได้ – บทลงโทษการฟาล์วเทคนิคผู้เล่น ให้โยนโทษ 1 ครั้ง และครอบครองบอล พ.ศ. 2543 FIBA Technical Commission ได้เผยแพร่เอกสารการวินิจฉัยและตีความอธิบาย รายละเอียดของกติกาและเหตุการณ์ ที่เกิดให้ชัดเจนขึ้น พ.ศ. 2544 FIBA Technical Commission ได้เผยแพร่เดกสารเน้นจุดส าคัญของการปฏิบัติ เช่น การ ลงโทษ,การพิจารณาการเล่นที่ได้เปรียบ/เสียเปรียบ – ได้เผยแพร่เอกสารเน้นการแข่งขันอย่างรวดเร็ว,การเคลื่อนที่ของผู้ตัดสินใน สนาม, ระบบการตัดสินที่ ชัดเจน และการวินิจฉัยตีความเพื่อแนวทางในมื่อเกิดเหตุการณ์ในสนาม เมื่อสิ้นทศวรรตที่ 20 (พ.ศ.2543) ประมาณกันว่ามีผู้นิยมกีฬาบาสเกตบอลกว่า 250 ล้านคน และมี ประเทศที่เป็นสมาชิกสหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติ (F.I.B.A.) 208 ประเทศ https://tonburin.wordpress.com/กฎและกติกาบาสเกตบอล