The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รุปภาษาไทย ตำบลบูกิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nirada1709, 2022-05-21 10:09:09

รุปภาษาไทย ตำบลบูกิต

รุปภาษาไทย ตำบลบูกิต



กิจกรรมฝึ กภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ติ



บนั ทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ กศน. อำเภอเจาะไอรอ้ ง
ท…ี่ ………………………………………………………………….วนั ที่ ๒๙ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔
เรอื่ ง รายงานผลโครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจงั หวัดชายแดนใต้ (ภาษาไทย)

เรยี น ผู้อำนวยศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเจาะไอร้อง

๑ .เรอ่ื งเดมิ
ตามท่ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง

ขออนญุ าตดำเนินกจิ กรรมโครงการฝึกประสบการณ์การใชภ้ าษาจงั หวัดชายแดนใต้ (ภาษาไทย) (จำนวน
๓๐ ช่ัวโมง) ระหวา่ งวันที่ ๑๖ – ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๔ ณ หมู่ ๕ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง โดยใช้
งบประมาณ แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์เพ่อื สนบั สนนุ ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
โครงการบริหารจดั การศกึ ษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ น้ัน

๒. ข้อเท็จจริง
บดั น้ี โครงการดังกลา่ วไดด้ ำเนินการเสรจ็ ส้นิ เรยี บร้อยแลว้ จงึ ไดจ้ ัดทำสรปุ รายงานผล

การดำเนนิ งานโครงการฯ จำนวน 1 เลม่ เพ่ือมอบให้ผทู้ ไ่ี ด้รับมอบหมายต่อไปดงั แนบ

ลำดับที่ โครงการ/กจิ กรรม ค่าเป้าหมายตาม ผลการดำเนินงาน ชาย หญิง
แผน (คน) (คน) (คน) (คน)
1 โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ 7 7 7
ภ า ษ า จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ใ ต้ -
(ภาษาไทย) 100% 100% 100%
-
รวม -

๓. ข้อกฎหมาย ระเบียบ คำสัง่

๔. ขอ้ เสนอแนะ -

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ

(นางสาวนภสิ า หะยีวาจ)ิ
ครู ผชู้ ่วย

ความคิดเหน็ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ..........................................
(นายคมกฤช สาหลงั )

ผอู้ ำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเจาะไอร้อง

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพื่อการส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกิต



คำนำ

ตามที่สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนราธิวาส ได้
จดั สรรงบประมาณประจำปี ๒๕๖๔ แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนนุ ด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ ง
ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการบรหิ ารจดั การศึกษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ กจิ กรรมการพฒั นาการ
จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ งบรายจ่ายอ่ืน รหัส
งบประมาณ ๒๐๐๐๒๓๕๐๓๖๗๐๐๐๐๕ โครงการฝึกประสบการณก์ ารใชภ้ าษาจังหวัดชายภาคแดนใต้
กจิ กรรมฝึกภาษาเพอ่ื การส่ือสาร เพื่อผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมโครงการฝกึ ประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาไทย) กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และ
สามารถภาษาไทยได้ รวมทั้งสามารถใช้ในการติดต่อส่ือสารที่เป็นประโยชน์สูงสุดตอ่ การพัฒนาคุณภาพ
ชีวิต รวมทัง้ ได้รบั การพฒั นาคุณภาพชีวติ ให้มแี นวทางในการดำเนินชวี ิตไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

บัดนี้การดำเนินการดังกล่าวลุล่วงไปด้วยดี ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง ได้จัดทำสรุปโครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
กิจกรรมฝึกภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาไทย) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ และได้สรุปสาระสำคัญใน
ภาพรวมของการดำเนินงาน เพ่ือเผยแพร่ผลงานการจัดกิจกรรม อันจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริหาร
ผปู้ ฏิบัติงาน และภาคีเครือข่าย เพ่ือนำไปเปน็ ขอ้ มูลพนื้ ฐานในการพัฒนางานให้เกดิ ประโยชนแ์ ก่ประชาชน
กลุม่ เปา้ หมายได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพต่อไป

กศน.ตำบลบกู ติ

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ติ

สารบญั ข

เรือ่ ง หนา้
บทที่ ๑ บทนำ
- ความเปน็ มาและความสำคัญของโครงการ ๑
- วตั ถุประสงค์ ๑
- เป้าหมาย ๑
- งบประมาณ ๒
- ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ ๒
- เครอื ข่ายทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ๒
- โครงการทเี่ กี่ยวขอ้ ง ๓
- ผลลัพธ์ ๓

บทท่ี ๒ เอกสารท่เี ก่ียวข้อง ๔
๑๙
บทท่ี ๓ วธิ ีดำเนินการ ๑๙
- ขั้นการเตรียมการ ๑๙
- ขั้นดำเนินการ ๑๙
- นเิ ทศตดิ ตามผล และรายงานผล / ประเมนิ ผล ๑๙
- ดชั นชี ว้ี ดั ผลสำเร็จของโครงการ
๒๑
บทท่ี ๔ ผลการศกึ ษา ๒๔

บทท่ี ๕ สรปุ ผลการศึกษา ๒๕
๒๖
บรรณานกุ รม ๒๗
ภาคผนวก
- ภาพประกอบกจิ กรรม
- โครงการ

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพอ่ื การส่ือสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ติ



บทที่ ๑
บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคญั

ตามท่ี รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ไดแ้ ถลงนโยบายต่อสภานิติ
บัญญตั ิแห่งชาติ เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๒ กนั ยายน ๒๕๕๗ ข้อ ๒.๒ เร่งแก้ปญั หาการใช้ความรุนแรงในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ โดยทำยุทธศาสตร์ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา การใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตร แนวสันติวิธี
ส่งเสรมิ การพดู คุยสันติ กับผู้มคี วามคดิ เห็นตา่ งจากรฐั สรา้ งความเช่ือมั่น ในกระบวนการยตุ ิธรรมตามหลกั
นิติธรรมและหลกั สิทธิมนุษยชน โดยไมเ่ ลอื กปฏิบัติ ควบคูก่ บั การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมท่ีสอดคลอ้ ง
ความตอ้ งการของประชาชนในพ้นื ที่ ซึ่งเปน็ พหสุ ังคม ประกอบกับรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้
มอบนโยบายเฉพาะ โดยกำหนดใหด้ ำเนนิ การให้เหน็ ผลภายใน ๑ ปี เรอื่ งของการพฒั นาการศกึ ษาในพน้ื ที่
จงั หวัดชายแดนใต้และสนับสนุนการแก้ปัญหา และพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ ในเรื่องของการยกระดับ
คุณภาพการศึกษา โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสมยั ใหม่เขา้ มาประยกุ ต์ใชแ้ ละแก้ปญั หา
การอ่านภาษาไทย ไม่ออก เขียนไมไ่ ด้ ของนักเรียนในพ้ืนที่อยา่ งจริงจัง ตลอดจนเน้นเปิดโลกทัศน์ และ
สร้างความหวังการยดึ ม่นั ในหลักคณุ ธรรมใหก้ ับประชาชนในพ้ืนที่จงั หวัดชายแดนภาคใต้ และยังสามารถ
เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจทถ่ี ูกต้องกับองคก์ รระหวา่ งประเทศได้

เพื่ อให้การขับเคลื่อนการดำเนินงานเป็นไปตามนโยบายดังกล่าว และเป็ น
การสนับสนุนการพัฒนาการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษามลายถู ิ่น และภาษาอังกฤษในพื้นท่อี ำเภอเจาะไอร้อง
ส่งเสริมการสรา้ งทัศนคติและแรงจูงใจให้แก่ผู้เรยี นในพ้ืนท่ีใหม้ ีการส่ือสารด้วยภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
เพมิ่ เปน็ ภาษาทส่ี อง ภาษาทส่ี าม นอกจากภาษาถ่นิ รวมท้ังส่งเสริมนโยบาย การพัฒนาการใช้สอื่ การเรียน
การสอนทส่ี อดคลอ้ งและตรงตามความต้องการ มีการบูรณาการให้สอดคล้องกับสภาพความตอ้ งการของ
ท้องถน่ิ และคนในพนื้ ที่มีการจดั การเรียนรู้โดยใช้สามภาษา คอื ภาษาไทย ภาษามลายู และภาษาอังกฤษ
เพ่ือตอบโจทย์ตามนโยบายดา้ นการศกึ ษาดังกล่าว

วัตถปุ ระสงค์
๑. เพอ่ื ให้ผู้เรียนได้ฝึกประสบการณ์ในการใชภ้ าษาไทยและภาษาองั กฤษในการสื่อสารด้านการ

พูดในสถานการณ์ต่างๆ
๒. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจอันดี และมีความสัมพนั ธ์อันดีต่อกันใช้ชีวติ ร่วมกันให้เกิดสงั คม

สนั ติสุข

๓. เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นและผู้เข้าประกวดสามารถส่ือสารภาษาไทยในชีวิตประจำวนั ได้

เปา้ หมาย จำนวน 15 คน
๑. เป้าหมายเชงิ ปริมาณ
ประชาชนในพ้ืนท่ีตำบลบกู ติ จำนวน 7 คน
จำนวน 8 คน
- กิจกรรมฝกึ ภาษาเพือ่ การส่อื สาร(ภาษาไทย)
- กจิ กรรมฝกึ ภาษาเพอื่ การส่ือสาร(ภาษาองั กฤษ)

กิจกรรมฝึ กภาษาเพ่ือการส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ิต



๒. เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ
กลุ่มเปา้ หมายมคี วามรู้ความเข้าใจ และสามารถสื่อสารภาษาไทย และภาษาองั กฤษได้

งบประมาณ
แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

โครงการบรหิ ารจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมการพฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบ
และการศึก ษาตาม อัธยาศั ยใน จังห วัดชายแดน ภาคใต้ งบ รายจ่ายอื่น รหั สงบ ป ระมาณ
๒๐๐๐๒๓๕๐๓๖๗๐๐๐๐๕ โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายภาคแดนใต้ กิจกรรมฝึก
ภาษาเพอื่ การส่ือสาร จำนวนเงิน ๔๕,๐๐๐ บาท (สี่หม่ืนหา้ พนั บาทถ้วน) ตามรายละเอยี ดดังนี้

- กจิ กรรมฝกึ ภาษาเพอ่ื การส่อื สาร (ภาษาไทย)

- ค่าตอบแทนวิทยากร ๒ คน × ๒๐๐ บาท × ๑๘ ชม. จำนวน ๗,๒๐๐ บาท
จำนวน ๖,๓๐๐ บาท
- คา่ อาหารกลางวัน ๒๑ คน x ๑๐๐ บาท x ๓ มื้อ จำนวน ๓,๑๕๐ บาท
จำนวน ๖๓๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดม่ื ๒๑ คน x ๒๕ บาท x ๖ มอ้ื จำนวน ๔,๒๐๐ บาท

- ค่าวสั ด/ุ เอกสาร ๒๑ คน x ๓๐ บาท

- ค่าพาหนะ ๒๑ คน x ๒๐๐ บาท

รวมทั้งสิ้นเปน็ เงินจำนวน ๒๑,๔๘๐ บาท

- กจิ กรรมฝกึ ภาษาเพือ่ การสื่อสาร (ภาษาองั กฤษ) จำนวน ๗,๒๐๐ บาท
- ค่าตอบแทนวทิ ยากร ๒ คน × ๒๐๐ บาท × ๑๘ ชม. จำนวน ๗,๒๐๐ บาท
- ค่าอาหารกลางวนั ๒๔ คน x ๑๐๐ บาท x ๓ ม้อื จำนวน ๓,๖๐๐ บาท
จำนวน ๗๒๐ บาท
- ค่าอาหารวา่ งและเครอ่ื งดม่ื ๒๔ คน x ๒๕ บาท x ๖ มื้อ
- ค่าวสั ด/ุ เอกสาร ๒๔ คน x ๓๐ บาท จำนวน ๔,๘๐๐ บาท

- ค่าพาหนะ ๒๔ คน x ๒๐๐ บาท

รวมทง้ั สน้ิ เปน็ เงนิ จำนวน ๒๓,๕๒๐ บาท
*หมายเหตุ ถวั จา่ ยทุกรายการตามจ่ายจรงิ *

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพ่อื การส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ิต



ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ
คณะครู ทีม กศน.ตำบลบูกิต

เครือขา่ ย
๑. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลทุกตำบล
๒. ผู้นำชมุ ชน/ผนู้ ำศาสนา
๓. คณะกรรมการสถานศกึ ษา

โครงการท่ีเกีย่ วขอ้ ง
๑. โครงการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ิต
๒. โครงการจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสังคมและชุมชน

ผลลพั ธ์ ( Outcome )
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้รวมท้ัง

สามารถใชใ้ นการติดตอ่ สอ่ื สารที่เป็นประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพชีวิต
ดชั นีช้วี ดั ผลสำเร็จของโครงการ

๑. ตวั ชวี้ ดั ผลผลติ ( Output )
กลมุ่ เป้าหมายรอ้ ยละ ๑๐๐ ผา่ นกจิ กรรมตามวตั ถปุ ระสงค์

๒. ตัวชีว้ ัดผลลพั ธ์( Outcome )
รอ้ ยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถสอ่ื สารภาษาไทยและ

ภาษาองั กฤษได้
การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ

๑. การสงั เกตการณ์ระหวา่ งเขา้ รว่ มการอบรม
๒. การกำกบั และการติดตามผลการจดั กจิ กรรม
๓. แบบสอบถามความพงึ พอใจ

กิจกรรมฝึ กภาษาเพ่ือการส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ิต



บทท่ี ๒
เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง

ความหมายของภาษา

ภาษา หมายถึง กรยิ าอาการทีแ่ สดงออกมาแล้วสามารถทำความเข้าใจกันได้

ไมว่ ่าจะเป็นระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ มนุษยก์ ับสตั ว์ หรอื สตั ว์กับสัตว์ ส่วนภาษาในความหมายอย่างแคบ

น้ัน หมายถึง เสยี งพูดทมี่ นุษยใ์ ช้สื่อสารกนั เท่าน้นั หรอื สญั ลกั ษณ์ ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมอื ที่สำคญั

ท่ีสุดในการส่ือความเข้าใจ ระหว่างกันของคนในสังคม ช่วยสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน ช่วยสร้าง

ความสัมพนั ธ์ของคน ในสังคม ถา้ คนในสงั คมพูดกันดว้ ย ถอ้ ยคำท่ดี ีจะช่วยให้คนในสงั คมอยูก่ ันอยา่ งปกติ

สุข ถ้าพูดกันด้วยถ้อยคำไม่ดี จะทำให้เกิดความบาดหมางน้ำใจกัน ภาษาจึงมีส่วนช่วยสร้างมนุษย

สัมพันธ์ ของคนในสังคม ภาษาเป็นสมบัตขิ องสงั คม ภาษาทใี่ ช้ในการส่อื สารมี๒ประเภท คอื วัจนภาษา

แ ล ะ อ วั จ น ภ า ษ า

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ใหค้ ำจำกัดความ ของ

คำว่า ภาษา ไวว้ า่ "ถอ้ ยคำทีใ่ ชพ้ ูดหรอื เขียนเพ่อื สื่อความของชนกลมุ่ ใดกลุม่ หนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน

หรือเพ่ือสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนังสือ หรือ

กิ ริ ย า อ า ก า ร ที่ ส่ื อ ค ว า ม ไ ด้

ภาษาท่ใี ชใ้ นการสอ่ื สารมี ๒ ประเภท คอื วัจนภาษาและอวัจนภาษา

๑. วัจนภาษา (verbal language)

วัจนภาษา หมายถึง ภาษาถ้อยคำ ได้แก่ คำพูดหรือตัวอักษรท่ีกำหนดใช้ร่วมกันใน

สงั คม ซ่งึ หมายรวมทงั้ เสยี ง และลายลักษณ์อกั ษร ภาษาถอ้ ยคำเป็นภาษาท่ีมนุษย์สร้างขึ้นอย่างมีระบบ มี

หลักเกณฑ์ทางภาษา หรือไวยากรณ์ซ่ึงคนในสงั คมต้องเรยี นรู้และใช้ภาษาในการฟัง พูด อ่าน เขยี นและ

คิด การใช้วัจนภาษาในการสื่อสารต้องคำนึงถึงความชัดเจนถูกต้องตามหลักภาษา และความเหมาะสม

กบั ลกั ษณะ การสอ่ื สาร ลักษณะงาน เป้าหมาย

๒. อวัจนภาษา (non-verbal language)

อวจั นภาษา หมายถงึ เป็นการสอื่ สารโดยไมใ่ ชถ้ อ้ ยคำ ทัง้ ท่ีเปน็ ภาษาพดู และ

ภาษาเขียน เปน็ ภาษาทมี่ นุษยใ์ ชส้ อื่ สารกนั โดยใชอ้ ากปั กิริยา ท่าทาง น้ำเสยี ง สายตาหรือ ใช้วัตถุ การใช้

สญั ญาณ และส่ิงแวดลอ้ มต่าง ๆ หรือแสดงออกทางดา้ นอน่ื ทส่ี ามารถรบั รกู้ ันได้ สามารถแปลความหมาย

ได้และทำความเขา้ ใจต่อกนั ได้

การส่ือสาร (Communication)

ความหมาย : การสือ่ สาร (communication) คือกระบวนการในการสร้างปฏิสัมพนั ธ์
ระหว่างบุคคลในสังคมหรือในกลุ่ม เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาระหว่างผู้เกี่ยวข้อง โดยตั้งใจ
(ร้ตู ัว) และไมต่ ้งั ใจ(ไมร่ ู้ตัว) และโดยที่แตล่ ะบคุ คลทเี่ กยี่ วข้องจะเปน็ ท้ังผ้สู ่งสารและรบั สารไปดว้ ยกนั และ
ในเวลาเดียวกัน ในลกั ษณะการสื่อสารแบบสองทาง (two-way Communication) เชน่ ครใู นฐานะผสู้ ่ง

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพอื่ การส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกิต



สารพูดกับนักเรียนเป็นรายบุคคล หรือกับท้ังห้อง เป็นการส่ือสารความคิดของครูแก่นักเรียน

ขณะเดียวกนั ครกู เ็ ปน็ ผ้รู บั สารทนี่ กั เรยี นสง่ กลบั มาในรูปของสีหน้า แววตา ทา่ ทาง หรอื คำพดู ทส่ี ะทอ้ นถงึ

ความคิดและความรู้สึกของนักเรียนท่ีมีต่อครู ผู้ส่ือสารที่ดีจึงต้องเป็นท้ังผู้ส่งสารท่ีดี และผ้รู ับสารท่ีดีใน

เว ล า เ ดี ย ว กั น

กระบวนการสอ่ื สาร : กระบวนการสือ่ สารมหี ลายรปู แบบ ทใ่ี ชบ้ ่อยได้แกก่ ารสอื่ สารโดย

ใช้เสี ยง (Voice Communication) เช่น การพู ด ก ารร้อ งเพ ล ง ก ารอุท าน ก ารพู ด (Verbal

Communication) เป็นรูปแบบหน่ึงของการสื่อสารโดยเสียง กระบวนการสอื่ สารอีกแบบ ทใี่ ชม้ ากและ

สำคัญกว่าการใช้เสียงคือการส่ือสารด้วยภาษากาย (Physical or non-verbal Communication) เช่น

การแสดงสีหน้า ทา่ ทาง การเคลื่อนไหวรา่ งกาย การวางระยะห่างระหว่างบุคคล เป็นตน้ วิธีการสือ่ สาร

ด้วยภาษากายเหลา่ น้ี สามารถสะท้อนความคิดและความรูส้ กึ ภายในของผูส้ ่งสารได้อย่างเทย่ี งตรงกวา่ การ

ใ ช้ ค ำ พู ด

ในปัจจุบันมีการสื่อสารรูปแบบใหม่ ๆ เกิดขึ้น เช่น การส่ือสารผ่านทางตัวหนังสือ (การเขียนจดหมาย

เขียนข่าว หรือเขียนบทความในหนังสือพิมพ์ วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่างๆ) การสื่อสารโดยระบบ

ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ (E-mail Website เ ป็ น ต้ น )

อกี รปู แบบหนงึ่ คอื การส่ือสารผ่านงานศิลป์ (การวาดภาพ งานป้นั และดนตรี เป็น

ต้น)การสื่อสารในกลุ่มเหล่านี้ บางส่วนก็มีลักษณะเป็น one way communication เช่น การเขียน

จดหมาย การเขียนบทความลงในส่ิงพิมพ์ ภาพวาด บางส่วนก็ก่ึงๆ oneway และ twoway

communication เช่น การส่ือสารโต้ตอบกันผ่าน website ท่ีแต่ละฝ่ายติดต่อกันผ่านข้อความบนหน้า

คอมพิวเตอร์ โดยอาจมภี าพและเสียงประกอบ อย่างไรก็ตาม การสื่อสารในกลุ่มน้ี มขี อ้ จำกัดหลายอยา่ ง

ยากต่อการสื่อความเข้าใจกันได้โดยสมบูรณ์ เมื่อเทียบกับการส่ือสารสองทางโดยการใช้เสียงและภาษา

กายประกอบ

ปัจจยั ทีม่ ีผลตอ่ การสอื่ สาร

(๑) ความพรอ้ มของผสู้ ง่ และผรู้ บั สาร : ผสู้ ง่ และผรู้ บั สารตอ้ งมีความพร้อมทง้ั ด้านรา่ งกาย ด้าน

จติ ใจ ดา้ นสังคม และด้านสตปิ ญั ญา

ด้านร่างกาย ต้องพร้อม ไมเ่ จบ็ ปว่ ย พิการ อ่อนเพลีย หิวเกนิ อ่มิ เกิน สมองและระบบประสาท

ทำงานเปน็ ปกติ เป็นตน้

จิตใจและอารมณ์ อยู่ในสภาวะสุขสบายตามสมควร ไม่เครียดมาก ไม่วิตกกังวล ฟ้งุ ซา่ น

หวาดระแวง ไมถ่ กู ครอบงำดว้ ยอารมณท์ ่ีรุนแรง หรอื ดว้ ยความคิดท่ีมีอคติ(ไมต่ รงตอ่ ความจริง)

สงั คมและสิง่ แวดล้อมควร อยู่ในสภาวะทเี่ อ้อื อำนวย ไมม่ สี ภาพของความกดดนั มาก

ผสู้ ือ่ สารควรมีความรู้ความเขา้ ใจ ในวัตถุประสงคข์ องการสอื่ สารนัน้ เขา้ ใจการใชภ้ าษาทง้ั ภาษา

พดู ภาษากาย เขา้ ใจและรกู้ ระบวนการสือ่ สาร เป็นต้น

(๒) สภาพของส่อื :ส่ือท่ีดคี วรมลี กั ษณะง่าย สน้ั ไม่ซบั ซอ้ น ใช้ภาษาและท่าทางท่เี ขา้ ใจกัน บน

พื้นฐานทางสังคมประเพณี วัฒนธรรมที่คลา้ ยๆ กัน มีการเรยี บเรยี งออกมาอยา่ งเปน็ ระบบเปน็ ตน้

(๓) กระบวนการสือ่ สาร:สอ่ื ไม่ว่าในรปู ของเสยี ง คำพดู หรอื ภาษากาย ควรแสดงออกมาโดย

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพือ่ การส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ิต



ชัดเจน สามารถสง่ และรบั สารได้ไม่ยาก เหมาะสมกับเน้อื หา เหตุการณ์ และโอกาส เชน่ พูดชดั มองเห็น
ไดช้ ัดเจน มกี ารเคล่อื นไหวร่างกายทส่ี อดคลอ้ งกนั เป็นต้น

(๔) สมั พันธภาพ:สัมพันธภาพที่ดีต่อกันเปน็ เรอื่ งสำคัญ ถา้ ผสู้ ง่ และผู้รบั สอื่ มสี ัมพันธภาพต่อกัน
โดยเหมาะสม การสือ่ สารระหวา่ งบุคคลทงั้ สองกจ็ ะมปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้น
ทกั ษะในการสื่อสารที่ดี

๑. attending คือ การต้ังใจ ใหค้ วามสำคัญตอ่ การส่งและรบั สื่อ เช่น การพูดอย่างตั้งใจ การ
แสดงความสนใจ การสบตา การแสดงท่าทกี่ ระตอื รือรน้ สนใจ เชน่ การขยบั ตัวเข้าไปใกล้ การผงกศรี ษะ
แสดงความเข้าใจ เป็นต้น

๒. Paraphasing คือ การพูดทวนการสะท้อนคำพดู เปน็ การแสดงความสนใจและความต้องการ
ท่จี ะรูเ้ พมิ่ เติม

๓. Reflection of feeling คอื การสะทอ้ นอารมณท์ อ่ี กี ฝ่ายแสดงออกมา กลบั ไปใหผ้ ู้น้ันเขา้ ใจ
อารมณข์ องตนเองมากข้ึน

๔. Summarizing คอื การสรปุ ความ ประเดน็ ที่สำคัญเป็นระยะ เพือ่ ความเขา้ ใจท่ตี รงกัน
๕. Probing คือ การซักเพ่ิมเตมิ ประเด็นท่ีสนใจ เพือ่ หาความชดั เจนเพ่ิมขึน้
๖. Self disclosure คอื การแสดงท่าทเี ปิดเผยเป็นมิตรของผสู้ ง่ สารโดยการแสดงความคดิ เห็น
หรือความรสู้ กึ ของตน ท่ไี มใ่ ชก่ ารขัดแยง้ หรือตำหนิ
๗. Interpretation คือ การอธบิ ายแปรความหมายในประสบการณ์ทอี่ กี ฝา่ ยแสดงออกเพ่อื ให้
เกดิ ความเข้าใจ ร้ใู นสิง่ ทม่ี อี ยู่
นั้นมากขน้ึ
๘. Confrontation คือการนำประเด็นทผี่ สู้ ง่ สารพูดหรือแสดงออกดว้ ยท่าทาง ทเ่ี กดิ จากความ
ขดั แยง้ สบั สน ภายในของผสู้ ่งสารเองกลบั มา ใหผ้ ู้สง่ สารไดเ้ ผชญิ กบั ความขัดแยง้ สบั สนทม่ี อี ยูใ่ นตนเอง
เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจในตนเองเพม่ิ ข้ึน
ธรรมชาตใิ นปฏิสัมพนั ธท์ างสังคมของมนษุ ย์
Robert E.Park ธรรมชาติในปฏิสมั พันธท์ างสงั คมของมนษุ ย์มี ๔ รปู แบบ ด้วยกัน ได้แก่
๑. การแข่งขนั (Competition)
๒. ความขัดแยง้ (Conflict)
๓. ความอารีอารอบต่อกัน (accommodation)
๔. การซมึ ซบั (assimilation)

การจัดการที่ดี โดยเทคนคิ การส่ือสาร จะชว่ ยลดการแข่งขันและขดั แยง้ เกดิ ความอารอี า
รอบ และการยอมรบั ซง่ึ กนั และกัน เกิดสงั คมที่เป็นสขุ และก้าวหน้าต่อไป

"แบบจำลองการสือ่ สารขั้นพน้ื ฐาน"
แบบจำลองพนื้ ฐานทางการสื่อสาร เป็นแผนภาพที่ใช้อธิบายการสอื่ สารอย่างงา่ ยๆ บางแบบกม็ ี

ความย่งุ เหยงิ ซบั ซ้อน บางแบบอธบิ ายปจั จัยในตัวคน บางแบบกอ็ ธบิ ายความสมั พนั ธข์ องคนกบั สังคมหรอื

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพื่อการส่ือสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกิต



ส่ิงแวดลอ้ ม หรอื บางแบบกม็ องอทิ ธพิ ลของสงั คมต่อการกระทำการสือ่ สารของคน แตอ่ ย่างไรกต็ าม
แบบจำลองแตล่ ะแบบกม็ จี ดุ มงุ่ หมายในการอธบิ ายกระบวนการสอ่ื สารท่แี ตกตา่ งกนั เพราะแบบจำลองก็
คือ คำอธบิ ายตัวทฤษฎีโดยพยายามทำใหง้ า่ ยและสามารถพสิ จู น์ใหเ้ หน็ จรงิ ได้ สามารถกำหนดทางเลอื ก
ของการคาดคะเนพฤติกรรม หรือเหตกุ ารณท์ เี่ ก่ยี วขอ้ งกับการส่อื สารในอนาคตได้ นอกจากน้ียังสามารถ
นำไปประยกุ ตไ์ ด้ เป็นคำอธิบายของกระบวนการสอื่ สารโดยทั่วๆ ไปได้ โดยไมไ่ ด้เจาะจงวา่ เป็น
กระบวนการส่ือสารประเภทใด แตส่ ง่ิ หนงึ่ ทจ่ี ะต้องคำนึงถงึ ก็คอื วา่ แตล่ ะทฤษฎหี รอื แบบจำลองนัน้ ไม่
สามารถจะอธิบายกระบวนการสือ่ สารทง้ั หมดได้อย่างสมบรู ณ์ แตต่ อ้ งอาศยั ทฤษฎหี ลาย ๆ ทฤษฎีมาชว่ ย
อธบิ ายเพอื่ ให้เกดิ ความสมบรู ณ์ยง่ิ ขนึ้ แบบจำลองการสอื่ สารที่จะกล่าวในที่นี้จะมเี พียง ๕ แบบจำลอง
จากหลายๆ แบบจำลองทีเ่ ป็นแบบจำลองหรอื ทฤษฎีการสอื่ สารขั้นพน้ื ฐานทส่ี ำคัญๆดงั น้ี

๑. แบบจำลองการส่ือสารขน้ั พ้นื ฐานตามแนวคดิ ของแชนนนั และวีเวอร์

แชนนนั (C. Shannon) และวีเวอร์ (W. Weaver) ไดส้ รา้ งแบบจำลอง การสื่อสารขน้ั พ้นื ฐาน
เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ซงึ่ ถอื เป็นแบบจำลองทีร่ จู้ กั กนั แพรห่ ลายในวงการสอื่ สารยคุ เรมิ่ ตน้ ในชือ่ วา่
แบบจำลองการส่อื สารเชิงทฤษฎีคณิตศาสตร์ (The Mathematical Theory of Communication) ท่ี
ชื่อเป็นแบบน้เี พราะผ้คู ิดค้นแบบจำลองท่ีช่อื วา่ แชนนัน เปน็ นกั คำนวณดา้ นวิศวกรรมไฟฟ้า โดยเขาคดิ ค้น
ขึน้ เพอื่ นำไปประยุกต์ใชใ้ นงานดา้ น การสือ่ สารทางโทรศัพทใ์ นประเด็นทว่ี า่ การติดตอ่ สอื่ สารประเภทใด
จงึ จะทำใหจ้ ำนวนของสญั ญาณมไี ดม้ ากทสี่ ุด และสญั ญาณทถ่ี า่ ยทอดไปจะถูกทำลายโดยสง่ิ รบกวนมาก
น้อยเพยี งไรนบั แต่เริม่ สง่ สญั ญาณไปจนถึงผูร้ บั

แบบจำลองการสอื่ สารประเภทนี้ เป็นแบบจำลองการสือ่ สารท่ีพยายามเอาวิชาการหรือทฤษฎี
ทางด้านคณิตศาสตรม์ าอธบิ ายถึงกระบวนการหรือปรากฎการณ์ทางการสอ่ื สาร
การสอ่ื สารตามแนวความคิดของแชนนัน และเพ่อื นรว่ มงานท่ชี ่ือว่า วีเวอร์นัน้ เปน็ แบบจำลองกระบวนการ
สอื่ สารทางเดียวในเชิงเส้นตรง คือ ถอื วา่ การสอื่ สารเกิดข้ึนจากการกระทำของผสู้ ่งสารไปยงั ผูร้ บั สารเพยี ง
ฝา่ ยเดียว ซึ่งองค์ประกอบของการกระทำการสอื่ สารตามแบบจำลองของแชนนนั และวเี วอร์ มี
ด้วยกนั ๖ ประการ ตามแผนภาพดงั นี้

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพ่ือการส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกิต



จากแบบจำลองน้ี จะเหน็ ได้ว่า "แหลง่ สารสนเทศ" จะทำหนา้ ท่ี สรา้ งสารหรือเนอ้ื หาขา่ วสารซึ่ง
อาจเปน็ รปู คำพดู ขอ้ เขียน ดนตรี หรอื รปู ภาพ เปน็ ตน้ ซ่ึงสารนจี้ ะถกู สื่อออกไปโดยสารน้ันจะถูกสรา้ ง
ข้นึ เปน็ สญั ญาณโดย "ตวั ถ่ายทอด"หรือ"ตวั แปลสาร" สญั ญาณนี้จะถกู ปรบั เปลยี่ นโดยเหมาะกบั "ทาง
ตดิ ตอ่ " หรือ "ผา่ นชอ่ งสาร" ไปถงึ "ผรู้ ับ" หน้าที่ของ "ผูร้ บั " จะแปลงสญั ญาณท่ไี ด้รับกลบั มาเป็นสาร
แสดงว่า "สาร" ไปถึงจดุ หมายปลายทางของการส่อื สาร

ตวั อย่าง เช่น นาย ก. แหลง่ สารสนเทศ สง่ เน้อื หาข่าวสารเป็นคำเขียนโดยสง่ ผ่านเคร่ืองสง่ หรอื
ตวั แปลสารหรือตัวถา่ ยทอด แปลงคำเขยี นเปน็ สญั ญาณ เชน่ สัญญาณโทรเลข โทรสารสง่ ผ่านชอ่ งสารโดย
สัญญาณนัน้ จะตอ้ งเหมาะสมกบั ช่องสารดว้ ยกอ่ นไปสจู่ ุดมงุ่ หมายปลายทาง โดยผ่านสญั ญาณนั้นมาที่
เครือ่ งรับทางฝ่ายผรู้ ับ เพอ่ื แปลงสญั ญาณกลบั มาเปน็ เน้ือหาของสาร(คำเขยี น) อกี คร้งั หนึ่ง แลว้ จงึ สง่ ไปยงั
จดุ หมายปลายทาง (สมมตนิ าย ข. เปน็ ผรู้ บั สาร ผรู้ บั สารรบั ทราบสารดงั กล่าว) ซง่ึ อาจเกดิ อปุ สรรคหรอื
เสยี งรบกวนหรอื สงิ่ รบกวนได้ในขบวนการของชอ่ งทางการสอ่ื สาร แลว้ แต่กรณี ๆ ไป เชน่ กรณโี ทรสารท่ี
ส่งผ่านมาทางสญั ญาณโทรศัพท์ ผสู้ ง่ อาจส่งมาจำนวน ๕ หนา้ แตผ่ ูไ้ ด้รบั อาจไดร้ บั เพยี ง ๔ หนา้ อุปสรรค
อาจเกดิ จากปัญหาของสญั ญาณ หรือจากการส่งถงึ ฝา่ ยสารบรรณ ก่อนถึงตัวผู้รบั แล้วจำนวนหน้าอาจ
หายไป ๑ หน้ากเ็ ป็นได้ ดังน้นั จึงตอ้ งมีการติดต่อสอ่ื สารกลับไปยังผสู้ ง่ สารใหม่ เพอ่ื ใหส้ ง่ เนอื้ หาของสาร
หน้าทขี่ าดหายไปมาใหม่ (ตามกระบวนการเดมิ ขา้ งตน้ ) แตส่ ิ่งที่ควรคำนงึ ถงึ กค็ อื การลดอปุ สรรคทางการ
ส่อื สารน้ีอาจทำใหก้ ารสอื่ สารมปี ระสิทธิภาพมากขนึ้ แตใ่ นขณะเดยี วกัน สง่ิ ทก่ี ระทำในการลดอุปสรรค
ทางการสอ่ื สารน้ี อาจทำให้ตอ้ งเสียเวลา เสยี ค่าใช้จ่าย หรือทำให้ขอ้ มลู ที่ตอ้ งการสง่ ออกไปยงั ผรู้ ับลด
น้อยลงได้ ในครัง้ หนึง่ ๆ เชน่ ในกรณีข้างตน้ ทีต่ ้องมีการติดต่อกลบั ไปยงั ผสู้ ง่ สารใหม่ เพ่อื จัดสง่ ข้อมลู
หน้าที่ขาดหายไป ส่วนกรณีหลังการส่งข้อมลู ซำ้ ๆ ในช่องทางของการโทรสาร (Fax) จะทำใหส้ ้นิ เปลอื ง
คา่ ใชจ้ ่าย หรอื ถ้าหากมกี ารกำหนดในการสง่ สญั ญาณแต่ละครง้ั วา่ กี่หน้ากจ็ ะทำใหส้ ง่ ขอ้ มลู ออกไปได้
นอ้ ยลง

แบบจำลองการสือ่ สารเชิงคณติ ศาสตรข์ องแชนนนั และวีเวอร์นี้ ถอื ได้ว่าเป็นตน้ แบบแหง่
ความคดิ และกระตุน้ ใหน้ กั วิชาการเกดิ ความสนใจในการคดิ ค้นแบบจำลองการสือ่ สารของมนษุ ย์มากย่ิงข้ึน

๒. แบบจำลองการสอ่ื สารขนั้ พื้นฐานตามแนวคิดของลาสเวลล์
ฮาโรลด์ ดี ลาสเวลล์ (Harold D. Lasswell) นกั รัฐศาสตร์ชาวอเมรกิ ันไดเ้ สนอบทความทเี่ ปน็

การเรม่ิ ตน้ อธิบายการสื่อสารทม่ี คี นรจู้ กั มากทสี่ ดุ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ โดยเสนอว่า วิธีที่สะดวกทจี่ ะอธิบาย
การกระทำการสอ่ื สารกค็ ือ การตอบคำถามต่าง ๆ ดังตอ่ ไปนี้

๑. ใคร (who)
๒. กล่าวอะไร (says what)
๓. ผ่านชอ่ งทางใด (in which channel)
๔. ถึงใคร (to whom)
๕. เกดิ ผลอะไร (with what effect)
จากขอ้ ความดังกลา่ วข้างตน้ สามารถเขียนเป็นแบบจำลองการสอื่ สารไดด้ งั น้ี

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพ่อื การส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกิต



แบบจำลองการสอื่ สารตามแนวคิดของฮาโรลด์ ดี ลาสเวลล์
แบบจำลองการสือ่ สารของลาสเวลล์เปน็ ทฤษฎกี ารส่ือสารทอี่ ธิบายกระบวนการสอื่ สารเชงิ

พฤติกรรม เป็นการศึกษาปฏกิ ริ ยิ าระหวา่ งผสู้ ง่ สารและผรู้ บั สาร เน้อื หาข่าวสารชนิดของส่ือ
และผลทเี่ กดิ จากการกระทำการสือ่ สารน่ันเอง

นอกเหนอื จากน้ันแบบจำลองการสอ่ื สารของลาสเวลลข์ ้างต้นน้ี ยังถอื ว่าเป็นตัวแทนของ
แบบจำลองการสื่อสารในระยะแรกๆแบบจำลองนถี้ ือวา่ ผูส้ ง่ สารมเี จตนาในอนั ท่ีจะมีอทิ ธิพลเหนือผู้รบั สาร
เพราะช่วงระยะเวลาทลี่ าสเวลล์ใหค้ ำอธบิ ายน้ี เป็นระยะท่นี กั วชิ าการผสู้ นใจวชิ าการทางดา้ นนี้มีความเช่อื
วา่ กระบวนการสื่อสารน้ัน สว่ นใหญ่แล้วเป็นกระบวนการในเชิงโน้มน้าวใจ และถอื ว่า สารทสี่ ่งไปนั้น
จะตอ้ งมผี ลเสมอไป และโดยส่วนตัวแล้วลาสเวลล์เปน็ ผทู้ ส่ี นใจต่อการสอื่ สารทางการเมอื ง และการ
โฆษณาชวนเชอื่ แบบจำลองนจ้ี งึ เหมาะแก่การใช้วิเคราะหก์ ารโฆษณาชวนเชอ่ื ทางการเมอื งและการโนม้
นา้ วใจ

แต่อยา่ งไรกต็ ามมผี ูว้ ิจารณท์ ฤษฎีน้วี ่า ลาสเวลลอ์ ธิบายกระบวนการส่ือสารอย่างง่ายเกนิ ไปเพราะ

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพื่อการส่ือสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ติ

๑๐

จริง ๆ แล้วกระบวนการสอ่ื สารมีความซบั ซอ้ นมากกวา่ ทจี่ ะพจิ ารณาเพียงวา่ ผสู้ ง่ สารส่งขา่ วสารไปยงั ผรู้ บั
สารโดยผา่ นชอ่ งทางการส่ือสารแบบหนงึ่ แบบใด และเกดิ ผลจากการสอื่ สารนั้น ๆ ซึ่งผลในที่นี้ไมไ่ ดด้ ูในแง่
ปฏกิ ิริยาตอบกลบั ของผูร้ บั สารวา่ พอใจหรอื ไม่พอใจ เชื่อหรอื ไม่เชือ่ คิดแต่เพียงว่าจะตอ้ งมผี ลตาม
เจตนารมณท์ ผี่ ้สู ง่ สารตอ้ งการ เชน่ ตอ้ งการโฆษณาชวนเชื่อหรือโนม้ นา้ วใจสิ่งใดส่ิงหนง่ึ เปน็ ต้น เพราะการ
สื่อสารโดยท่ัวไปยงั มีปจั จยั อนื่ ๆ เกดิ ขน้ึ ในขณะทำการสือ่ สารดว้ ย เช่น สภาพสิ่งแวดลอ้ ม จุดม่งุ หมาย
หรือวตั ถุประสงค์ในการสื่อสาร และขอ้ สำคัญทฤษฎีน้ีขาดปัจจัยสำคญั ปจั จยั หน่ึงในกระบวนการสอ่ื สาร
น่ัน คอื ผลสะท้อนกลบั หรอื ปฏกิ ิรยิ าตอบกลบั (feedback)

ในกรณีของปฏกิ ริ ยิ ายอ้ นกลบั (Feedback) หรอื บางคนกเ็ รียกว่าผลสะทอ้ นกลบั หรือปฏกิ ริ ยิ า
ตอบกลบั น้ี ถอื วา่ เปน็ องคป์ ระกอบหนง่ึ ทส่ี ำคัญในกระบวนการสอ่ื สาร ไม่วา่ จะเปน็ การส่อื สารระหว่าง
บุคคล การส่ือสารกลมุ่ เล็ก-กลุม่ ใหญ่ หรือการสอ่ื สารมวลชน เพราะปฏิกริ ิยาสะทอ้ นกลบั น้ีจะเปน็ ตัว
บง่ ชีไ้ ด้ถึงผลของการสอ่ื สารในแตล่ ะคร้ังว่าผรู้ ับสารมีความรู้สึกนึกคดิ อย่างไรต่อสารที่ได้รบั นั้น
นอกจากนน้ั ปฏิกริ ิยาสะท้อนกลบั จะทำให้องคป์ ระกอบของการสอื่ สารครบบรบิ รู ณข์ ึ้น คือ มกี ารสื่อสาร
ทงั้ จากผสู้ ่งสาร และผรู้ บั สารทเ่ี รยี กว่า Two-way Communication หรือการสอ่ื สารสองทาง ซ่งึ สามารถ
ที่จะเขยี นออกมาเป็นแบบจำลองครา่ ว ๆ คือ

ตัวอย่างในเรื่องของปฏิกิริยาสะท้อนกลับนี้ หากเป็นการส่ือสารระหว่างบุคคลจะ
สงั เกตเห็นได้ง่ายโดยตรงและทนั ที เชน่ ก. ผสู้ ่งสาร ทำการสอื่ สารกบั ข. ผรู้ ับสารโดยคุยกันเก่ยี วกับหัวข้อ
เรื่องใดเร่ืองหนึ่งอยู่ หาก ข. มีความรู้สึก หรือมีความคิดหรือมีทัศนคติไม่เห็นด้วย ข. ก็สามารถแสดง
ปฏิกิริยาสะทอ้ นกลบั ไปได้ทนั ท่วงทีด้วยการใชค้ ำพดู หรือการใชก้ ิริยาท่าทางท่นี ิง่ เฉยกไ็ ด้ ซึ่ง ก. จะไดร้ บั รู้
ในเวลาเดียวกนั แต่ถ้าหากว่าเป็นการส่อื สารในระดับการสอื่ สารมวลชนทผี่ ่านทางองค์กรส่อื สารมวลชน
ต่าง ๆ เชน่ หนังสือพมิ พ์ วิทยุ โทรทัศน์ น้ันปฏิกิริยาสะท้อนกลบั จะเป็นไปได้ช้ากว่าการสอ่ื สารระหว่าง
บคุ คล โดยเฉพาะอย่างยิง่ สอื่ หนังสอื พิมพ์ ที่ลงข่าวหรือความคิดเห็นเกี่ยวกบั เรือ่ งใดเร่อื งหนึ่ง แล้วผู้อา่ น
ไม่เห็นด้วย ผู้อ่านหรือผู้รับสารอาจสามารถแสดงปฏิกิริยาสะท้อนกลับได้ด้วยการส่งจดหมายถึง
บรรณาธิการหนังสือพิมพ์น้ัน ๆ หรอื หากไม่ชอบกับการเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์ฉบับใดมาก ๆ อาจจะ
แสดงปฏกิ ิรยิ าสะทอ้ นกลบั ดว้ ยการเลิกซ้ือหนงั สือพิมพ์ฉบับน้ันก็ได้ แต่ถ้าเปน็ สือ่ วทิ ยุ และวิทยุโทรทัศน์
แลว้ เป็นการจดั รายการสดมีการเปิดโอกาสให้ผู้รบั ฟังและรับชมสามารถโทรศัพทเ์ ขา้ ไปแสดงความคดิ เห็น
ในรายการได้โดยตรง ก็ถือวา่ เป็นปฏิกิรยิ าสะท้อนกลับไปยังผู้ส่งสารได้รวดเร็วเช่นกนั เพียงแต่ผู้รับสาร
จำนวนมากๆ เหลา่ น้ันไม่สามารถแสดงปฏิกิริยาตอบกลับไดใ้ นเวลาเดียวกันหมดทุกคน (มคี วามแตกต่าง
ในเวลาในการแสดงปฏิกิริยาตอบกลับ)

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกติ

๑๑

๓. แบบจำลองการสอื่ สารตามแนวความคิดของออสกูดและวลิ เบอร์ ชแรมม์
แบบจำลองการสือ่ สารทอ่ี อสกดู เป็นตน้ คิด และวิลเบอร์ ชแรมม์ นำมาขยายความและเป็นผูเ้ สนอไว้ในปี
พ.ศ. ๒๔๙๗ น้ี มีลกั ษณะเปน็ วงกลม ทีเ่ น้นให้เหน็ ว่า ทัง้ ผสู้ ง่ สารและผรู้ บั สารต่างกระทำหนา้ ที่อย่าง
เดียวกนั ในกระบวนการสื่อสาร น่นั คอื การเข้ารหสั (encoding)
การถอดรหัส (decoding) และการตคี วาม (interpreting) ซ่งึ สามารถแสดงเปน็ ภาพไดด้ ังน้ี

แบบจำลองการส่ือสารตามแนวคิดของออสกูดและวิลเบอร์ ชแรมม์
ความหมายของการเข้ารหสั การถอดรหสั และการตีความสาร

การเข้ารหสั หมายถงึ การทผี่ สู้ ง่ สาร แปลสาร (ขอ้ มลู ความคิด ความรูส้ กึ ) ใหเ้ ป็นภาษา
หรือรหสั อ่นื ๆ ทเี่ หมาะแก่วธิ กี ารถา่ ยทอด หรือส่อื หรอื ชอ่ งทางการสอ่ื สาร และเหมาะกบั ผรู้ บั สาร
กล่มุ เปา้ หมาย

การถอดรหสั หมายถงึ การทผี่ ู้รบั สารแปลรหสั หรอื ภาษากลบั เป็นสาร
(ขอ้ มูลความคดิ ความร้สู ึก) อกี ครง้ั หน่งึ เพอ่ื สกดั เอาความหมายท่ีผสู้ ง่ สารส่งมาหรอื ตอ้ งการส่อื ความหมาย
มา

การตีความสาร หมายถึง การทผี่ สู้ ่งสารและผรู้ บั สารสามารถท่จี ะตีสารที่ตนไดร้ บั ไป
ในทางทีอ่ ีกฝ่ายหนงึ่ ประสงค์ (ตคี วามหมายสารไดต้ รงกัน) การสื่อสารในคร้งั นั้น ๆ ก็จะสมั ฤทธิ์ผล การ
ตคี วามสารนม้ี ีความสำคญั มากตอ่ ผลของการส่อื สาร และการตคี วามสารของผสู้ ง่ สารและผรู้ บั สารจะ
คล้ายคลึงกันหรือแตกตา่ งกนั จะข้นึ อยู่กบั กรอบแห่งการอ้างอิง (Frame of reference) ของผกู้ ระทำการ
สอื่ สารทง้ั ๒ ฝ่ายเปน็ สำคญั

ตวั อย่างของการเขา้ รหสั และการถอดรหสั เช่น ในการสนทนาระหว่างบุคคล ๒ คน การทำหนา้ ท่ี
เขา้ รหสั สาร กระทำไดโ้ ดยกลไก การพดู และกลา้ มเน้อื ซึ่งสามารถแสดงอากัปกริ ิยาได้ สว่ นการถอดรหสั จะ
เกดิ ข้นึ ไดโ้ ดยประสาทสัมผสั ท้ังหลายเชน่ ประสาทสมั ผสั ของการได้ยนิ ไดฟ้ ัง ประสาทสมั ผสั ของการเหน็

กิจกรรมฝึ กภาษาเพอื่ การส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ิต

๑๒

สมั ผสั แตะต้อง ตลอดจนการไดก้ ล่นิ และการไดล้ ิ้มรส
ตวั อยา่ งของการตคี วามสารตามกรอบแห่งการอา้ งองิ (Frame of reference) หรอื กรอบแหง่

ประสบการณ์ร่วม (Field of experience) เช่น ในการสือ่ สารระหวา่ งสมชาย (พอ่ ) กบั สมศกั ดิ์ (ลกู ) ใน
ตอนสายของเช้าวันหนงึ่ ทีพ่ อ่ เข้ามาเห็นลกู น่ังอยู่ทบี่ า้ นโดยยังไมย่ อมไปโรงเรยี น พ่อจงึ ถามสมศักดว์ิ ่า ทำไม
จึงยงั ไม่ไปโรงเรียน สมศกั ดิ์ ตอบพอ่ วา่ "ผมไมม่ มี ้ดู " เมอ่ื สมชาย (พอ่ ) ไดย้ ินเชน่ นั้น กบ็ อกว่า "เอา้ ไมม่ ีมู้ด
กเ็ อาเงนิ ไปซอ้ื ซะ" สมศักด์กิ ต็ อบวา่ "พอ่ ไม่เข้าใจ ผมไมม่ มี ู้ดครบั " ที่เปน็ เชน่ นเี้ พราะ สมชายตีความสารท่ี
สมศักดส์ิ ่งมาในการสอ่ื สารครั้งนนั้ ผดิ พลาดไป โดยคดิ วา่ มู้ดเป็นเครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการเรยี นอย่างหนงึ่ เหมอื น
อย่างกบั ที่สมศักดเิ์ คยขอสตางคไ์ ปซื้อเพอ่ื นำไปโรงเรียน
นนั่ หมายความวา่ สมชายตคี วามสารของสมศกั ดจิ์ ากประสบการณร์ ว่ มทเ่ี คยมีกนั มากอ่ น
๔. แบบจำลองการสอื่ สารตามแนวคดิ ของเบอรโ์ ล

เดวดิ เค เบอรโ์ ล (David K. Berlo) เสนอแบบจำลองการสอื่ สารไว้ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ โดย
อธิบายว่า การสอ่ื สารประกอบดว้ ยส่วนประกอบพ้นื ฐานสำคญั ๖ ประการ คือ

๑. ตน้ แหล่งสาร (communication source)
๒. ผเู้ ข้ารหัส (encoder)
๓. สาร (message)
๔. ชอ่ งทาง (channel)
๕. ผู้ถอดรหสั (decoder)
๖. ผรู้ ับสาร (communication receiver)

จากส่วนประกอบพ้ืนฐานสำคญั 6 ประการน้นั เบอร์โล ไดน้ ำเสนอเป็นแบบจำลองการ
สื่อสารทรี่ ู้จกั กันดโี ดยทัว่ ไปว่า "แบบจำลอง SMCR ของเบอรโ์ ล"(Berlo's SMCR Model)โดยเบอร์โลไดร้ วม
ต้นแหลง่ สารกบั ผู้เข้ารหสั ไวใ้ นฐานะตน้ แหลง่ สารหรือผู้สง่ สาร และรวมผถู้ อดรหสั กบั ผูร้ บั สารไวใ้ นฐานะ
ผู้รบั สาร แบบจำลองการสอื่ สารตามแนวคิดของเบอรโ์ ลน้ี จงึ ประกอบไปดว้ ย S (Source or Sender) คือ
ผ้สู ง่ สาร M (Message) คือ สาร C (Channel) คอื ช่องทางการสอื่ สาร R (Receiver) คอื ผรู้ ับสาร ซงึ่
ปรากฎในภาพต่อไปน้ี

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพอื่ การส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ติ

๑๓

จากแบบจำลองการส่ือสารตามแนวคิดของเบอรโ์ ลข้างตน้ น้ี แสดงใหเ้ ห็นวา่
ผูส้ ง่ สาร (Source or S) คอื ผเู้ ริ่มต้นการส่อื สาร ทำหน้าทใี่ นการเข้ารหสั ซง่ึ ผู้สง่ สารจะทำหน้าท่ี

ในการสื่อสารไดด้ ีเพยี งใดนั้น ข้ึนอย่กู ับคุณสมบัติตา่ ง ๆ ๕ ประการคอื
๑. ทักษะในการสือ่ สาร เช่น ความสามารถในการพูด การเขยี น และ ความสามารถในการคดิ และ

การใชเ้ หตผุ ล เป็นต้น
๒. ทัศนคติ หมายถงึ วธิ ีการทบี่ ุคคลประเมนิ สิ่งต่าง ๆ โดยความโน้มเอียงของตนเองเพอ่ื ทจ่ี ะ

เข้าถงึ หรอื เปน็ การหลีกเลี่ยงส่งิ นั้น ๆ เชน่ ทศั นคติต่อตนเอง ต่อหัวขอ้ ของการสอ่ื สาร ต่อผรู้ ับสาร ตอ่
สถานการณแ์ วดลอ้ มการส่อื สารในขณะน้ัน เปน็ ต้น

๓. ความรู้ หมายถงึ ความรู้ของผ้สู ง่ สาร ในเหตกุ ารณ์หรอื เรอื่ งราวตา่ ง ๆ บุคคลหรอื กรณี
แวดล้อมของสถานการณ์การสอ่ื สารในครั้งหน่ึง ๆ วา่ มคี วามแมน่ ยำหรอื ถกู ต้องเพยี งไร

๔. ระบบสงั คม ซึง่ จะเปน็ ตัวกำหนดพฤติกรรมการสอื่ สารของบุคคล เพราะบุคคลจะขนึ้ อย่กู ับ
กล่มุ ทางสงั คมทต่ี นเองอยู่ร่วมด้วย

๕. ระบบวัฒนธรรม หมายถงึ ขนบธรรมเนยี ม คา่ นิยม ความเชือ่ ทเ่ี ป็นของตวั มนษุ ย์ในสงั คม
และเป็นตัวกำหนดทสี่ ำคญั ในการส่อื สารดว้ ย เชน่ การสอ่ื สารระหว่างบคุ คลต่างวฒั นธรรมกัน อาจประสบ
ความลม้ เหลวได้เนอื่ งจากความคดิ และความเช่ือทมี่ ีไมเ่ หมอื นกันระหว่างผสู้ ่งสารและผู้รบั สาร

ในแงข่ องสาร (Message or M) นั้น เบอรโ์ ล หมายรวมถงึ ถอ้ ยคำ เสยี ง การแสดงออกด้วยสี
หนา้ อากัปกริ ิยาท่าทาง ท่ีมนษุ ย์สรา้ งขนึ้ ในขณะทเี่ ป็นผู้สง่ สาร ถา้ ความหมายเปน็ ทางการ ก็คือ ผลผลิต
ทางกายภาพทเี่ ป็นจริงอันเกดิ จากผลการเข้ารหสั ของผสู้ ง่ สารน่ันเอง ตามความคิดของเบอร์โลน้ัน สารมี
คณุ สมบตั ิ ๓ ประการคือ

๑. รหัสของสาร (message code) เช่น ภาษาพดู ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง หรือรหสั อนื่ ๆ
๒. เนื้อหา (content)
๓. การจัดสาร (treatment) คือ วิธีการทผี่ สู้ ง่ สารเลือกและจัดเตรยี มเนื้อหาของสาร เช่น การใช้
ภาษา ไวยากรณ์ ศพั ท์ รวมถึง คำถาม คำอทุ าน ความคดิ เหน็ เปน็ ต้น สารท่ีถกู จดั เตรยี มไว้ดี จะทำใหเ้ กิด

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพอ่ื การส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ิต

๑๔

การรบั รู้ความหมายในผรู้ บั สารได้
สว่ นชอ่ งทาง (Channel or C) ช่องทาง ซึ่งเป็นพาหนะนำสารไปสู่ผรู้ ับสาร และตามทศั นะของ

เบอรโ์ ล ทางติดตอ่ หรอื ชอ่ งทางทจี่ ะนำสารไปสู่ประสาทรับความรสู้ ึกทง้ั ๕ ประการของมนษุ ย์ ได้แก่
๑. การเหน็
๒. การไดย้ นิ
๓. การสมั ผสั
๔. การได้กล่นิ
๕. การลม้ิ รส
ประการสุดทา้ ยในด้านของผู้รบั สารนน้ั กจ็ ำเป็นจะต้องมีคุณสมบตั ดิ ้านตา่ งๆ ๕ ประการ

เช่นเดยี วกบั ผสู้ ง่ สาร คือ ทกั ษะในการสอ่ื สาร ทัศนคติ ความรู้ ระบบสังคมและระบบวัฒนธรรม

๕. แบบจำลองการสอื่ สาร ABX ของธีโอดอร์ นวิ คอมบ์

แบบจำลองการสือ่ สารตามแนวคิดของนวิ คอมบ์น้ี เป็นแบบจำลองเชงิ จติ วทิ ยา เน้นวา่ การ
สือ่ สารจะเกิดขึน้ เพราะมนุษยต์ ้องการใหเ้ กิดความสมดุลยห์ รอื ความเหมอื นกนั ทางความคดิ ทศั นคติ และ
พฤติกรรมต่าง ๆ โดยมองวา่ การส่อื สารสามารถชว่ ยให้เกดิ ความตกลงใจหรอื ยอมรับในเร่ืองใดเรอื่ งหนึ่ง
เหมอื น ๆ กัน แต่เมอื่ ใดเกิดความไมส่ มดลุ ย์ แนน่ อนความยงุ่ ยากทางจติ ใจจะเกิดขนึ้ แนน่ อนมนษุ ย์กจ็ ะ
พยายามทำการสอื่ สารในรูปของการแสวงหาข้อมูลจากทีต่ า่ ง ๆ อาจจะเปน็ ส่อื มวลชน เพื่อนฝงู คนรอบ
ขา้ ง คนทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั เหตกุ ารณห์ รอื เรื่องทที่ ำให้เกิดความไมส่ มดลุ ย์น้ัน โดยนำข้อมูลมาแลกเปลี่ยนกัน
เพอ่ื ขจัดความยุ่งยากหรือความเครยี ดอนั เกิดจากความไมส่ มดุลยน์ ัน้ ๆ

แบบจำลอง ABX ของนิวคอมม์ เปน็ รูปแบบของความสัมพนั ธข์ องคน ๒ คน (คอื A และ B ) กบั
สิ่งใดสงิ่ หนง่ึ ไมว่ า่ จะเปน็ เหตกุ ารณ์ วัตถุ ส่ิงของ หรืออื่น ๆ (ในทีน่ สี้ มมติว่าเปน็ X ) จะได้ครบตามช่ือ
ทฤษฎีเลย คือทงั้ A ทง้ั B และ XX

http://e-book.ram.edu/e-book/m/mc111/mc111_03_04.html
การสอื่ สารดงั กล่าวนี้ เกิดข้นึ เพือ่ ทจี่ ะสนับสนนุ ทัศนคตทิ ่มี ตี อ่ กัน โดยการรกั ษาความสมดลุ ย์ให้
คงไว้ หรอื ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพือ่ ให้เกดิ ความสมดุลย์ย่งิ ขนึ้ โดยการให้ขอ้ มลู ข่าวสารเกยี่ วกบั ความ
เปลย่ี นแปลงเพื่อใหเ้ กิดการปรบั ตัวหรอื ปรับทศั นคติ น่ันคอื ความต้องการความสมดลุ ยก์ ระตนุ้ ให้เกิดการ

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพอื่ การส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกติ

๑๕

สือ่ สาร (การแลกเปล่ยี นขอ้ มลู , ความคิดเหน็ ) ซง่ึ เป็นลกั ษณะปกติของความสัมพันธ์ เช่น A กบั B ไมร่ ู้จกั
กนั มาก่อน ไม่ได้รสู้ กึ ไม่ชอบหน้าหรอื ไมไ่ ดเ้ กลียดกนั หรอื อยา่ งนอ้ ยกเ็ ฉย ๆ แนวโน้มท่ี A กบั B จะมี
ความคิดหรอื ทัศนคติ ต่อ X ทีค่ ล้ายคลงึ กันก็ได้ แต่ถ้าความร้สู กึ หรอื ทศั นคตทิ ม่ี ีต่อ X ไม่เหมอื นกันเลย ก็
อาจจะมที างออกได้ ๓ อยา่ งคอื ทั้ง A และ B ตา่ งก็ต้องหันกลับไปทำการสอ่ื สารดว้ ยวิธีตา่ ง ๆ เพือ่ หา
ข้อมูลมาสนับสนุนในสง่ิ ทตี่ นเองมคี วามร้สู กึ ต่อ X ถา้ หากเดมิ A ชอบ X แต่ B ไมช่ อบ X เมอ่ื ตา่ งฝา่ ยต่าง
หาข้อมลู มาสนบั สนุนหรอื เพอ่ื ลดความขดั แยง้ แลว้ เหตุผลของ A ดกี ว่า B ก็อาจจะหันมาชอบหรอื เห็น
ดว้ ยกับ X ก็ได้ แต่ถา้ หากเหตผุ ลของ B ดกี วา่ A กอ็ าจจะหนั มาไม่ชอบ X ไปกบั B ดว้ ยก็ได้ หรือถ้าหาก
ไม่ได้เปน็ ไปใน ๒ แนวทางน้นั กอ็ าจมหี นทางท่ี ๓ ก็คอื ตา่ งคนต่างยืนยันในสง่ิ ทตี่ นเองชอบ และไม่ชอบ ก็
จะทำให้ความคดิ ของทง้ั สองฝ่ายคงเดมิ แลว้ บุคคลทงั้ ๒ กเ็ ลกิ ทำการตดิ ต่อกนั เสียในเรือ่ งนนั้ ๆ

เพราะฉะนน้ั เหตุและผลของการกระทำการส่ือสาร มไิ ดเ้ ปน็ ไปเพื่อการสร้างความ
เหมอื นกันหรือความสมดลุ ยก์ ันแต่เพยี งอย่างเดียว แตอ่ าจจะเป็นไปเพือ่ ยนื ยันความแตกตา่ งกนั ก็ไดห้ รือ
เพ่อื สรา้ งสัมพันธภาพใหม่ ๆ ให้เกิดขน้ึ ก็ไดแ้ บบจำลองของนวิ คอมป์น้ี ไมส่ ามารถนำไปอธบิ ายการสือ่ สาร
ของกลมุ่ ขนาดเลก็ ในระดบั สงั คมท่ใี หญโ่ ตได้ เพราะสงั คมท่ีใหญ่นน้ั มนุษย์มไิ ด้มีความต้องการทจี่ ะให้
เหมอื นกัน หรือไมส่ ามารถเปน็ หนงึ่ เดยี วกันเหมอื นระดบั บคุ คลนอกจากแบบจำลองการสอื่ สารตาม
แนวความคดิ ของนิวคอมปแ์ ลว้ ยงั มกี ารศึกษาคน้ ควา้ แบบเดยี วกนั กับของนิวคอมป์ คอื การศึกษาของ
นกั จติ วิทยาสงั คม ที่ช่อื วา่ เฟสตงิ เจอร์ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ เฟสติงเจอร์ เปน็ ผตู้ ั้งทฤษฎคี วามไม่สอดคล้อง
ทางความคดิ (Cognitive Dissonance Theory) โดยค้นพบวา่ การตดั สินใจ ทางเลอื กและข่าวสารข้อมลู
ใหม่ ๆ ทง้ั หลาย มีศักยภาพสงู พอที่จะกอ่ ใหเ้ กิดความไมส่ อดคล้องกันหรอื ความไม่เหมือนกันทางความคดิ
ก่อให้เกิดความยงุ่ ยากใจ เป็นความรสู้ กึ ทางจิตวทิ ยา ดังน้ันผู้ที่เกดิ ความยงุ่ ยากใจหรอื เกิดความคิดทีไ่ ม่
สอดคล้องกัน จะถกู กระตุ้นด้วยความรสู้ ึกนั้น ๆ ใหต้ ้องไปแสวงหาข้อมลู เพอ่ื จะมาชว่ ยสนบั สนุนการ
ตัดสนิ ใจ หรอื การเลือกทางเลอื กทไี่ ด้ตดั สินใจกระทำลงไป เช่น ซือ้ รถมาคนั หนึง่ แลว้ กย็ งั ไมว่ ายทจ่ี ะ
แสวงหาขอ้ มลู ทจ่ี ะมาสนบั สนนุ การตกลงใจ หรอื การตัดสนิ ใจของตนเองอยเู่ สมอ อาจจะดว้ ยการอ่าน
โฆษณาเก่ยี วกับรถ นติ ยสารรถ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ท่เี ปน็ ยห่ี อ้ เดียวกบั ทตี่ นซื้อมา หรอื พดู คุย
แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ หรอื ติดต่อสอื่ สารกับบคุ คลอืน่ ๆ ที่ตดั สินใจซื้อหรือใชผ้ ลติ ภณั ฑน์ ัน้ ๆ
เหมอื นกบั ตน มากกว่าที่จะอา่ นโฆษณารถหรอื ผลติ ภณั ฑย์ หี่ อ้ อื่น ๆ หรือมากกว่าทจ่ี ะตดิ ต่อสอ่ื สารกับคน
ที่ตัดสนิ ใจไมเ่ หมือนตน แตใ่ นบางครงั้ ก็อาจแสวงหาขา่ วสารผลติ ภัณฑป์ ระเภทเดยี วกัน แต่เป็นยห่ี ้ออ่ืน ๆ
เพ่อื หาขอ้ เสียหรือจุดบกพร่องของย่หี อ้ น้นั ๆ เพือ่ เป็นการเนน้ ถงึ สงิ่ ทเ่ี ราไดต้ ัดสินใจกระทำลงไปวา่ ถกู ตอ้ ง
และดที ส่ี ดุ แลว้ เชน่ กนั

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพอื่ การส่ือสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกติ

๑๖

ควาคมวสาำมคัญสำขคอัญงภขาอษงาภไทายษาไทย

ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และ
เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเปน็ ไทย เป็นเคร่ืองมือในการตดิ ต่อสื่อสารความเข้าใจและ
ความสัมพันธท์ ี่ดีตอ่ กัน ทำให้สามารถประกอบกจิ ธรุ ะการงานและดำรงชีวิตร่วมกันในสงั คมประชาชาติได้
อย่างสนั ตสิ ุข และเป็นเครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ จากแหล่งข้อมลู สารสนเทศตา่ งๆ
เพื่อพัฒนาความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม และ
ความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ทาง
สงั คมและเศรษฐกจิ นอกจากน้ียงั เป็นสอื่ ท่ีแสดงภูมิปญั ญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี ชีว
ทัศน์ โลกทัศน์ และสุนทรียภาพ โดยบันทึกไว้เป็นวรรณคดีและวรรณกรรมอันล้ำค่า ภาษาไทยจึงเป็น
สมบัตขิ องชาติที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ เพอ่ื อนุรกั ษ์และสบื สานให้คงอยคู่ ู่ชาตไิ ทยตลอดไป
ธรรมชาติ / ลักษณะเฉพาะ ของภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือใช้สื่อสาร เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันและตรงตามจุดหมายไม่ว่าจะ
เป็นการแสดงความคิด ความต้องการและความ รู้สึก คำในภาษาไทยย่อมประกอบด้วยเสียง รูป
พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และความหมาย ส่วนประโยคเป็นการเรยี งคำตามหลักเกณฑ์ของภาษา และ
ประโยคหลายประโยคเรยี งกันเป็นข้อความ นอกจากนั้นคำในภาษาไทยยังมเี สียงหนัก เบา มรี ะดบั ของ
ภาษา ซ่ึงใช้ให้เหมาะแก่กาลเทศะและบุคคล ภาษาย่อมมีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ตามสภาพ
วฒั นธรรมของกลุ่มคน ตามสภาพของสังคมและเศรษฐกิจ การใชภ้ าษาเปน็ ทกั ษะท่ีผูใ้ ช้ตอ้ งฝึกฝนให้เกิด
ความชำนาญ ไม่วา่ จะเป็นการอ่าน การเขียน การพดู การฟัง และการดสู ่ือต่างๆ รวมทงั้ ตอ้ งใชใ้ ห้ถกู ตอ้ ง
ตามหลักเกณฑท์ างภาษา เพ่ือสื่อสารใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ และ ใช้อยา่ งคล่องแคล่ว มีวจิ ารณญาณและ
มีคณุ ธรรม

วิสยั ทศั น์กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ภาษาไทยเป็นเครอื่ งมือของคนในชาตเิ พอ่ื การสอื่ สารทำความเข้าใจกันและใชภ้ าษาในการประกอบกจิ การ
งานท้ังส่วนตัว ครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและประเทศชาติ เป็นเคร่ืองมือการเรียนรู้ การบันทึก
เรื่องราวจากอดีตถึงปัจจุบัน และเป็นวฒั นธรรมของชาติ ดังนั้นการเรียนภาษาไทย จงึ ตอ้ งเรยี นรู้เพ่ือให้
เกิด ทักษะอย่างถูกต้อง เหมาะสมในการส่ือสาร เป็นเครื่องมือในการเรียนแสวงหาความรู้ และ
ประสบการณ์ เรยี นรู้ในฐานะเป็นวัฒนธรรมทางภาษาใหเ้ กิดความชน่ื ชม ซาบซ้ึง และภูมิใจในภาษาไทย
โดยเฉพาะคุณค่าของวรรณคดี และภูมิปัญญาทางภาษา ของบรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ไว้ อันเป็นส่วน
เสริมสร้างความงดงามในชวี ติ

การเรียนรู้ภาษาไทยย่อมเกี่ยวพันกับความคิดของมนุษย์ เพราะภาษาเป็นสื่อของความคิดการ
เรียนรู้ภาษาไทยจึงต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สร้างสรรค์ คิดวิพากษ์วิจารณ์ คิดตัดสินใจแก้ปัญหา และ
วินิจฉัยอย่างมีเหตุผล ขณะเดียวกันการใช้ภาษาอย่างมีเหตุผลใช้ในทางสร้างสรรค์และใช้ภาษาอย่าง

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพ่ือการส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกติ

๑๗
สละสลวยงดงาม ย่อมสรา้ งเสริมบคุ ลกิ ภาพของผู้ใชภ้ าษาให้นา่ เช่ือถือ และ เช่อื ภูมิด้วย

ภาษาไทยเปน็ ทักษะทีต่ ้องฝกึ ฝนจนเกิดความชำนาญ ในการใชภ้ าษาเพื่อการสือ่ สาร การอา่ น
การฟังเป็นทักษะของการแสดงออกด้วยการแสดงความคิดเห็น ความรู้และประสบการณ์การเรียนรู้
ภาษาไทยจึงตอ้ งเรยี นเพอ่ื การสอื่ สารให้สามารถรับรขู้ อ้ มูลขา่ วสารได้อยา่ งพินิจพเิ คราะหส์ ามารถเลอื กใช้
คำ เรียบเรียงความคิด ความรู้ และใช้ภาษาได้ถกู ตอ้ งตามกฎเกณฑ์ ได้ตรงตามความหมาย และถูกตอ้ ง
ตามกาลเทศะ บคุ คล และใช้ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

ภาษาไทยมีสว่ นท่ีเปน็ เน้ือหาสาระ ไดแ้ ก่ กฎเกณฑท์ างภาษา ซึ่งผใู้ ช้ภาษาจะตอ้ งรู้และใชภ้ าษา
ใหถ้ ูกตอ้ ง นอกจากนัน้ วรรณคดีและวรรณกรรม ตลอดจนบทรอ้ งเล่นของเด็ก เพลงกล่อมเดก็ ปริศนาคำ
ทาย เพลงพน้ื บา้ น วรรณกรรมพน้ื บ้าน เป็นส่วนหนึ่งของวฒั นธรรม ซ่งึ มีคณุ คา่ ตอ่ การเรยี นภาษาไทยจึง
ต้ อ ง เรี ย น ว ร รณ ค ดี วร ร ณ ก ร รม ภู มิ ปั ญ ญ าท าง ภ า ษ า ที่ ถ่ า ย ท อ ด ค วา ม รู้ สึ ก นึ ก คิ ด
คา่ นิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่ืองราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา ในบท
ประพันธ์ท้ังร้อยแกว้ ร้อยกรองประเภทตา่ งๆ เพอ่ื ให้เกดิ ความซาบซ้ึง ความภูมิใจในส่ิงทีบ่ รรพบุรษุ ได้
สงั่ สมและสืบทอดมาจนถึงปจั จบุ นั

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพือ่ การส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกติ

๑๘

บทท่ี ๓
วธิ ีการดำเนนิ งาน

โครงการฝึกประสบการณ์การใชภ้ าษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝกึ ภาษาเพ่ือการส่ือสาร
(ภาษาไทย) ของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง จังหวดั นราธิวาส
เปน็ โครงการทจี่ ดั ทำขน้ึ กลมุ่ เปา้ หมายมีความรคู้ วามเข้าใจ และสามารถภาษาองั กฤษได้ รวมท้งั สามารถใช้
ในการตดิ ต่อส่ือสารท่เี ป็นประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ รวมท้ังได้รับการพฒั นาคุณภาพชวี ิต
ใหม้ แี นวทางในการดำเนนิ ชีวติ ไดอ้ ย่างถกู ต้อง ดงั นี้

ขั้นท่ี ๑ ข้นั การเตรยี มการ
๑.๑ ประชมุ /วางแผนบคุ ลากร
๑.๒ จดั เวทปี ระชาคมสำรวจความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย
๑.๓ เขียนโครงการเพือ่ เสนอขออนมุ ตั งิ บประมาณในการดำเนินโครงการ

ขัน้ ที่ ๒ ขน้ั ดำเนินการ
ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมตามจัดการศึกษาตลอดชวี ติ ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ

(กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะอาชพี วชิ าชา่ งทาสีเบอ้ื งตน้ จำนวน 4๐ ชวั่ โมง)
ข้ันท่ี ๓ นเิ ทศติดตามผล และรายงานผล / ประเมินผล
๓.๑ การนิเทศติดตามผลการดำเนนิ โครงการ
๓.๒ การประเมินผลและสรปุ ผลการดำเนนิ โครงการ
๓.๓ การรายงานและเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

ดชั นีช้ีวดั ผลสำเร็จของโครงการ (Key Performance Indicator: KPI)

ตวั ชีว้ ัดความสำเรจ็ สอดคลอ้ ง วิธีการประเมนิ เครื่องมือทใ่ี ช้
กบั มาตรฐาน กศน.ที่ แบบบันทึกการ

ผลผลิต (Outputs) ประชาชน สังเกต

ในพืน้ ท่ีอำเภอเจาะไอร้อง ๑,๒ การสงั เกต แบบประเมิน
ความพงึ พอใจ
จำนวน ๒๑ คน

ผลลัพธ์ (Outcomes) ร้อยละ

๙๐ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้

ความ เข้ าใจ แ ล ะส าม าร ถ ๑,๒ ประเมินความพงึ พอใจของ
สื่อสารภาษาไทยได้ รวมทั้ง ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม

สามารถใช้ในการติดต่อส่ือสาร

ที่เป็นประโยชน์สูงสุดต่อการ

พฒั นาคุณภาพชวี ิต

กิจกรรมฝึ กภาษาเพอ่ื การสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกิต

๑๙

โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพ่ือการส่ือสาร
(ภาษาไทย) โดยแบ่งค่าในการประเมินออกเป็น ๕ ระดับ ตามแบบของ ลิเคิร์ต (Likert’s five point

rating scale) ดงั นี้

นำ้ หนกั คะแนน ๕ หมายถึง มีความเห็นอยู่ในระดับมากทส่ี ุด
นำ้ หนักคะแนน ๔ หมายถงึ มีความเห็นอยู่ในระดบั มาก

นำ้ หนักคะแนน ๓ หมายถงึ มคี วามเหน็ อย่ใู นระดบั ปานกลาง
น้ำหนกั คะแนน ๒ หมายถึง มคี วามเห็นอย่ใู นระดับนอ้ ย
นำ้ หนกั คะแนน ๑ หมายถงึ มีความเห็นอยู่ในระดับนอ้ ยทีส่ ุด

ในส่วนของการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานในโครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการส่ือสาร (ภาษาไทย) พ้ืนที่ หมู่ ๕ บ้านสเตียร์ ตำบลบูกิต
อำเภอเจาะไอรอ้ ง จังหวัดนราธวิ าส และระดับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการถือว่าเป็นค่าเฉลย่ี ของ

คะแนนทีไ่ ดจ้ ากการตอบแบบสอบถาม ท้ังนี้ผู้จดั กิจกรรมได้กำหนดการวิเคราะห์ตามแนวคิดของ เบสท์
(อ้างถงึ ใน พวงรตั น์ ทวรี ตั น์, ๒๕๔๓ : ๓๐๓) ดงั นี้

คา่ เฉลย่ี ความหมาย

๑.๐๐ – ๑.๔๙ น้อยทส่ี ดุ
๑.๕๐ – ๒.๔๙ นอ้ ย
๒.๕๐ – ๓.๔๙ ปานกลาง

๓.๕๐ – ๔.๔๙ มาก
๔.๕๐ – ๕.๐๐ มากทีส่ ดุ

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพ่ือการส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกิต

๒๐

บทท่ี ๔
ผลการศึกษา

โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการ
สือ่ สาร (ภาษาไทย) พ้ืนท่ี หมู่ ๕ บ้านสเตียร์ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอรอ้ ง จังหวัดนราธิวาส ระหว่าง
วันท่ี ๒๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ถึง ๒๕ เดือนมถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ตามตารางกิจกรรมท่ีกำหนด
โดยใช้แบบสอบถามซงึ่ แบง่ เปน็ ๒ สว่ นดังน้ี

ส่วนท่ี ๑ ขอ้ มลู ท่วั ไป

ตารางท่ี ๑ จำนวนและร้อยละจำแนกตามข้อมูลทั่วไปของผู้รว่ มกิจกรรม

ข้อมลู ท่วั ไป จำนวนผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม รอ้ ยละ

เพศ ๐ ๐.๐๐
ชาย 7 ๑๐๐
หญงิ

อายุ - -
อายตุ ่ำกวา่ ๑๕ ปี
อายุ ๑๕ - ๓๙ ปี 7 ๑๐๐
อายุ ๔๐ - ๕๙ ปี
 อายุ ๖๐ ปีข้นึ ไป - -
-
-

วฒุ ิการศกึ ษา - -
ตำ่ กว่าระดับประถมศกึ ษา - -
ระดบั ประถมศึกษา 2 28.57
ระดบั มธั ยมตอนต้น 5 71.42
ระดับมัธยมตอนปลาย -
ระดับปรญิ ญาตรี - 42.85
อื่น ๆ ระบ(ุ ปวส.) 57.14
3
สถานภาพ 4 -
โสด -
สมรส - ๑๐๐
-
สถานภาพการทำงาน 7
ลูกจา้ ง
เกษตรกร
อื่นๆ

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ิต

๒๑

จากตารางท่ี ๑ สรปุ ไดด้ ังน้ี
เพศ เป็นเพศหญงิ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐
อายุ มีอายุระหว่าง ๑๕ - ๓๙ ปี ร้อยละ ๑๐๐ รองลงมามอี ายรุ ะหวา่ ง - ปี รอ้ ยละ - ตามลำดับ
วฒุ กิ ารศกึ ษา สว่ นใหญม่ ีวุฒกิ ารศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ร้อยละ 28.57
รองลงมามีวุฒกิ ารศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ร้อยละ 71.42
สถานภาพ มสี ถานภาพโสด รอ้ ยละ ๑๐๐
สถานภาพการทำงาน มสี ถานภาพการทำงานอื่นๆ รอ้ ยละ ๑๐๐

จากตารางที่ ๒ พบวา่ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ มคี วามพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรมการดำเนินงานดังนี้

๑. ความพอใจด้านกระบวนการ/ขนั้ ตอนการใหบ้ ริการ
 กระบวนการจัดกจิ กรรมตรงกับวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ สว่ นใหญม่ ีความพึงพอใจอยใู่ นระดับดีมาก
ร้อยละ ๘๗.๓๓ รองลงมาอยูใ่ นระดับดี ร้อยละ ๑๒.๕๐ ตามลำดบั
 การอำนวยความสะดวกในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ส่วนใหญม่ คี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดับดีมาก รอ้ ยละ
๘๕ รองลงมาอยู่ในระดับดี รอ้ ยละ ๑๓.๗๕ และอย่ใู นระดบั ปานกลาง ร้อยละ ๑.๒๕ ตามลำดบั
 ช่วงเวลา/ระยะเวลาในการจดั โครงการ สว่ นใหญม่ ีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ดีมาก ร้อยละ ๘๑.๒๕
รองลงมาอยูใ่ นระดบั ดี ร้อยละ ๖.๒๕ ตามลำดบั
 ได้รับความรหู้ รือประโยชน์จากการจดั กจิ กรรมทุกขนั้ ตอน สว่ นใหญม่ คี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดบั ดี
รอ้ ยละ ๘๒.๗๕ รองลงมาอยู่ในระดบั ดีมาก ร้อยละ ๑๕.๐๐ และอยูใ่ นระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ ๒.๕๐
ตามลำดับ
 สามารถนำความรจู้ ากการเข้ารว่ มกจิ กรรมไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวนั ส่วนใหญม่ ีความพงึ พอใจอยูใ่ น
ระดับดี รอ้ ยละ ๘๓.๗๕ รองลงมาอยใู่ นระดบั ดีมาก ร้อยละ ๑๓.๗๕ และอยู่ในระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ
๒.๕๐ ตามลำดับ
๒. ดา้ นเจา้ หน้าท่ี/วิทยากร
 ความรวดเร็วและคล่องตวั ในการปฏบิ ตั งิ านของเจ้าหน้าที่ ส่วนใหญม่ ีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ดมี าก
ร้อยละ ๘๐.๐๐ รองลงมาอยู่ในระดับดี ร้อยละ ๑๗.๕๐ และอย่ใู นระดบั ปานกลาง ร้อยละ๒.๕๐
ตามลำดับ
 กรยิ า มารยาทและการมมี นุษยส์ มั พนั ธ์ที่ดี สว่ นใหญม่ คี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดมี าก รอ้ ยละ
๙๓.๗๕ รองลงมาอย่ใู นระดบั ดี ร้อย ๖.๒๕ ตามลำดบั
 บริการดว้ ยความเปน็ เสมอภาค เปน็ ธรรม ไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ สว่ นใหญม่ ีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ดมี าก
รอ้ ยละ ๙๓.๗๕ รองลงมาอยู่ในระดับดี รอ้ ยละ ๖.๒๕ ตามลำดบั
 ความพรอ้ มของวิทยากรในการใหค้ วามรู้ สว่ นใหญม่ ีความพึงพอใจอย่ใู นระดบั ดมี าก ร้อยละ ๘๓.๐๐
รองลงมาอยใู่ นระดบั ดี รอ้ ยละ ๑๖.๒๕ และอย่ใู นระดับปานกลาง รอ้ ยละ ๕.๐๐ ตามลำดบั
 วิทยากรเปดิ โอกาสให้ผฟู้ งั ซกั ถามหรือมสี ว่ นรว่ ม ส่วนใหญม่ คี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดมี าก ร้อยละ
๘๕.๗๕ รองลงมาอยู่ในระดบั ดี ร้อยละ ๑๕.๒๕ และอยู่ในระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ ตามลำดับ

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพ่อื การส่ือสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกติ

๒๒
 วิทยากรมคี วามสามารถถ่ายทอดความรตู้ ามลำดับขัน้ ตอนอย่างชดั เจน ส่วนใหญม่ คี วามพงึ พอใจอยู่
ในระดบั ดมี าก ร้อยละ ๘๑.๒๕ รองลงมาอยใู่ นระดบั ดี รอ้ ยละ ๑๘.๗๕ ตามลำดับ
๓.ดา้ นสง่ิ อำนวยความสะดวก
 ความเหมาะสมและความพรอ้ มของสถานท่กี ารจัดโครงการ สว่ นใหญ่มคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดี
รอ้ ยละ ๕๖.๒๕ รองลงมาอยู่ในระดับดมี าก รอ้ ยละ ๔๓.๗๕ และอยู่ในระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ ๓.๓๓
ตามลำดบั
 เอกสารประกอบ/วสั ดอุ ปุ กรณ์ มเี พยี งพอต่อความตอ้ งการ ส่วนใหญม่ ีความพงึ พอใจอยู่ในระดับดี
ร้อยละ ๖๖.๒๕ รองลงมาอยใู่ นระดบั ดีมาก ร้อยละ ๔๓.๗๕ ตามลำดบั
 เอกสารประกอบครอบคลุมเน้ือหาของโครงการ สว่ นใหญม่ คี วามพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั ดีมาก รอ้ ยละ
๖๖.๒๕ รองลงมาอยู่ในระดบั ดี รอ้ ยละ ๓๑.๒๕ และระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ ๒.๕๐ ตามลำดบั

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพื่อการส่ือสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ิต

๒๓

บทที่ ๕
สรุปผลการศกึ ษา

ส่วนท่ี ๑ ขอ้ มูลท่ัวไป

โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพ่ือการสื่อสาร
(ภาษาไทย) พน้ื ที่ หมู่ ๕ บ้านสเตยี ร์ ตำบลบูกติ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวดั นราธวิ าส ระหว่างวันท่ี ๒๓
เดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๔ ถึง ๒๕ เดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๔ จำนวน ๒๔ คน พบว่าเป็นเพศหญิงร้อย
ละ ๑๐๐.๐๐ เพศชายร้อยละ ๐.๐๐ มีอายุระหว่าง ๑๕-๓๙ ปี ร้อยละ ๑๐๐ มีวุฒิการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ ๔๑.๖๗ รองลงมาวฒุ ิการศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น รอ้ ยละ ๕๓.๓๓
มีสถานภาพสว่ นใหญ่ โสด ร้อยละ ๑๐๐ และมสี ถานภาพการทำงานสว่ นใหญ่อน่ื ๆ ร้อยละ ๑๐๐

สว่ นท่ี ๒ ความพึงพอใจตอ่ โครงการ

ผ้เู ข้าร่วม โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝกึ ภาษาเพอื่ การ
สอ่ื สาร (ภาษาองั กฤษ) สว่ นใหญม่ ีความคิดเหน็ ดงั นี้

๑. ความพอใจดา้ นกระบวนการ/ขนั้ ตอนการให้บริการ สว่ นใหญร่ ะดับดมี าก รอ้ ยละ ๘๓.๓๓
 กระบวนการจัดกิจกรรมตรงกับวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ ส่วนใหญ่ระดบั ดมี าก รอ้ ยละ ๘๐.๐๐
 การอำนวยความสะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรม ส่วนใหญร่ ะดับดีมาก รอ้ ยละ ๙๑.๖๗
 ช่วงเวลา/ระยะเวลาในการจดั โครงการ ส่วนใหญร่ ะดับดี รอ้ ยละ ๘๕.๐๐
 ได้รบั ความรูห้ รือประโยชนจ์ ากการจดั กิจกรรมทุกขั้นตอน สว่ นใหญร่ ะดบั ดี รอ้ ยละ ๘๐.๐๐
 สามารถนำความรูจ้ ากการเข้าร่วมกจิ กรรมไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวนั
สว่ นใหญร่ ะดบั ดีมาก รอ้ ยละ 83.33
๒.ด้านเจา้ หน้าที/่ วิทยากร สว่ นใหญร่ ะดบั ดีมาก ร้อยละ 90.00
 ความรวดเร็วและคล่องตัวในการปฏิบัตงิ านของเจา้ หน้าที่ ส่วนใหญร่ ะดับดมี าก ร้อยละ 88.๓๓
 กริยา มารยาทและการมีมนุษย์สัมพันธท์ ด่ี ี สว่ นใหญ่ระดบั ดีมาก รอ้ ยละ 80.00
 บรกิ ารดว้ ยความเป็นเสมอภาค เป็นธรรม ไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ ส่วนใหญ่ระดับดีมาก ร้อยละ 83.33
 ความพร้อมของวิทยากรในการให้ความรู้ สว่ นใหญ่ระดบั ดมี าก รอ้ ยละ 81.67
 วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้ผ้ฟู ังซักถามหรอื มีส่วนร่วม
 วทิ ยากรมีความสามารถถ่ายทอดความรูต้ ามลำดบั ข้นั ตอนอย่างชัดเจน ส่วนใหญ่ระดับดี รอ้ ยละ ๗๘.๓๓
สว่ นใหญ่ระดบั ดี ร้อยละ ๘๘.๓๓
๓.ด้านส่ิงอำนวยความสะดวก ส่วนใหญ่ระดับดมี าก ร้อยละ ๘๘.๓๓
 ความเหมาะสมและความพรอ้ มของสถานทกี่ ารจัดโครงการ
 เอกสารประกอบ/วสั ดอุ ปุ กรณ์ มีเพียงพอต่อความต้องการ
 เอกสารประกอบครอบคลมุ เนอ้ื หาของโครงการ

กิจกรรมฝึ กภาษาเพ่อื การสื่อสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ติ

๒๔

บรรณานกุ รม

ที่มา : http://www.jitjai.com/2009/08/communication-skills.html
https://sites.google.com/site/onlinecitizenship/home/good-
communication/communication-skills
ทมี่ าของข้อมลู : http://e-book.ram.edu/e-book/m/mc111/mc111_03_04.html

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพอื่ การส่ือสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ติ

๒๕

ภาคผนวก

กจิ กรรมฝึ กภาษาเพื่อการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบูกติ

๒๖

โครงการฝกึ ประสบการณ์การใชภ้ าษาจังหวดั ชายแดนภาคใต้
กจิ กรรมฝึกภาษาเพอื่ การสื่อสาร (ภาษาไทย)

ณ หมู่ท่ี ๕ บา้ นสเตยี ร์ ตำบลบูกติ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวดั นราธิวาส
ระหวา่ งวันท่ี ๒๓ เดือนมถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖๔ ถึง ๒๕ เดอื นมถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖๔

กิจกรรมฝึ กภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ติ

๒๗

โครงการฝกึ ประสบการณ์การใชภ้ าษาจังหวดั ชายแดนภาคใต้
กจิ กรรมฝึกภาษาเพอื่ การสื่อสาร (ภาษาไทย)

ณ หมู่ท่ี ๕ บา้ นสเตยี ร์ ตำบลบูกติ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวดั นราธิวาส
ระหวา่ งวันท่ี ๒๓ เดือนมถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖๔ ถึง ๒๕ เดอื นมถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖๔

กิจกรรมฝึ กภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ติ

๒๘
โครงการฝกึ ประสบการณ์การใชภ้ าษาจังหวดั ชายแดนภาคใต้

กจิ กรรมฝึกภาษาเพอื่ การสื่อสาร (ภาษาไทย)
ณ หมู่ท่ี ๕ บา้ นสเตยี ร์ ตำบลบูกติ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวดั นราธิวาส
ระหวา่ งวันท่ี ๒๓ เดือนมถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖๔ ถึง ๒๕ เดอื นมถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖๔

กิจกรรมฝึ กภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ติ

๒๙

กิจกรรมฝึ กภาษาเพือ่ การส่ือสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลบกู ติ


Click to View FlipBook Version