The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปภาษาอังกฤษ ตำบลบูกิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nirada1709, 2022-05-25 11:19:12

สรุปภาษาอังกฤษ ตำบลบูกิต

สรุปภาษาอังกฤษ ตำบลบูกิต



กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการส่ือสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔



บันทกึ ขอ้ ความ

ส่วนราชการ กศน. อำเภอเจาะไอรอ้ ง
ท…่ี ………………………………………………………………….วนั ท่ี ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๔
เรอื่ ง รายงานผลโครงการฝกึ ประสบการณ์การใชภ้ าษาจังหวัดชายแดนใต้ (ภาษาองั กฤษ)

เรียน ผ้อู ำนวยศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเจาะไอรอ้ ง

๑.เรื่องเดมิ

ตามท่ี ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเจาะไอรอ้ ง ขออนญุ าตดำเนนิ กจิ กรรม

โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนใต้ (ภาษาอังกฤษ) ระหว่างวันท่ี ๑๖ – ๑๘

มถิ ุนายน ๒๕๖๔ ณ หมู่ ๑ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง โดยใช้งบประมาณ แผนงาน : ยุทธศาสตร์

เพ่ือสนับสนุนด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการบริหารจัดการศึกษาใน

จงั หวัดชายแดนภาคใต้ น้นั

๒. ขอ้ เทจ็ จรงิ

บดั น้ี โครงการดังกลา่ วได้ดำเนินการเสร็จสน้ิ เรยี บร้อยแล้ว จงึ ไดจ้ ดั ทำสรุปรายงานผล

การดำเนนิ งานโครงการฯ จำนวน 1 เล่ม เพอ่ื มอบใหผ้ ูท้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมายต่อไปดงั แนบ

ลำดบั ที่ โครงการ/กิจกรรม คา่ เป้าหมายตาม ผลการดำเนนิ งาน ชาย หญงิ
(คน) (คน)
แผน (คน) (คน)

1 โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ 8 8 -8

ภ า ษ า จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ใ ต้

(ภาษาอังกฤษ)

รวม 100% 100% - 100%

๓. ขอ้ กฎหมาย ระเบยี บ คำส่งั -

๔. ขอ้ เสนอแนะ -

จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ

(นางสาวนภสิ า หะยวี าจิ)
ครูผชู้ ว่ ย

ความคดิ เหน็ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ...........................................
(นายคมกฤช สาหลงั )

ผ้อู ำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง

กิจกรรมฝึกภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔



คำนำ

ตามท่ีสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัด
นราธิวาส ได้จัดสรรงบประมาณประจำปี ๒๕๖๔ แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนา
และเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ โครงการบริหารจดั การศึกษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ กจิ กรรม
การพัฒนาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ งบรายจ่าย
อน่ื รหสั งบประมาณ ๒๐๐๐๒๓๕๐๗๐๐๐๐๕ โครงการฝึกประสบการณก์ ารใช้ภาษาจังหวดั ชายภาคแดน
ใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพ่ือการสื่อสาร เพ่ือผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษา
จังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการส่ือสาร (ภาษาอังกฤษ) กลุ่มเป้าหมายมีความร้คู วาม
เข้าใจ และสามารถภาษาอังกฤษได้ รวมทั้งสามารถใช้ในการติดต่อส่ือสารที่เป็นประโยชน์สูงสุดต่อการ
พฒั นาคุณภาพชีวิต รวมทง้ั ไดร้ ับการพัฒนาคุณภาพชีวติ ใหม้ ีแนวทางในการดำเนนิ ชีวิตได้อย่างถูกตอ้ ง

บัดน้ีการดำเนินการดังกล่าวลุล่วงไปด้วยดี ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง ได้จัดทำสรุปโครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
กิจกรรมฝึกภาษาเพอื่ การสอ่ื สาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ และไดส้ รุปสาระสำคญั ใน
ภาพรวมของการดำเนินงาน เพ่ือเผยแพร่ผลงานการจัดกิจกรรม อันจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริหาร
ผู้ปฏบิ ตั ิงาน และภาคเี ครอื ข่าย เพือ่ นำไปเป็นข้อมูลพืน้ ฐานในการพัฒนางานให้เกดิ ประโยชน์แก่ประชาชน
กลุม่ เปา้ หมายไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป

กศน.ตำบลบกู ติ

กิจกรรมฝึกภาษาเพ่อื การส่อื สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔



สารบญั หน้า

เร่อื ง ๑
บทที่ ๑ บทนำ ๑
- ความเป็นมาและความสำคญั ของโครงการ ๒
- วตั ถุประสงค์ ๒
- เปา้ หมาย ๒
- งบประมาณ ๒
- ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ ๓
- เครอื ข่ายทเี่ ก่ียวขอ้ ง ๓
- โครงการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
- ผลลัพธ์ ๔

บทที่ ๒ เอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง ๒๐
๒๐
บทที่ ๓ วิธดี ำเนินการ ๒๐
- ขน้ั การเตรียมการ ๒๐
- ขนั้ ดำเนนิ การ ๒๐
- นเิ ทศติดตามผล และรายงานผล / ประเมินผล
- ดชั นชี ีว้ ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ ๒๒

บทที่ ๔ ผลการศกึ ษา ๒๕

บทท่ี ๕ สรปุ ผลการศกึ ษา ๒๖
๒๗
บรรณานกุ รม ๒๘
ภาคผนวก
- ภาพประกอบกจิ กรรม
- โครงการ

กจิ กรรมฝกึ ภาษาเพ่ือการสอ่ื สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔



บทท่ี ๑
บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคญั
ตามที่ รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อสภานิติ

บญั ญัติแห่งชาติ เมอ่ื วันศุกรท์ ่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ ข้อ ๒.๒ เร่งแก้ปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ โดยทำยุทธศาสตร์ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา การใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตร แนวสันติวิธี
ส่งเสริมการพูดคยุ สนั ติ กับผูม้ คี วามคิดเห็นต่างจากรฐั สรา้ งความเชื่อมนั่ ในกระบวนการยุติธรรมตามหลกั
นิติธรรมและหลักสิทธมิ นษุ ยชน โดยไมเ่ ลือกปฏิบัติ ควบคกู่ ับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคลอ้ ง
ความต้องการของประชาชนในพ้นื ที่ ซ่ึงเปน็ พหสุ งั คม ประกอบกับรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ได้
มอบนโยบายเฉพาะ โดยกำหนดใหด้ ำเนนิ การใหเ้ หน็ ผลภายใน ๑ ปี เร่อื งของการพัฒนาการศกึ ษาในพนื้ ที่
จังหวัดชายแดนใต้และสนับสนุนการแก้ปัญหา และพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ ในเร่ืองของการยกระดับ
คุณภาพการศกึ ษา โดยอาศยั เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษาสมัยใหม่เขา้ มาประยุกต์ใชแ้ ละแกป้ ญั หา
การอ่านภาษาไทยไม่ออก เขียนไม่ได้ ของนักเรียนในพ้ืนที่อย่างจริงจงั ตลอดจนเน้นเปิดโลกทัศน์ และ
สร้างความหวังการยดึ ม่ันในหลักคณุ ธรรมใหก้ ับประชาชนในพื้นทจ่ี งั หวัดชายแดนภาคใต้ และยงั สามารถ
เสรมิ สรา้ งความเข้าใจทถ่ี กู ตอ้ งกับองคก์ รระหวา่ งประเทศได้

เพื่อให้การขบั เคลื่อนการดำเนินงานเป็นไปตามนโยบายดังกล่าว และเปน็ กาสนับสนุน
การพัฒนาการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษามลายูถ่ิน และภาษาองั กฤษในพื้นท่ีอำเภอเจาะไอรอ้ ง ส่งเสริมการ
สร้างทัศนคติและแรงจูงใจให้แก่ผู้เรียนในพื้นที่ให้มีการส่ือสารด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพ่ิมเป็น
ภาษาทส่ี อง ภาษาทส่ี าม นอกจากภาษาถ่นิ รวมทง้ั ส่งเสรมิ นโยบายการพฒั นาการใช้ส่ือการเรยี นการสอน
ทส่ี อดคล้องและตรงตามความต้องการ มีการบูรณาการให้สอดคล้องกับสภาพความตอ้ งการของท้องถิ่น
และคนในพ้ืนท่ีมีการจัดการเรียนรู้โดยใช้สามภาษา คือ ภาษาไทย ภาษามลายู และภาษาอังกฤษ เพื่อ
ตอบโจทยต์ ามนโยบายดา้ นการศกึ ษาดังกล่าว
วัตถุประสงค์

๑. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนได้ฝึกประสบการณ์ในการใช้ภาษาไทยและภาษาองั กฤษในการสื่อสารดา้ นการ
พดู ในสถานการณต์ ่างๆ

๒. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเกิดความเข้าใจอนั ดี และมคี วามสมั พนั ธ์อันดตี ่อกนั ใชช้ วี ิตร่วมกันใหเ้ กดิ สงั คม
สนั ตสิ ุข

๓. เพ่ือใหผ้ เู้ รียนและผเู้ ข้าประกวดสามารถส่ือสารภาษาไทยในชีวิตประจำวนั ได้

กิจกรรมฝึกภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔



เปา้ หมาย จำนวน 15 คน
๕.๑ เป้าหมายเชงิ ปรมิ าณ จำนวน 7 คน
จำนวน 8 คน
ประชาชนในพื้นท่ีตำบลบกู ิต
- กิจกรรมฝกึ ภาษาเพอื่ การสอ่ื สาร(ภาษาไทย)
- กิจกรรมฝกึ ภาษาเพื่อการสือ่ สาร(ภาษาองั กฤษ)

๕.๒ เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ
กลุ่มเป้าหมายมีความรคู้ วามเขา้ ใจ และสามารถสือ่ สารภาษาไทย และภาษาองั กฤษได้

งบประมาณ
แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

โครงการบริหารจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมการพฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบ
และการศึก ษาตาม อัธยาศั ยใน จังห วัดชายแดน ภาคใต้ งบ รายจ่ายอ่ืน รหั สงบ ป ระมาณ
๒๐๐๐๒๓๕๐๓๖๗๐๐๐๐๕ โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายภาคแดนใต้ กิจกรรมฝึก
ภาษาเพอื่ การสอ่ื สาร จำนวนเงิน ๔๕,๐๐๐ บาท (ส่ีหมนื่ ห้าพนั บาทถว้ น) ตามรายละเอียดดังนี้

- กจิ กรรมฝกึ ภาษาเพื่อการส่ือสาร (ภาษาไทย)

- ค่าตอบแทนวิทยากร ๒ คน × ๒๐๐ บาท × ๑๘ ชม. จำนวน ๗,๒๐๐ บาท

- ค่าอาหารกลางวนั ๒๑ คน x ๑๐๐ บาท x ๓ มื้อ จำนวน ๖,๓๐๐ บาท

- ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื ๒๑ คน x ๒๕ บาท x ๖ มอื้ จำนวน ๓,๑๕๐ บาท

- คา่ วัสด/ุ เอกสาร ๒๑ คน x ๓๐ บาท จำนวน ๖๓๐ บาท
จำนวน ๔,๒๐๐ บาท
- คา่ พาหนะ ๒๑ คน x ๒๐๐ บาท

รวมทงั้ สิ้นเปน็ เงนิ จำนวน ๒๑,๔๘๐ บาท

- กจิ กรรมฝกึ ภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร (ภาษาองั กฤษ)

- ค่าตอบแทนวทิ ยากร ๒ คน × ๒๐๐ บาท × ๑๘ ชม. จำนวน ๕,๐๐๐ บาท

- ค่าอาหารกลางวัน ๒๔ คน x ๑๐๐ บาท x ๓ ม้อื จำนวน ๘,๔๐๐ บาท

- ค่าอาหารว่างและเครอ่ื งดมื่ ๒๔ คน x ๒๕ บาท x ๖ มื้อ จำนวน ๕,๕๒๐ บาท

- คา่ วัสดุ/เอกสาร ๒๔ คน x ๓๐ บาท จำนวน ๗๒๐ บาท

- คา่ พาหนะ ๒๔ คน x ๒๐๐ บาท จำนวน ๔,๘๐๐ บาท

รวมทง้ั สน้ิ เปน็ เงินจำนวน ๒๓,๕๒๐ บาท
*หมายเหตุ ถวั จ่ายทุกรายการตามจ่ายจริง*

กิจกรรมฝึกภาษาเพือ่ การส่อื สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔



ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ
คณะครู กศน.ตำบลบูกติ

เครือข่าย
๑. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลทกุ ตำบล
๒. ผู้นำชมุ ชน/ผนู้ ำศาสนา
๓. คณะกรรมการสถานศึกษา

โครงการท่เี กย่ี วขอ้ ง
๑. โครงการจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวติ
๒. โครงการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน

ผลลพั ธ์ ( Outcome )
กล่มุ เป้าหมายมคี วามร้คู วามเขา้ ใจ และสามารถสอ่ื สารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้รวมทงั้

สามารถใช้ในการติดต่อสอ่ื สารทเ่ี ป็นประโยชน์สงู สุดต่อการพฒั นาคุณภาพชวี ติ
ดชั นชี ี้วดั ผลสำเร็จของโครงการ

๑. ตัวชี้วัดผลผลติ ( Output )
กล่มุ เป้าหมายรอ้ ยละ ๑๐๐ ผ่านกิจกรรมตามวตั ถุประสงค์

๒. ตัวชว้ี ัดผลลัพธ์( Outcome )
ร้อยละ ๘๐ ของกลมุ่ เป้าหมายมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ และสามารถส่ือสารภาษาไทยและ

ภาษาอังกฤษได้
การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ

๑. การสงั เกตการณร์ ะหวา่ งเขา้ ร่วมการอบรม
๒. การกำกบั และการตดิ ตามผลการจดั กจิ กรรม
๓. แบบสอบถามความพงึ พอใจ

กจิ กรรมฝึกภาษาเพื่อการสือ่ สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔



บทท่ี ๒
เอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง

ความหมายของภาษา

ภาษา หมายถงึ กรยิ าอาการที่แสดงออกมาแล้วสามารถทำความเขา้ ใจกันได้ ไมว่ า่ จะ
เปน็ ระหวา่ งมนุษย์กับมนษุ ย์ มนษุ ยก์ บั สัตว์ หรอื สัตว์กบั สัตว์ ส่วนภาษาในความหมายอย่างแคบนั้น
หมายถึง เสยี งพดู ที่มนุษยใ์ ชส้ ื่อสารกนั เท่าน้นั หรือสัญลักษณ์ ที่กำหนดข้ึนเพ่อื ใช้เปน็ เครือ่ งมือที่สำคญั
ที่สุดในการสอ่ื ความเขา้ ใจ ระหว่างกนั ของคนในสังคม ชว่ ยสร้างความเข้าใจอนั ดตี อ่ กนั ช่วยสร้าง
ความสัมพันธข์ องคน ในสงั คม ถ้าคนในสังคมพูดกันด้วย ถ้อยคำทด่ี ีจะช่วยใหค้ นในสังคมอยกู่ ันอยา่ งปกติ
สขุ ถ้าพดู กันดว้ ยถ้อยคำไมด่ ี จะทำใหเ้ กิดความบาดหมางน้ำใจกนั ภาษาจึงมีสว่ นชว่ ยสร้างมนุษย
สมั พันธ์ ของคนในสงั คม ภาษาเป็นสมบตั ขิ องสงั คม ภาษาทใ่ี ชใ้ นการสือ่ สารมี ๒ ประเภท คือ วจั
นภาษาและอวัจนภาษา

พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถานพ.ศ. ๒๕๔๒ ไดใ้ ห้คำจำกดั ความของคำว่า ภาษา ไว้
วา่ "ถ้อยคำท่ใี ช้พูดหรือเขยี นเพอื่ ส่ือความของชนกลุม่ ใดกลมุ่ หน่งึ เช่น ภาษาไทย ภาษาจนี หรือเพื่อสือ่
ความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนงั สือ หรอื กริ ิยา อาการ ท่ี
สื่อความได้

ภาษาที่ใช้ในการสอ่ื สารมี ๒ ประเภท คอื วจั นภาษาและอวัจนภาษา
๑. วัจนภาษา (verbal language)
วจั นภาษา หมายถึง ภาษาถ้อยคำ ได้แก่ คำพูดหรอื ตัวอกั ษรท่ีกำหนดใช้ร่วมกันใน

สงั คม ซึ่งหมายรวมท้ังเสยี ง และลายลักษณ์อักษร ภาษาถ้อยคำเปน็ ภาษาที่มนุษย์สร้างขน้ึ อยา่ งมี
ระบบ มหี ลกั เกณฑท์ างภาษา หรอื ไวยากรณ์ซงึ่ คนในสังคมต้องเรียนรแู้ ละใชภ้ าษาในการ
ฟัง พูด อ่าน เขยี นและคิด การใชว้ จั นภาษาในการสอื่ สารต้องคำนึงถงึ ความชดั เจนถกู ตอ้ งตามหลกั
ภาษา และความเหมาะสมกับลกั ษณะ การสอื่ สาร ลกั ษณะงาน เป้าหมาย สือ่ และผู้รบั สาร
วจั นภาษาแบ่งออกเปน็ ๒ ชนดิ คือ

๑. ภาษาพดู ภาษาพูดเปน็ ภาษาทมี่ นษุ ย์เปล่งเสียงออกมาเป็นถอ้ ยคำเพอ่ื สอื่ สารกบั
ผู้อ่ืน นกั ภาษาศาสตรถ์ ือวา่ ภาษาพูดเปน็ ภาษาท่แี ทจ้ รงิ ของมนุษย์ ส่วนภาษาเขียนเป็นเพยี งวิวฒั นาการ
ขั้นหน่งึ ของภาษาเท่านั้น มนุษย์ไดใ้ ช้ภาษาพูดตดิ ต่อสือ่ สารกบั ผอู้ นื่ อยู่เสมอ ทัง้ ในเรอ่ื ง
สว่ นตัว สังคม และหน้าทกี่ ารงาน ภาษาพดู จงึ สามารถสรา้ งความรัก ความเข้าใจ และช่วยแก้ไข
ปญั หาตา่ ง ๆ ในสงั คมมนษุ ยไ์ ดม้ ากมาย

๒. อวจั นภาษา ( non-verbal language)
อวัจนภาษา หมายถงึ เปน็ การสอื่ สารโดยไม่ใช้ถอ้ ยคำ ทงั้ ทเ่ี ป็นภาษาพูดและภาษา
เขียน เป็นภาษาท่ีมนุษยใ์ ชส้ อื่ สารกัน โดยใช้อากัปกริ ิยา ทา่ ทาง น้ำเสยี ง สายตาหรอื ใช้วัตถุ การใช้
สัญญาณ และ สงิ่ แวดลอ้ มตา่ ง ๆ หรอื แสดงออกทางดา้ นอน่ื ที่สามารถรบั รู้กันได้ สามารถแปล
ความหมายได้และทำความเขา้ ใจตอ่ กันได้

กิจกรรมฝกึ ภาษาเพือ่ การสื่อสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔



การสอ่ื สาร (Communication)

ความหมาย : การส่ือสาร (communication) คอื กระบวนการในการสร้างปฏสิ มั พนั ธ์
ระหวา่ งบุคคลในสงั คมหรอื ในกล่มุ เป็นกระบวนการทเ่ี กดิ ขนึ้ ตลอดเวลาระหวา่ งผเู้ ก่ียวขอ้ ง โดยตั้งใจ
(รตู้ ัว) และไมต่ ง้ั ใจ(ไมร่ ู้ตวั ) และโดยทแ่ี ตล่ ะบคุ คลทเ่ี กีย่ วข้องจะเปน็ ทง้ั ผสู้ ่งสารและรบั สารไปดว้ ยกัน และ
ในเวลาเดียวกัน ในลักษณะการสอื่ สารแบบสองทาง (two-way Communication) เชน่ ครูในฐานะผสู้ ง่
สารพดู กบั นักเรียนเปน็ รายบคุ คล หรือกับทง้ั หอ้ ง เป็นการสอ่ื สารความคิดของครแู กน่ ักเรียน
ขณะเดียวกนั ครกู ็เปน็ ผรู้ ับสารทีน่ กั เรียนสง่ กลบั มาในรปู ของสหี นา้ แววตา ทา่ ทาง หรือคำพูด ทส่ี ะทอ้ นถงึ
ความคิดและความร้สู ึกของนักเรยี นทมี่ ตี อ่ ครู ผสู้ อ่ื สารทด่ี ีจงึ ต้องเป็นทัง้ ผู้สง่ สารทด่ี ี และผรู้ ับสารที่ดใี น
เวลาเดียวกนั

กระบวนการสอื่ สาร : กระบวนการสอื่ สารมหี ลายรปู แบบ ทใ่ี ชบ้ อ่ ยได้แกก่ ารสื่อสารโดยใช้เสยี ง
(Voice Communication) เชน่ การพดู การร้องเพลง การอุทาน การพูด (Verbal
Communication) เป็นรปู แบบหนง่ึ ของการสอ่ื สารโดยเสียง กระบวนการสอื่ สารอีกแบบ ท่ใี ช้มากและ
สำคัญกว่าการใช้เสยี งคือการส่อื สารด้วยภาษากาย (Physical or non-verbal Communication) เช่น
การแสดงสหี นา้ ท่าทาง การเคลอ่ื นไหวร่างกาย การวางระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล เปน็ ตน้ วิธีการสอ่ื สาร
ด้วยภาษากายเหล่าน้ี สามารถสะท้อนความคดิ และความรสู้ กึ ภายในของผู้สง่ สารได้อยา่ งเที่ยงตรงกวา่ การ
ใชค้ ำพดู
ในปัจจบุ ันมกี ารสื่อสารรปู แบบใหม่ ๆ เกดิ ขึ้น เช่น การสอ่ื สารผ่านทางตัวหนงั สือ (การเขียนจดหมาย
เขียนขา่ ว หรอื เขยี นบทความในหนงั สือพมิ พ์ วารสาร และสงิ่ พิมพต์ า่ งๆ) การสือ่ สารโดยระบบ
คอมพวิ เตอร์ (E-mail Website เป็นตน้ )

อกี รูปแบบหน่ึงคือ การสอ่ื สารผา่ นงานศลิ ป์ (การวาดภาพ งานปั้น และดนตรี เปน็ ต้น)
การสอ่ื สารในกลมุ่ เหลา่ น้ี บางสว่ นกม็ ีลกั ษณะเปน็ one way communication เช่น การเขียนจดหมาย
การเขยี นบทความลงในสิ่งพมิ พ์ ภาพวาด บางส่วนก็กงึ่ ๆ oneway และ twoway communication เช่น
การสอ่ื สารโตต้ อบกันผา่ น website ท่แี ตล่ ะฝา่ ยติดต่อกันผา่ นขอ้ ความบนหน้าคอมพิวเตอร์ โดยอาจมี
ภาพและเสยี งประกอบ อยา่ งไรก็ตาม การสอ่ื สารในกลุม่ น้ี มขี อ้ จำกัดหลายอย่าง ยากตอ่ การส่อื ความ
เข้าใจกนั ไดโ้ ดยสมบรู ณ์ เมอ่ื เทียบกับการสอ่ื สารสองทางโดยการใชเ้ สียงและภาษากายประกอบ
ปจั จัยท่ีมีผลต่อการสอื่ สาร

(๑) ความพรอ้ มของผสู้ ง่ และผรู้ ับสาร : ผสู้ ง่ และผรู้ บั สารต้องมีความพรอ้ มทง้ั ดา้ นร่างกาย ดา้ น
จิตใจ ด้านสงั คม และดา้ นสตปิ ญั ญา

ดา้ นร่างกาย ตอ้ งพรอ้ ม ไมเ่ จบ็ ป่วย พิการ ออ่ นเพลยี หวิ เกนิ อ่ิมเกนิ สมองและระบบประสาท
ทำงานเปน็ ปกติ เปน็ ต้น

จติ ใจและอารมณ์ อยูใ่ นสภาวะสขุ สบายตามสมควร ไม่เครยี ดมาก ไมว่ ิตกกังวล ฟุ้งซา่ น
หวาดระแวง ไม่ถูกครอบงำดว้ ยอารมณท์ ี่รนุ แรง หรือดว้ ยความคิดท่มี อี คติ(ไม่ตรงต่อความจรงิ )

กจิ กรรมฝึกภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔



สงั คมและสิง่ แวดลอ้ มควร อยใู่ นสภาวะทเ่ี อือ้ อำนวย ไม่มสี ภาพของความกดดนั มาก
ผสู้ ื่อสารควรมีความรคู้ วามเข้าใจ ในวัตถปุ ระสงค์ของการสอื่ สารนนั้ เข้าใจการใชภ้ าษาทั้งภาษา
พดู ภาษากาย เขา้ ใจและรู้กระบวนการส่อื สาร เปน็ ต้น
(๒) สภาพของสื่อ:ส่ือทด่ี ีควรมีลกั ษณะง่าย ส้นั ไม่ซบั ซ้อน ใช้ภาษาและทา่ ทางที่เข้าใจกัน บน
พื้นฐานทางสังคมประเพณี วฒั นธรรมท่ีคลา้ ยๆ กนั มกี ารเรยี บเรียงออกมาอย่างเปน็ ระบบ เป็นตน้
(๓) กระบวนการสอ่ื สาร:สอื่ ไมว่ ่าในรปู ของเสียง คำพดู หรอื ภาษากาย ควรแสดงออกมาโดย
ชดั เจน สามารถสง่ และรบั สารได้ไมย่ าก เหมาะสมกับเน้ือหา เหตุการณ์ และโอกาส เชน่ พูดชดั มองเห็น
ได้ชดั เจน มีการเคลอ่ื นไหวร่างกายทส่ี อดคล้องกนั เป็นต้น
(๔) สัมพันธภาพ:สมั พนั ธภาพทีด่ ีต่อกันเปน็ เร่ืองสำคัญ ถา้ ผู้สง่ และผ้รู บั สอ่ื มสี ัมพนั ธภาพต่อกนั
โดยเหมาะสม การสอ่ื สารระหวา่ งบุคคลทงั้ สองกจ็ ะมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น
ทกั ษะในการส่อื สารทดี่ ี
๑. attending คือ การตง้ั ใจ ใหค้ วามสำคัญต่อการส่งและรบั ส่อื เช่น การพูดอยา่ งตั้งใจ การ
แสดงความสนใจ การสบตา การแสดงท่าท่กี ระตอื รอื ร้น สนใจ เช่น การขยับตวั เข้าไปใกล้ การผงกศีรษะ
แสดงความเข้าใจ เป็นต้น
๒. Paraphasing คอื การพดู ทวนการสะทอ้ นคำพูด เป็นการแสดงความสนใจและความตอ้ งการ
ทีจ่ ะรู้เพม่ิ เติม
๓. Reflection of feeling คอื การสะท้อนอารมณท์ ่ีอีกฝ่ายแสดงออกมา กลบั ไปใหผ้ นู้ นั้ เข้าใจ
อารมณข์ องตนเองมากขน้ึ
๔. Summarizing คอื การสรปุ ความ ประเด็นท่สี ำคัญเป็นระยะ เพือ่ ความเขา้ ใจที่ตรงกนั
๕. Probing คอื การซกั เพิ่มเตมิ ประเด็นท่สี นใจ เพ่อื หาความชดั เจนเพม่ิ ขึน้
๖. Self disclosure คือ การแสดงท่าทเี ปดิ เผยเป็นมติ รของผสู้ ่งสารโดยการแสดงความคิดเห็น
หรอื ความรู้สึกของตน ท่ไี ม่ใชก่ ารขัดแยง้ หรือตำหนิ
๗. Interpretation คือ การอธบิ ายแปรความหมายในประสบการณท์ ่อี กี ฝา่ ยแสดงออกเพอื่ ให้
เกิดความเข้าใจ รู้ในสงิ่ ทม่ี อี ยู่
น้ันมากขนึ้
๘. Confrontation คือการนำประเดน็ ทผี่ สู้ ่งสารพดู หรอื แสดงออกด้วยท่าทาง ทเ่ี กิดจากความ
ขัดแยง้ สับสน ภายในของผสู้ ง่ สารเองกลบั มา ใหผ้ สู้ ง่ สารไดเ้ ผชญิ กบั ความขดั แย้ง สบั สนทม่ี ีอยใู่ นตนเอง
เพ่ือนำไปสู่ความเข้าใจในตนเองเพ่มิ ข้ึน

ธรรมชาติในปฏสิ ัมพนั ธ์ทางสังคมของมนษุ ย์
Robert E.Park ธรรมชาติในปฏสิ มั พันธท์ างสงั คมของมนุษย์มี ๔ รปู แบบดว้ ยกนั ไดแ้ ก่

๑. การแขง่ ขัน (Competition)
๒. ความขดั แยง้ (Conflict)
๓. ความอารอี ารอบตอ่ กัน (accommodation)

กิจกรรมฝกึ ภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔



๔. การซมึ ซบั (assimilation)
การจดั การทด่ี ี โดยเทคนิคการสือ่ สาร จะชว่ ยลดการแข่งขันและขดั แย้ง เกดิ ความอารอี า

รอบ และการยอมรบั ซงึ่ กนั และกนั เกดิ สังคมทเ่ี ปน็ สุข และก้าวหนา้ ตอ่ ไป

"แบบจำลองการส่อื สารขัน้ พนื้ ฐาน"
แบบจำลองพนื้ ฐานทางการสื่อสาร เป็นแผนภาพที่ใช้อธิบายการสื่อสารอยา่ งงา่ ยๆ บาง

แบบก็มีความยุ่งเหยิงซับซ้อน บางแบบอธบิ ายปจั จัยในตัวคน บางแบบก็อธิบายความสัมพนั ธข์ องคนกับ
สงั คมหรอื ส่ิงแวดล้อม หรอื บางแบบกม็ องอทิ ธพิ ลของสังคมต่อการกระทำการสื่อสารของคน แตอ่ ยา่ งไรก็
ตามแบบจำลองแต่ละแบบก็มีจุดมุ่งหมายในการอธิบายกระบวนการส่ือสารท่ีแตกต่างกันเ พราะ
แบบจำลองก็คือ คำอธิบายตัวทฤษฎีโดยพยายามทำให้ง่ายและสามารถพิสูจน์ให้เห็นจริงได้ สามารถ
กำหนดทางเลือกของการคาดคะเนพฤติกรรม หรือเหตุการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับการสื่อสารในอนาคตได้
นอกจากน้ียังสามารถนำไปประยุกต์ได้ เป็นคำอธิบายของกระบวนการส่ือสารโดยท่ัวๆ ไปได้ โดยไม่ได้
เจาะจงว่าเป็นกระบวนการสื่อสารประเภทใด แต่สิ่งหน่ึงท่ีจะต้องคำนึงถึงก็คือว่า แต่ละทฤษฎีหรือ
แบบจำลองน้ันไมส่ ามารถจะอธิบายกระบวนการสือ่ สารทั้งหมดได้อยา่ งสมบูรณ์ แตต่ อ้ งอาศยั ทฤษฎีหลาย
ๆ ทฤษฎีมาช่วยอธิบายเพ่ือให้เกิดความสมบูรณ์ย่ิงข้ึน แบบจำลองการสื่อสารที่จะกล่าวในที่น้ีจะมี
เพยี ง ๕ แบบจำลอง จากหลายๆ แบบจำลองทีเ่ ปน็ แบบจำลองหรอื ทฤษฎกี ารสื่อสารขนั้ พน้ื ฐานท่ีสำคัญๆ
ดั ง น้ี

๑ . แ บ บ จ ำ ล อ ง ก า ร ส่ื อ ส า ร ข้ั น พื้ น ฐ า น ต า ม แ น ว คิ ด ข อ ง แ ช น นั น แ ล ะ วี เว อ ร์

แชนนัน (C. Shannon) และวีเวอร์ (W. Weaver) ได้สร้างแบบจำลอง การส่ือสารขั้นพ้ืนฐาน
เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ซ่ึงถือเป็นแบบจำลองที่รู้จักกันแพร่หลายในวงการส่ือสารยุคเริ่มต้นในช่ือว่า
แบบจำลองการส่ือสารเชิงทฤษฎีคณิตศาสตร์ (The Mathematical Theory of Communication) ท่ี
ชือ่ เปน็ แบบนี้เพราะผคู้ ดิ ค้นแบบจำลองทีช่ อ่ื ว่า แชนนัน เป็นนักคำนวณด้านวศิ วกรรมไฟฟ้า โดยเขาคดิ คน้
ขึน้ เพ่ือนำไปประยุกต์ใชใ้ นงานด้าน การสือ่ สารทางโทรศพั ท์ในประเด็นท่วี ่า การติดต่อสอื่ สารประเภทใด
จึงจะทำใหจ้ ำนวนของสัญญาณมีได้มากท่สี ุด และสัญญาณที่ถ่ายทอดไปจะถกู ทำลายโดยส่ิงรบกวนมาก
น้ อ ย เ พี ย ง ไ ร นั บ แ ต่ เ ร่ิ ม ส่ ง สั ญ ญ า ณ ไ ป จ น ถึ ง ผู้ รั บ

แบบจำลองการส่ือสารประเภทนี้เป็นแบบจำลองการสื่อสารท่พี ยายามเอาวิชาการหรือทฤษฎี
ท า ง ด้ า น ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ม า อ ธิ บ า ย ถึ ง ก ร ะ บ วน ก า ร ห รื อ ป ร า ก ฎ ก า ร ณ์ ท า ง ก า ร ส่ื อ ส า ร
การสอ่ื สารตามแนวความคิดของแชนนัน และเพ่ือนร่วมงานทช่ี อ่ื ว่า วีเวอรน์ ้ันเป็นแบบจำลองกระบวนการ
ส่อื สารทางเดยี วในเชิงเสน้ ตรง คอื ถือวา่ การสอื่ สารเกิดขึน้ จากการกระทำของผูส้ ่งสารไปยงั ผ้รู ับสารเพียง
ฝ่ายเดียว ซึ่งองค์ประกอบของการกระทำการส่ือสารตามแบบจำลองของแชนนันและวีเวอร์ มี
ด้วยกนั ๖ ประการ ตามแผนภาพดงั น้ี

กจิ กรรมฝึกภาษาเพื่อการส่อื สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔



จากแบบจำลองนี้ จะเห็นไดว้ ่า "แหล่งสารสนเทศ" จะทำหนา้ ท่ี สรา้ งสารหรอื เนอ้ื หาข่าวสารซึ่ง
อาจเปน็ รปู คำพดู ขอ้ เขยี น ดนตรี หรอื รปู ภาพ เป็นต้น ซึง่ สารนจี้ ะถกู สอื่ ออกไปโดยสารนั้นจะถกู สร้าง
ข้นึ เป็นสญั ญาณโดย "ตัวถา่ ยทอด"หรือ"ตวั แปลสาร" สญั ญาณนจี้ ะถกู ปรบั เปล่ยี นโดยเหมาะกับ "ทาง
ติดต่อ" หรือ "ผา่ นช่องสาร" ไปถงึ "ผรู้ ับ" หนา้ ทข่ี อง "ผรู้ บั " จะแปลงสญั ญาณท่ไี ด้รับกลบั มาเป็นสาร
แสดงวา่ "สาร" ไปถึงจุดหมายปลายทางของการสือ่ สาร

ตัวอยา่ ง เช่น นาย ก. แหลง่ สารสนเทศ สง่ เนอื้ หาข่าวสารเป็นคำเขียนโดยสง่ ผ่านเครือ่ งสง่ หรือ
ตัวแปลสารหรือตัวถา่ ยทอด แปลงคำเขียนเป็นสญั ญาณ เชน่ สัญญาณโทรเลข โทรสารสง่ ผา่ นชอ่ งสารโดย
สญั ญาณน้ัน จะต้องเหมาะสมกบั ช่องสารด้วยก่อนไปสจู่ ดุ มงุ่ หมายปลายทาง โดยผ่านสญั ญาณนัน้ มาท่ี
เครอ่ื งรับทางฝ่ายผรู้ ับ เพอื่ แปลงสัญญาณกลบั มาเปน็ เนอ้ื หาของสาร(คำเขยี น) อกี ครงั้ หนึง่ แลว้ จงึ สง่ ไปยงั
จดุ หมายปลายทาง (สมมตนิ าย ข. เปน็ ผู้รบั สาร ผรู้ ับสารรับทราบสารดงั กลา่ ว) ซงึ่ อาจเกดิ อปุ สรรคหรอื
เสียงรบกวนหรอื สง่ิ รบกวนไดใ้ นขบวนการของชอ่ งทางการสอื่ สาร แลว้ แตก่ รณี ๆ ไป เช่น กรณีโทรสารท่ี
สง่ ผ่านมาทางสญั ญาณโทรศัพท์ ผสู้ ่งอาจส่งมาจำนวน ๕ หนา้ แต่ผไู้ ด้รบั อาจไดร้ ับเพยี ง ๔ หนา้ อุปสรรค
อาจเกดิ จากปัญหาของสญั ญาณ หรือจากการสง่ ถงึ ฝา่ ยสารบรรณ ก่อนถงึ ตัวผรู้ บั แลว้ จำนวนหนา้ อาจ
หายไป ๑ หนา้ ก็เปน็ ได้ ดังน้นั จึงต้องมีการตดิ ตอ่ สอ่ื สารกลับไปยังผสู้ ่งสารใหม่ เพอื่ ใหส้ ง่ เนอ้ื หาของสาร
หน้าทขี่ าดหายไปมาใหม่ (ตามกระบวนการเดิมข้างต้น) แตส่ ง่ิ ทค่ี วรคำนงึ ถึงกค็ ือ การลดอปุ สรรคทางการ
สอื่ สารนีอ้ าจทำใหก้ ารสอ่ื สารมปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้น แตใ่ นขณะเดยี วกนั สง่ิ ทกี่ ระทำในการลดอปุ สรรค
ทางการส่อื สารน้ี อาจทำใหต้ อ้ งเสยี เวลา เสยี คา่ ใช้จ่าย หรอื ทำให้ข้อมลู ท่ตี ้องการสง่ ออกไปยงั ผรู้ ับลด
นอ้ ยลงได้ ในครั้งหน่งึ ๆ เช่น ในกรณขี ้างตน้ ท่ีต้องมีการติดต่อกลบั ไปยังผสู้ ง่ สารใหม่ เพอ่ื จดั สง่ ข้อมลู
หน้าที่ขาดหายไป ส่วนกรณีหลังการส่งข้อมลู ซ้ำ ๆ ในชอ่ งทางของการโทรสาร (Fax) จะทำใหส้ น้ิ เปลอื ง
ค่าใช้จา่ ย หรอื ถา้ หากมกี ารกำหนดในการสง่ สญั ญาณแตล่ ะครั้งว่ากี่หน้ากจ็ ะทำใหส้ ง่ ขอ้ มลู ออกไปได้
นอ้ ยลง

แบบจำลองการสอ่ื สารเชงิ คณิตศาสตร์ของแชนนันและวเี วอรน์ ้ี ถอื ไดว้ า่ เป็นตน้ แบบแหง่
ความคดิ และกระตุ้นใหน้ กั วิชาการเกดิ ความสนใจในการคดิ คน้ แบบจำลองการสื่อสารของมนุษย์มากยง่ิ ขน้ึ

๒. แบบจำลองการสือ่ สารข้นั พน้ื ฐานตามแนวคดิ ของลาสเวลล์
ฮาโรลด์ ดี ลาสเวลล์ (Harold D. Lasswell) นักรัฐศาสตรช์ าวอเมรกิ ันไดเ้ สนอบทความทเ่ี ปน็

การเร่มิ ต้นอธบิ ายการสอ่ื สารทมี่ คี นรจู้ กั มากทสี่ ุด ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ โดยเสนอว่า วธิ ีทีส่ ะดวกทจ่ี ะอธบิ าย

กิจกรรมฝึกภาษาเพือ่ การส่อื สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔



การกระทำการสอื่ สารกค็ ือ การตอบคำถามตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี
๑. ใคร (who)

๒. กลา่ วอะไร (says what)
๓. ผ่านชอ่ งทางใด (in which channel)
๔. ถึงใคร (to whom)

๕. เกิดผลอะไร (with what effect)
จากขอ้ ความดังกลา่ วข้างต้น สามารถเขียนเป็นแบบจำลองการสื่อสารได้ดงั นี้

แบบจำลองการสอ่ื สารตามแนวคดิ ของฮาโรลด์ ดี ลาสเวลล์
แบบจำลองการสือ่ สารของลาสเวลลเ์ ป็นทฤษฎีการสือ่ สารทอ่ี ธิบายกระบวนการสอ่ื สารเชิง
พฤติกรรม เปน็ การศึกษาปฏกิ ริ ิยาระหว่างผสู้ ง่ สารและผู้รบั สาร เน้อื หาขา่ วสารชนิดของส่ือ
และผลทเ่ี กิดจากการกระทำการสอ่ื สารนนั่ เอง
นอกเหนือจากนนั้ แบบจำลองการส่ือสารของลาสเวลลข์ ้างต้นนี้ ยังถือวา่ เป็นตัวแทนของ
แบบจำลองการสือ่ สารในระยะแรกๆแบบจำลองนถ้ี ือว่าผู้สง่ สารมเี จตนาในอันท่ีจะมีอทิ ธพิ ลเหนือผรู้ บั สาร

กจิ กรรมฝึกภาษาเพอื่ การสื่อสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๑๐

เพราะชว่ งระยะเวลาทลี่ าสเวลล์ให้คำอธบิ ายน้ี เปน็ ระยะทนี่ กั วิชาการผสู้ นใจวชิ าการทางดา้ นนี้มีความเช่ือ
วา่ กระบวนการสอ่ื สารนั้น สว่ นใหญแ่ ลว้ เป็นกระบวนการในเชงิ โน้มน้าวใจ และถือวา่ สารทสี่ ่งไปนั้น
จะตอ้ งมผี ลเสมอไป และโดยส่วนตัวแล้วลาสเวลล์เปน็ ผทู้ ่ีสนใจต่อการส่อื สารทางการเมอื ง และการ
โฆษณาชวนเช่ือ แบบจำลองนจี้ ึงเหมาะแกก่ ารใช้วิเคราะหก์ ารโฆษณาชวนเชื่อทางการเมืองและการโนม้
นา้ วใจ

แตอ่ ย่างไรก็ตามมผี ูว้ ิจารณท์ ฤษฎนี ี้ว่า ลาสเวลลอ์ ธบิ ายกระบวนการส่อื สารอย่างงา่ ยเกินไปเพราะ
จรงิ ๆ แล้วกระบวนการส่ือสารมคี วามซบั ซอ้ นมากกว่าทจ่ี ะพิจารณาเพยี งว่าผสู้ ่งสารสง่ ข่าวสารไปยังผรู้ บั
สารโดยผ่านชอ่ งทางการสื่อสารแบบหน่ึงแบบใด และเกิดผลจากการสื่อสารนนั้ ๆ ซง่ึ ผลในทนี่ ้ีไม่ได้ดูในแง่
ปฏิกิริยาตอบกลบั ของผู้รบั สารวา่ พอใจหรอื ไมพ่ อใจ เชอ่ื หรอื ไมเ่ ชอ่ื คดิ แต่เพียงว่าจะต้องมผี ลตาม
เจตนารมณ์ทผ่ี ูส้ ง่ สารต้องการ เช่นต้องการโฆษณาชวนเช่ือหรือโน้มนา้ วใจส่ิงใดสง่ิ หนงึ่ เป็นต้น เพราะการ
สือ่ สารโดยทว่ั ไปยงั มปี จั จยั อ่นื ๆ เกดิ ขึน้ ในขณะทำการสอ่ื สารดว้ ย เช่น สภาพสง่ิ แวดล้อม จดุ มุง่ หมาย
หรือวัตถปุ ระสงค์ในการสือ่ สาร และขอ้ สำคัญทฤษฎีน้ีขาดปัจจยั สำคัญปจั จัยหนึ่งในกระบวนการสอ่ื สาร
น่นั คือ ผลสะท้อนกลับหรือปฏกิ ริ ิยาตอบกลับ (feedback)

ในกรณีของปฏกิ ริ ิยายอ้ นกลับ (Feedback) หรอื บางคนกเ็ รียกว่าผลสะทอ้ นกลับหรอื ปฏกิ ริ ยิ า
ตอบกลบั น้ี ถอื ว่าเปน็ องคป์ ระกอบหนงึ่ ทส่ี ำคญั ในกระบวนการสอื่ สาร ไม่ว่าจะเป็นการสือ่ สารระหวา่ ง
บุคคล การส่อื สารกลมุ่ เลก็ -กลุ่มใหญ่ หรือการสอื่ สารมวลชน เพราะปฏกิ ิรยิ าสะทอ้ นกลบั นี้จะเปน็ ตัว
บง่ ชีไ้ ดถ้ งึ ผลของการสอ่ื สารในแตล่ ะครัง้ ว่าผรู้ บั สารมคี วามรสู้ ึกนึกคิดอยา่ งไรต่อสารทไ่ี ด้รบั น้ัน
นอกจากนั้น ปฏิกริ ิยาสะทอ้ นกลบั จะทำให้องคป์ ระกอบของการสอ่ื สารครบบรบิ รู ณ์ขึน้ คอื มกี ารส่อื สาร
ทง้ั จากผสู้ ง่ สาร และผรู้ บั สารทเี่ รยี กว่า Two-way Communication หรอื การสอ่ื สารสองทาง ซง่ึ สามารถ
ที่จะเขียนออกมาเปน็ แบบจำลองครา่ ว ๆ คอื

ตัวอย่างในเร่ืองของปฏิกิริยาสะท้อนกลับนี้ หากเป็นการส่ือสารระหว่างบุคคลจะ
สงั เกตเหน็ ได้ง่ายโดยตรงและทนั ที เช่น ก. ผู้ส่งสาร ทำการสอื่ สารกบั ข. ผรู้ บั สารโดยคยุ กนั เกี่ยวกบั หวั ขอ้
เร่ืองใดเร่ืองหนึ่งอยู่ หาก ข. มีความรู้สึก หรือมีความคิดหรือมีทัศนคติไม่เห็นด้วย ข. ก็สามารถแสดง
ปฏิกริ ิยาสะทอ้ นกลับไปไดท้ ันท่วงทีด้วยการใชค้ ำพดู หรอื การใช้กิริยาท่าทางทน่ี ิ่งเฉยก็ได้ ซง่ึ ก. จะได้รบั รู้
ในเวลาเดียวกัน แต่ถ้าหากวา่ เป็นการสอ่ื สารในระดับการส่ือสารมวลชนท่ีผ่านทางองค์กรสื่อสารมวลชน
ตา่ ง ๆ เช่น หนังสือพมิ พ์ วิทยุ โทรทัศน์ น้ันปฏิกิรยิ าสะท้อนกลับจะเป็นไปได้ช้ากว่าการส่ือสารระหว่าง
บคุ คล โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ส่ือหนงั สือพิมพ์ ที่ลงข่าวหรอื ความคิดเห็นเก่ียวกับเรอ่ื งใดเร่ืองหนึ่ง แลว้ ผู้อา่ น
ไม่เห็นด้วย ผู้อ่านหรือผู้รับสารอาจสามารถแสดงปฏิกิริยาสะท้อนกลับได้ด้วยการส่งจดหมายถึง
บรรณาธิการหนงั สือพิมพ์น้นั ๆ หรอื หากไม่ชอบกับการเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์ฉบับใดมาก ๆ อาจจะ
แสดงปฏกิ ิรยิ าสะทอ้ นกลับด้วยการเลิกซ้ือหนังสือพิมพ์ฉบับนั้นก็ได้ แต่ถ้าเป็นสอื่ วทิ ยุ และวทิ ยุโทรทัศน์

กจิ กรรมฝึกภาษาเพ่ือการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๑๑
แลว้ เป็นการจัดรายการสดมกี ารเปิดโอกาสใหผ้ ู้รับฟงั และรบั ชมสามารถโทรศัพทเ์ ขา้ ไปแสดงความคดิ เห็น
ในรายการได้โดยตรง ก็ถือว่าเป็นปฏิกิรยิ าสะท้อนกลับไปยังผสู้ ่งสารได้รวดเร็วเช่นกนั เพียงแต่ผู้รับสาร
จำนวนมากๆ เหล่านั้นไม่สามารถแสดงปฏิกิริยาตอบกลบั ได้ในเวลาเดียวกันหมดทุกคน (มคี วามแตกต่าง
ในเวลาในการแสดงปฏิกริ ิยาตอบกลับ)

๓. แบบจำลองการสอื่ สารตามแนวความคิดของออสกดู และวลิ เบอร์ ชแรมม์
แบบจำลองการสื่อสารทอ่ี อสกดู เปน็ ตน้ คิด และวลิ เบอร์ ชแรมม์ นำมาขยายความและเปน็ ผเู้ สนอไวใ้ นปี
พ.ศ. ๒๔๗๗ นี้ มลี กั ษณะเป็นวงกลม ท่เี นน้ ให้เห็นว่า ท้งั ผสู้ ง่ สารและผู้รบั สารต่างกระทำหนา้ ท่ีอยา่ ง
เดยี วกันในกระบวนการส่อื สาร น่ันคอื การเข้ารหสั (encoding)
การถอดรหสั (decoding) และการตคี วาม (interpreting) ซง่ึ สามารถแสดงเปน็ ภาพได้ดังนี้

แบบจำลองการสือ่ สารตามแนวคิดของออสกดู และวิลเบอร์ ชแรมม์
ความหมายของการเขา้ รหสั การถอดรหัส และการตีความสาร

การเข้ารหสั หมายถึง การทผ่ี สู้ ง่ สาร แปลสาร (ข้อมลู ความคิด ความรสู้ กึ ) ใหเ้ ป็นภาษาหรอื รหสั
อืน่ ๆ ท่ีเหมาะแกว่ ิธกี ารถา่ ยทอด หรอื ส่ือ หรอื ช่องทางการส่อื สาร และเหมาะกับผรู้ บั สารกลมุ่ เป้าหมาย

การถอดรหัส หมายถงึ การท่ีผรู้ ับสารแปลรหสั หรอื ภาษากลับเปน็ สาร (ข้อมลู ความคดิ
ความรู้สึก) อกี คร้ังหนึ่งเพอื่ สกดั เอาความหมายทผ่ี สู้ ง่ สารสง่ มาหรอื ตอ้ งการสอื่ ความหมายมา

การตีความสาร หมายถงึ การทผ่ี สู้ ่งสารและผรู้ บั สารสามารถทจี่ ะตีสารทีต่ นไดร้ บั ไปในทางท่อี กี
ฝา่ ยหนึง่ ประสงค์ (ตีความหมายสารไดต้ รงกนั ) การสื่อสารในครั้งนัน้ ๆ กจ็ ะสมั ฤทธผ์ิ ล การตคี วามสารนมี้ ี
ความสำคัญมากต่อผลของการส่ือสาร และการตีความสารของผสู้ ง่ สารและผู้รบั สารจะคลา้ ยคลงึ กนั หรือ
แตกตา่ งกนั จะขึน้ อยกู่ ับกรอบแหง่ การอ้างอิง (Frame of reference) ของผู้กระทำการสือ่ สารทง้ั ๒ ฝา่ ย
เป็นสำคัญ

ตัวอยา่ งของการเขา้ รหสั และการถอดรหสั เช่น ในการสนทนาระหวา่ งบุคคล ๒ คน การทำหน้าที่

กจิ กรรมฝกึ ภาษาเพ่อื การส่อื สาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๑๒

เข้ารหสั สาร กระทำได้โดยกลไก การพูด และกลา้ มเน้ือซึง่ สามารถแสดงอากัปกิรยิ าได้ สว่ นการถอดรหสั
จะเกดิ ขึน้ ไดโ้ ดยประสาทสมั ผัสทงั้ หลายเช่น ประสาทสมั ผัสของการไดย้ นิ ได้ฟงั ประสาทสมั ผสั ของการ
เหน็ สมั ผสั แตะต้อง ตลอดจนการไดก้ ล่นิ และการไดล้ ้มิ รส

ตัวอย่างของการตคี วามสารตามกรอบแหง่ การอา้ งองิ (Frame of reference) หรือกรอบแหง่
ประสบการณร์ ว่ ม (Field of experience) เช่น ในการส่ือสารระหวา่ งสมชาย (พอ่ ) กบั สมศกั ด์ิ (ลูก) ใน
ตอนสายของเช้าวันหนงึ่ ทพ่ี ่อเข้ามาเหน็ ลกู นง่ั อย่ทู บ่ี า้ นโดยยังไมย่ อมไปโรงเรียน พอ่ จึงถามสมศกั ด์วิ า่
ทำไมจงึ ยงั ไม่ไปโรงเรียน สมศกั ดิ์ ตอบพ่อวา่ "ผมไมม่ มี ูด้ " เมอื่ สมชาย (พอ่ ) ได้ยนิ เช่นน้นั ก็บอกว่า "เอา้
ไม่มมี ู้ด กเ็ อาเงินไปซอ้ื ซะ" สมศักดิ์ก็ตอบว่า "พอ่ ไมเ่ ขา้ ใจ ผมไม่มมี ดู้ ครบั " ทเี่ ป็นเชน่ นี้เพราะ สมชาย
ตคี วามสารทส่ี มศกั ดส์ิ ง่ มาในการสอ่ื สารครง้ั นนั้ ผิดพลาดไป โดยคิดวา่ ม้ดู เป็นเคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการเรยี น
อยา่ งหน่งึ เหมอื นอยา่ งกบั ทส่ี มศกั ดเิ์ คยขอสตางค์ไปซ้อื เพอื่ นำไปโรงเรียน
นัน่ หมายความว่า สมชายตคี วามสารของสมศกั ด์จิ ากประสบการณร์ ว่ มทเี่ คยมีกันมากอ่ น

๔. แบบจำลองการส่ือสารตามแนวคิดของเบอรโ์ ล
เดวิด เค เบอรโ์ ล (David K. Berlo) เสนอแบบจำลองการสอ่ื สารไว้ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ โดย
อธิบายวา่ การสื่อสารประกอบดว้ ยสว่ นประกอบพน้ื ฐานสำคัญ ๖ ประการ คือ

๑. ตน้ แหล่งสาร (communication source)
๒. ผเู้ ขา้ รหสั (encoder)
๓. สาร (message)
๔. ชอ่ งทาง (channel)
๕. ผถู้ อดรหสั (decoder)
๖. ผรู้ บั สาร (communication receiver)

จากส่วนประกอบพื้นฐานสำคัญ ๖ ประการนัน้ เบอร์โล ได้นำเสนอเป็นแบบจำลองการ
สอ่ื สารทร่ี จู้ กั กันดโี ดยทัว่ ไปวา่ "แบบจำลอง SMCR ของเบอรโ์ ล"(Berlo's SMCR Model)โดยเบอรโ์ ลได้
รวมต้นแหล่งสารกบั ผเู้ ขา้ รหัสไว้ในฐานะต้นแหล่งสารหรอื ผสู้ ง่ สาร และรวมผู้ถอดรหัสกบั ผรู้ บั สารไว้ใน
ฐานะผู้รบั สาร แบบจำลองการสอ่ื สารตามแนวคดิ ของเบอรโ์ ลน้ี จงึ ประกอบไปด้วย S (Source or
Sender) คอื ผู้สง่ สาร M (Message) คือ สาร C (Channel) คอื ช่องทางการสอ่ื สาร R (Receiver) คอื
ผรู้ บั สาร ซึง่ ปรากฎในภาพตอ่ ไปนี้

กิจกรรมฝกึ ภาษาเพ่ือการสอ่ื สาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๑๓

จากแบบจำลองการส่อื สารตามแนวคิดของเบอรโ์ ลข้างต้นน้ี แสดงใหเ้ หน็ วา่
ผู้สง่ สาร (Source or S) คือ ผเู้ รมิ่ ต้นการส่อื สาร ทำหนา้ ทใ่ี นการเขา้ รหสั ซึ่งผสู้ ง่ สารจะทำหนา้ ท่ี

ในการสื่อสารไดด้ ีเพยี งใดน้ัน ขนึ้ อยกู่ ับคณุ สมบตั ิตา่ ง ๆ ๕ ประการคอื
๑. ทกั ษะในการส่อื สาร เชน่ ความสามารถในการพดู การเขยี น และ ความสามารถในการคิดและ

การใชเ้ หตผุ ล เป็นตน้
๒. ทัศนคติ หมายถงึ วิธีการทบ่ี คุ คลประเมนิ สงิ่ ต่าง ๆ โดยความโน้มเอียงของตนเองเพือ่ ทจี่ ะ

เข้าถึงหรอื เปน็ การหลีกเล่ียงสิ่งนัน้ ๆ เชน่ ทัศนคติตอ่ ตนเอง ตอ่ หวั ข้อของการส่อื สาร ต่อผรู้ บั สาร ต่อ
สถานการณแ์ วดล้อมการส่อื สารในขณะนัน้ เป็นต้น

๓. ความรู้ หมายถึง ความรูข้ องผสู้ ง่ สาร ในเหตกุ ารณห์ รือเรอ่ื งราวต่าง ๆ บคุ คลหรอื กรณี
แวดล้อมของสถานการณ์การสอ่ื สารในคร้ังหนึ่ง ๆ วา่ มีความแม่นยำหรือถกู ตอ้ งเพยี งไร

๔. ระบบสงั คม ซ่งึ จะเป็นตวั กำหนดพฤติกรรมการส่ือสารของบุคคล เพราะบุคคลจะขึน้ อยู่กบั
กลุ่มทางสงั คมที่ตนเองอย่รู ว่ มด้วย

๕. ระบบวัฒนธรรม หมายถงึ ขนบธรรมเนยี ม ค่านิยม ความเชื่อ ทเี่ ปน็ ของตัวมนษุ ยใ์ นสงั คม
และเปน็ ตวั กำหนดทสี่ ำคัญในการสือ่ สารดว้ ย เช่น การสือ่ สารระหว่างบคุ คลตา่ งวฒั นธรรมกนั อาจประสบ
ความลม้ เหลวไดเ้ น่อื งจากความคดิ และความเชือ่ ท่ีมีไมเ่ หมือนกันระหว่างผสู้ ง่ สารและผู้รบั สาร

ในแง่ของสาร (Message or M) น้นั เบอรโ์ ล หมายรวมถงึ ถอ้ ยคำ เสียง การแสดงออกด้วยสี
หน้า อากปั กริ ิยาท่าทาง ที่มนุษย์สร้างขึ้นในขณะทเ่ี ป็นผู้สง่ สาร ถา้ ความหมายเป็นทางการ ก็คอื ผลผลติ
ทางกายภาพทเ่ี ป็นจรงิ อันเกดิ จากผลการเข้ารหสั ของผสู้ ง่ สารนัน่ เอง ตามความคิดของเบอร์โลนน้ั สารมี
คณุ สมบตั ิ ๓ ประการคอื

๑. รหัสของสาร (message code) เชน่ ภาษาพดู ภาษาเขียน ภาษาทา่ ทาง หรือรหัสอน่ื ๆ
๒. เนอื้ หา (content)
๓. การจัดสาร (treatment) คอื วธิ ีการทผ่ี ู้สง่ สารเลอื กและจดั เตรียมเนอ้ื หาของสาร เชน่ การใช้

กิจกรรมฝกึ ภาษาเพอื่ การสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๑๔

ภาษา ไวยากรณ์ ศพั ท์ รวมถงึ คำถาม คำอทุ าน ความคิดเหน็ เปน็ ต้น สารทีถ่ ูกจดั เตรยี มไวด้ ี จะทำใหเ้ กิด
การรบั รูค้ วามหมายในผรู้ บั สารได้

ส่วนชอ่ งทาง (Channel or C) ช่องทาง ซึง่ เป็นพาหนะนำสารไปสผู่ รู้ ับสาร และตามทัศนะของ
เบอร์โล ทางตดิ ต่อหรอื ชอ่ งทางทจ่ี ะนำสารไปส่ปู ระสาทรับความรสู้ ึกทง้ั 5 ประการของมนษุ ย์ ไดแ้ ก่

๑. การเหน็
๒. การได้ยิน
๓. การสมั ผสั
๔. การไดก้ ลนิ่
๕. การลม้ิ รส
ประการสุดทา้ ยในดา้ นของผรู้ บั สารน้ัน กจ็ ำเป็นจะต้องมีคณุ สมบตั ดิ ้านต่างๆ ๕ ประการ
เชน่ เดียวกบั ผู้สง่ สาร คือ ทักษะในการสอื่ สาร ทศั นคติ ความรู้ ระบบสังคมและระบบวฒั นธรรม
๕. แบบจำลองการส่อื สาร ABX ของธีโอดอร์ นวิ คอมบ์
แบบจำลองการสื่อสารตามแนวคดิ ของนวิ คอมบ์นี้ เป็นแบบจำลองเชิงจติ วทิ ยา เนน้ วา่ การ
ส่อื สารจะเกดิ ขึน้ เพราะมนุษยต์ อ้ งการใหเ้ กดิ ความสมดลุ ยห์ รอื ความเหมอื นกนั ทางความคดิ ทศั นคติ และ
พฤติกรรมต่าง ๆ โดยมองว่าการสื่อสารสามารถช่วยให้เกดิ ความตกลงใจหรือยอมรบั ในเร่อื งใดเรอื่ งหน่งึ
เหมอื น ๆ กนั แต่เม่ือใดเกดิ ความไมส่ มดลุ ย์ แนน่ อนความยุ่งยากทางจติ ใจจะเกดิ ข้ึน แนน่ อนมนษุ ยก์ จ็ ะ
พยายามทำการสอ่ื สารในรปู ของการแสวงหาข้อมูลจากทตี่ า่ ง ๆ อาจจะเป็นสอื่ มวลชน เพ่ือนฝงู คนรอบ
ขา้ ง คนที่เกยี่ วข้องกับเหตกุ ารณห์ รอื เรื่องทที่ ำใหเ้ กดิ ความไมส่ มดลุ ย์น้นั โดยนำข้อมลู มาแลกเปลีย่ นกัน
เพอ่ื ขจัดความยุ่งยากหรอื ความเครยี ดอนั เกดิ จากความไม่สมดุลย์นัน้ ๆ
แบบจำลอง ABX ของนิวคอมม์ เป็นรูปแบบของความสัมพนั ธข์ องคน ๒ คน ( คอื A และ B ) กับ
ส่ิงใดสงิ่ หนง่ึ ไมว่ า่ จะเป็นเหตกุ ารณ์ วัตถุ สง่ิ ของ หรอื อน่ื ๆ (ในที่น้สี มมติว่าเป็นX ) จะได้ครบตามชื่อ
ทฤษฎีเลย คอื ท้งั A ท้ัง B และ XX

http://e-book.ram.edu/e-book/m/mc111/mc111_03_04.html
การส่อื สารดงั กลา่ วน้ี เกิดข้ึนเพ่ือทจ่ี ะสนับสนนุ ทศั นคตทิ ่ีมตี อ่ กนั โดยการรกั ษาความสมดลุ ยใ์ ห้
คงไว้ หรอื ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพอ่ื ให้เกิดความสมดุลยย์ ิ่งขน้ึ โดยการให้ข้อมลู ขา่ วสารเกย่ี วกบั ความ
เปล่ียนแปลงเพือ่ ใหเ้ กิดการปรบั ตัวหรือปรับทศั นคติ น่ันคือ ความต้องการความสมดุลยก์ ระตุน้ ใหเ้ กิดการ

กจิ กรรมฝึกภาษาเพ่อื การส่อื สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๑๕

ส่ือสาร (การแลกเปล่ยี นข้อมลู , ความคิดเหน็ ) ซง่ึ เป็นลกั ษณะปกติของความสมั พนั ธ์ เชน่ A กบั B ไมร่ จู้ กั
กนั มากอ่ น ไม่ได้รสู้ กึ ไมช่ อบหนา้ หรอื ไม่ได้เกลยี ดกัน หรอื อย่างนอ้ ยก็เฉย ๆ แนวโน้มที่ A กบั B จะมี
ความคดิ หรอื ทศั นคติ ตอ่ X ที่คล้ายคลงึ กนั ก็ได้ แตถ่ า้ ความรสู้ กึ หรอื ทศั นคติทมี่ ีต่อ X ไมเ่ หมอื นกันเลย ก็
อาจจะมที างออกได้ ๓ อยา่ งคือ ทงั้ A และ B ต่างก็ต้องหันกลบั ไปทำการสือ่ สารด้วยวิธีต่าง ๆ เพื่อหา
ข้อมูลมาสนับสนนุ ในสงิ่ ที่ตนเองมคี วามรู้สกึ ต่อ X ถ้าหากเดมิ A ชอบ X แต่ B ไมช่ อบ X เม่ือตา่ งฝ่ายตา่ ง
หาข้อมูลมาสนบั สนุนหรอื เพอ่ื ลดความขัดแย้งแล้ว เหตผุ ลของ A ดีกว่า B ก็อาจจะหันมาชอบหรอื เหน็
ดว้ ยกบั X ก็ได้ แต่ถา้ หากเหตุผลของ B ดกี ว่า A ก็อาจจะหนั มาไมช่ อบ X ไปกับ B ด้วยก็ได้ หรือถา้ หาก
ไมไ่ ด้เป็นไปใน ๒ แนวทางนั้น กอ็ าจมหี นทางท่ี ๓ กค็ อื ต่างคนตา่ งยนื ยนั ในส่ิงทต่ี นเองชอบ และไม่ชอบ ก็
จะทำให้ความคดิ ของทั้งสองฝา่ ยคงเดมิ แล้วบุคคลท้ัง ๒ กเ็ ลกิ ทำการตดิ ต่อกนั เสยี ในเร่ืองน้ัน ๆ

เพราะฉะนนั้ เหตุและผลของการกระทำการสอื่ สาร มิได้เปน็ ไปเพื่อการสรา้ งความ
เหมอื นกันหรือความสมดลุ ยก์ ันแต่เพยี งอย่างเดียว แต่อาจจะเปน็ ไปเพื่อยนื ยันความแตกตา่ งกันก็ได้หรือ
เพอื่ สรา้ งสัมพันธภาพใหม่ ๆ ให้เกิดข้นึ กไ็ ดแ้ บบจำลองของนวิ คอมป์น้ี ไมส่ ามารถนำไปอธิบายการสือ่ สาร
ของกลมุ่ ขนาดเลก็ ในระดบั สงั คมท่ใี หญโ่ ตได้ เพราะสงั คมที่ใหญน่ ั้น มนษุ ยม์ ิได้มคี วามตอ้ งการทจ่ี ะให้
เหมอื นกัน หรือไมส่ ามารถเปน็ หนงึ่ เดียวกันเหมือนระดบั บุคคลนอกจากแบบจำลองการสอ่ื สารตาม
แนวความคิดของนวิ คอมปแ์ ลว้ ยังมกี ารศกึ ษาคน้ คว้าแบบเดยี วกนั กับของนิวคอมป์ คือ การศกึ ษาของ
นักจติ วทิ ยาสงั คม ที่ช่อื ว่า เฟสตงิ เจอร์ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ เฟสติงเจอร์ เปน็ ผตู้ ั้งทฤษฎีความไม่สอดคล้อง
ทางความคิด (Cognitive Dissonance Theory) โดยคน้ พบวา่ การตดั สนิ ใจ ทางเลือกและขา่ วสารขอ้ มูล
ใหม่ ๆ ทั้งหลาย มศี ักยภาพสูงพอท่ีจะกอ่ ใหเ้ กิดความไมส่ อดคลอ้ งกันหรอื ความไมเ่ หมือนกนั ทางความคดิ
กอ่ ใหเ้ กิดความยงุ่ ยากใจ เปน็ ความรสู้ กึ ทางจิตวิทยา ดังน้ันผทู้ ่เี กิดความยุ่งยากใจหรอื เกิดความคิดทไี่ ม่
สอดคลอ้ งกนั จะถูกกระตุ้นดว้ ยความรสู้ กึ นัน้ ๆ ให้ต้องไปแสวงหาขอ้ มูลเพอ่ื จะมาชว่ ยสนบั สนุนการ
ตดั สนิ ใจ หรอื การเลือกทางเลอื กทไี่ ดต้ ดั สนิ ใจกระทำลงไป เช่น ซ้อื รถมาคันหน่ึงแลว้ ก็ยงั ไม่วายทจี่ ะ
แสวงหาข้อมลู ทจี่ ะมาสนบั สนนุ การตกลงใจ หรอื การตดั สนิ ใจของตนเองอยเู่ สมอ อาจจะด้วยการอา่ น
โฆษณาเกยี่ วกับรถ นติ ยสารรถ หรือผลติ ภณั ฑ์ใหม่ ๆ ที่เป็นย่ีหอ้ เดยี วกบั ที่ตนซอ้ื มา หรอื พูดคยุ
แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ หรอื ติดต่อสอื่ สารกบั บคุ คลอ่นื ๆ ทีต่ ัดสินใจซ้อื หรือใช้ผลติ ภัณฑ์นั้น ๆ
เหมอื นกบั ตน มากกวา่ ท่จี ะอา่ นโฆษณารถหรอื ผลติ ภณั ฑย์ ห่ี อ้ อ่นื ๆ หรอื มากกวา่ ทจี่ ะติดต่อสอื่ สารกบั คน
ทตี่ ัดสนิ ใจไมเ่ หมือนตน แต่ในบางครง้ั ก็อาจแสวงหาขา่ วสารผลิตภณั ฑ์ประเภทเดียวกนั แตเ่ ปน็ ยหี่ อ้ อืน่ ๆ
เพื่อหาขอ้ เสยี หรอื จดุ บกพร่องของยหี่ อ้ นนั้ ๆ เพื่อเป็นการเนน้ ถึงส่งิ ที่เราไดต้ ดั สนิ ใจกระทำลงไปว่าถกู ต้อง
และดที สี่ ุดแลว้ เชน่ กนั

กจิ กรรมฝึกภาษาเพอ่ื การสื่อสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๑๖

ความสำคัญของภาษาองั กฤษ

ความสำคัญของภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตของคนไทย และคนทั่ว
โลกไปแลว้ มนุษยชาติทกุ วันน้ีส่ือสารกันดว้ ยภาษาอังกฤษ ไมว่ ่าจะเป็นการตดิ ตอ่ ส่อื สารกนั โดยตรง การ
ใชอ้ ินเตอรเ์ น็ต การดูทวี ี การดูภาพยนตร์ การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หนงั สือคู่มือทางดา้ นวิชาการ
ต่างๆ ฯลฯ บัณฑิตท่ีสำเร็จการศึกษาออกมาในปัจจบุ นั ถ้ามคี วามรภู้ าษาอังกฤษทั้งพดู และเขยี นเสริมเข้า
ไปด้วยอีก โอกาสที่จะหางานก็จะไม่จำกัดแค่ในประเทศไทย เท่านั้น ถ้าท่านเป็นคนหนึ่งท่ีสามารถพูด
ภาษาองั กฤษได้ ท่านคงจะไมป่ ฏิเสธไดถ้ งึ สทิ ธิพิเศษท่ที ่านมีเหนือคนอน่ื ทไี่ มส่ ามารถส่ือสารภาษาอังกฤษ
ได้ ด้วยเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต ทำให้โลกของเราแคบลงไปถนัดตา ทุกวันนี้ท่าน
สามารถรับรขู้ ่าวสาร หรือตดิ ต่อกับเพือ่ นต่างชาติไดภ้ ายในเสี้ยววินาที ท่านจะไม่เข้าถึงสิทธิพเิ ศษเหล่าน้ี
เลย ถ้าท่านไมร่ ภู้ าษาอังกฤษ ระบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนของไทยหลายท่านอาจจะ
บอกว่า ประเทศไทยเราก็ให้ความสำคัญกับการเรียนภาษาอังกฤษมาต้ังนานแล้ว แต่ทำไมคนไทยถึงพูด
ภาษาอังกฤษสคู้ นฟลิ ิปปินสไ์ ม่ได้เลย นั่นก็เพราะวา่ หลักสูตรภาษาองั กฤษของกระทรวงศกึ ษาธิการของเรา
ยังไม่ได้เน้นการพูดภาษาอังกฤษ จะเน้นแตห่ ลักไวยากรณ์ คำแปล และการอ่านเพ่ือความเข้าใจและให้
สอบเข้ามหาวิทยาลัยไดเ้ ป็นสว่ นใหญ่ ส่ิงที่จะตอ้ งปรับปรงุ อย่างมากในระบบการเรียนภาษาอังกฤษของ
ไทยเราคอื การเนน้ การพูดออกเสียง ไม่ว่าจะเป็นการออกเสียงพยัญชนะแต่ละตัว การเน้นเสียงหนกั เบา
ซง่ึ จะต้องมีสอ่ื ชว่ ยสอนทเ่ี ป็นมัลติมเี ดีย คือ มีทั้งภาพ เสียง และตัวหนังสอื ให้ดว้ ย แทนระบบเกา่ ท่มี ีแต่
ตวั หนังสอื เท่านนั้ ทำให้การออกเสียงตามคำอ่านท่ีเขียนในตำราหรือพจนานุกรมที่ผิดๆ เชน่ คำวา่ cat ใน
พจนานกุ รมอังกฤษไทยจะเขียนคำอ่านเป็น แคท้ ซงึ่ แปลมาจากคำอ่านพจนานกุ รมอังกฤษเป็นอังกฤษ ทำ
ใหค้ นไทยเข้าใจว่า ไม่ต้องออกเสียงตวั t ท่ีอยู่ตอนท้ายด้วย น่าจะเขียนคำอ่านเป็น แค่ท-ถึ (ออกเสียง ถึ
เบาๆ) แต่ถ้าเราจัดทำส่ือการเรียนการสอนแบบมัลติมีเดีย เด็กก็จะได้ยินทั้งเสียงที่ถูกต้อง ได้เห็นภาพ
และตัวหนงั สอื ดว้ ย ซึ่งทำไดไ้ ม่ยาก และตน้ ทนุ กไ็ มม่ าก การเรยี นของเด็กกจ็ ะมปี ระสทิ ธภิ าพย่งิ ขน้ึ

กิจกรรมฝกึ ภาษาเพ่ือการสอื่ สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๑๗

ความสำคัญของการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ในภาวะปัจจุบันที่อิทธิพลของโลกาภิวัฒน์ยังคงมีอยู่อย่างต่อเน่ือง และยังจะเพิ่ม
มากขึน้ เรอ่ื ยๆ นัน้ การเรยี นรู้ภาษาของประเทศอื่นยอ่ มได้เปรียบในการทำกจิ การต่างๆ เพราะคงไมม่ ี
ใครจะติดต่อสื่อสารและรู้เรอื่ งไดด้ ีเท่ากบั การพดู ภาษาเดยี วกนั เคยมีเร่ืองเล่ากนั เล่นวา่ ประเทศไทย
ท่คี ้าขายสิงคโปร์ มาเลย์ ฮ่องกง ใต้หวัน ไม่ไดก้ ็เพราะวา่ มาตดิ ตอ่ กับประเทศไทยแล้วส่อื สารกันยัง
ไม่ชัดเจนจึงต้องผ่านตัวแทนท่ีรู้ภาษาดีกว่าเช่นสงิ คโ์ ป มาเลย์ ฮ่องกง ใต้หวัน หรือแม้แต่ฟิลิบปนิ ก็
ตาม ซ่ึงเราจะเห็นว่าประเทศเหลา่ นั้นล้วนแล้วแต่ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
โดยเฉพาะอย่างย่งิ ภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษาที่อาจคิดได้ว่าเป็นภาษาสากล หลายประเทศประกาศ
ให้เป็นภาษาราชการอีกภาษาหน่งึ นอกจากภาษาของตวั เองประเทศที่ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษนั้นย่อมทราบดีว่า คนจะเรียนรู้ภาษาให้ซาบซึ้งสามารถใช้ภาษาเข้าสู่สังคมและ
วัฒนธรรม สามารถใช้ภาษาไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสมกบั สังคมวัฒนธรรมตามสถานะการณ์ได้ในทุก
ทกั ษะของภาษา และโดยเฉพาะอย่างยิง่ ผู้ทส่ี ามารถใชภ้ าษาองั กฤษในการสอื่ สารได้ดจี ะมีโอกาสใน
การจ้างงาน และได้รับการสนับสนนุ สง่ เสริมในงานในหน้าทใี่ ห้ย่งิ ข้ึนไป มากกวา่ ผ้ทู ไ่ี มม่ ที ักษะทาง
ภาษาเลย ดังตัวอย่างที่หน่วยงานห้างร้านบริษัท ที่ประกาศรับพนังงาน แต่แนบท้ายด้วยคำว่ามี
ความสามารถทางภาษาที่สามารถติดต่อสือ่ สารได้ นั่นก็คือต้องมีทกั ษะการฟังและการพูดเปน็ อยา่ ง
น้อย

อันเนื่องจากภาษาอังกฤษมีการใช้กันทั่วโลกมากกว่าภาษาอ่ืนๆ มีการเรียนการสอน
กันท่ัวโลกมากกว่าภาษาอื่นจึงคิดให้เป็นภาษาสากลท่ีติดต่อส่ือสารได้ทั่วโลก การเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษประการแรกนา่ จะใช้ในการติดต่อสื่อสารระหวา่ งกันอยา่ งเหมาะสมตามสถานะการณ์
เชน่ เดียวกบั การทีเ่ ราเรยี นรภู้ าษาแรกจากพอ่ แม่ พีเ่ ลย้ี ง เปน็ การเรียนร้แู บบธรรมชาติ ไม่จำเป็นต้อง
ทอ่ งศัพท์ แปล หรือ ร้หู ลักไวยากรณ์ ดังน้ันการเรียนการสอนในระดับเร่มิ เรียนรู้ภาษานั้น คงต้อง
เน้นการมสี ่วนร่วมทางภาษาให้มากทีส่ ุด คือผู้เรยี นตอ้ งเรียนรจู้ ากการฟังและพูดอย่างเป็นธรรมชาติ
จนเกดิ ทักษะ เร่มิ จากการพูดในชวี ิตประจำวนั ในครอบครัว แลว้ ค่อยขยายออกไปสโู่ ลกภายนอกมาก
ข้นึ เพ่ือเปน็ พ้ืนฐานในการเรียนรู้ในการศกึ ษาขั้นสูงขึ้น
การสอนทกั ษะการพดู และการฟงั จงึ เปน็ ส่ิงสำคัญยิ่ง และผู้สอนอันเปน็ ต้นแบบจะตอ้ งพฒั นาความรู้
ทางภาษาให้ใกล้เคียงกับเจา้ ของภาษาให้มากท่ีสุด มิฉะนนั้ แล้วจะเข้าลกั ษณะแม่ปสู อนลูกให้เดนิ ให้
ตรง ในเร่ืองน้ปี ัจจุบันแม้จะแก้ได้บา้ งโดยอาศัยเทคโนโลยี ท่ีบันทกึ เสียงการพูดคุย การออกเสยี งท่ี
ถูกตอ้ งไว้ แล้วกต็ าม แต่การแสดงความรู้สึก แสดงอารมณ์ทเ่ี ก่ียวข้องนัน้ ก็ยังตอ้ งใช้เจา้ ของภาษามา
เปน็ ผ้สู อนถงึ จะทำให้เกิดการเรยี นรู้ทางภาษาไดเ้ รว็
การส่ือสารในสถานะการณ์ตา่ งๆ จะสื่อสารกันไดอ้ ย่างนอ้ ยทส่ี ดุ กต็ ้องฟงั รูเ้ รื่องก่อนแล้วจึงจะทำให้
สามารถพูดโต้ตอบได้ หรือพูดได้ พูดเป็น หรือใช้เป็น และเป็นประโยชน์ นอกจากการโต้ตอบ
แลกเปล่ียนข้อมูลสารสนเทศกันก็คงรวมไปถึงการเล่าเร่ือง บรรยาย แสดงความคิด ความเห็น
ความรู้สึก วิพากษ์วจิ ารณ์ ซึงก็ต้องมกี ารประเมนิ ท่ีได้ยินได้ฟงั มา จากการวิเคราะห์สังเคราะหอ์ ีกที

กิจกรรมฝกึ ภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๑๘
หน่ึง จึงถือว่าสุดยอดในการเรยี นรู้ทางภาษาและจากท่ีประเทศเรากำลงั ประสบกับภาวะวิกฤตทิ าง
เศรษฐกิจ ตากเศรษฐกิจกระแสโลก และวิกฤติการเมือง กาเรยี นรู้ภาษาให้แตกฉานก็เป็นการช่วย
บรรเทาภาวะทางเศรษฐกิจในขณะนไี้ ด้ อันเนื่องมาจากท่ีรัฐบาลประกาศให้การท่องเที่ยวเป็นวาระ
แหง่ ชาติ การเข้าใจเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศจะทำใหก้ ารติดต่อสื่อสารกบั ชาวต่างประเทศทีจ่ ะเขา้ มา
ท่องเที่ยวประเทศไทยดีขึ้น เป็นส่วนหน่ึงในการตัดสินใจให้เข้ามาเท่ียวประเทศไทยมากขึ้น
สถาบันการศกึ ษาทมี่ ศี กั ยภาพ นา่ จะมีส่วนส่งเสริม ช่วยเหลือประเทศในแงน่ ี้ได้

กจิ กรรมฝึกภาษาเพือ่ การสื่อสาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๑๙

บทที่ ๓
วิธีการดำเนนิ งาน

โครงการฝึกประสบการณ์การใชภ้ าษาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝกึ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
(ภาษาอังกฤษ) ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง จังหวัด
นราธิวาส เปน็ โครงการทจ่ี ดั ทำขนึ้ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเขา้ ใจ และสามารถภาษาอังกฤษได้ รวมทั้ง
สามารถใช้ในการติดต่อส่อื สารที่เป็นประโยชน์สูงสดุ ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งได้รับการพัฒนา
คุณภาพชีวติ ใหม้ แี นวทางในการดำเนินชวี ติ ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ดังนี้

ขั้นที่ ๑ ข้ันการเตรยี มการ
๑.๑ ประชุม/วางแผนบคุ ลากร
๑.๒ จัดเวทปี ระชาคมสำรวจความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย
๑.๓ เขียนโครงการเพอื่ เสนอขออนมุ ัตงิ บประมาณในการดำเนินโครงการ

ขั้นท่ี ๒ ข้ันดำเนินการ
ดำเนนิ การจัดกิจกรรมตามจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ

(กิจกรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะอาชีพ วิชาช่างทาสีเบื้องตน้ จำนวน 4๐ ชั่วโมง)
ขน้ั ท่ี ๓ นิเทศติดตามผล และรายงานผล / ประเมินผล
๓.๑ การนิเทศตดิ ตามผลการดำเนนิ โครงการ
๓.๒ การประเมนิ ผลและสรปุ ผลการดำเนนิ โครงการ
๓.๓ การรายงานและเผยแพรผ่ ลการดำเนนิ โครงการ

ดัชนชี ้วี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ (Key Performance Indicator: KPI)

ตวั ช้วี ัดความสำเรจ็ สอดคล้อง วิธีการประเมิน เครื่องมอื ที่ใช้
กบั มาตรฐาน กศน.ที่ แบบบันทึกการ

ผลผลติ (Outputs) ประชาชน สังเกต

ในพนื้ ทีอ่ ำเภอเจาะไอร้อง ๑,๒ การสงั เกต แบบประเมนิ
ความพงึ พอใจ
จำนวน 24 คน

ผลลัพธ์ (Outcomes) ร้อยละ

9๐ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้

ความ เข้ าใจ แ ล ะส าม าร ถ ๑,๒ ประเมินความพงึ พอใจของ
ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม
สื่อสารภาษาอังกฤษได้รวมท้ัง
สามารถใช้ในการติดต่อส่ือสาร

ท่ีเป็นประโยชน์สูงสุดต่อการ

พัฒนาคุณภาพชีวติ

กิจกรรมฝกึ ภาษาเพอ่ื การส่อื สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๒๐

โครงการฝกึ ประสบการณก์ ารใช้ภาษาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพือ่ การสอื่ สาร
(ภาษาอังกฤษ) โดยแบง่ ค่าในการประเมนิ ออกเปน็ ๕ ระดบั ตามแบบของ ลิเคริ ต์ (Likert’s five point

rating scale) ดังน้ี

นำ้ หนักคะแนน ๕ หมายถงึ มีความเหน็ อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด
น้ำหนกั คะแนน ๔ หมายถงึ มีความเหน็ อยใู่ นระดบั มาก

น้ำหนกั คะแนน ๓ หมายถงึ มคี วามเหน็ อย่ใู นระดบั ปานกลาง
น้ำหนักคะแนน ๒ หมายถึง มีความเห็นอยูใ่ นระดับนอ้ ย
น้ำหนักคะแนน ๑ หมายถึง มคี วามเหน็ อยู่ในระดบั นอ้ ยทีส่ ุด

ในส่วนของการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานในโครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) พ้ืนที่ หมู่ 1 บ้านเจาะไอร้อง ตำบล
จวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส และระดับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการถือว่าเป็น

คา่ เฉลี่ยของคะแนนทีไ่ ดจ้ ากการตอบแบบสอบถาม ทง้ั น้ีผจู้ ัดกิจกรรมได้กำหนดการวิเคราะหต์ ามแนวคิด
ของ เบสท์ (อ้างถงึ ใน พวงรัตน์ ทวรี ตั น์, ๒๕๔๓ : ๓๐๓) ดังน้ี

ค่าเฉลยี่ ความหมาย

๑.๐๐ – ๑.๔๙ นอ้ ยที่สดุ
๑.๕๐ – ๒.๔๙ น้อย
๒.๕๐ – ๓.๔๙ ปานกลาง

๓.๕๐ – ๔.๔๙ มาก
๔.๕๐ – ๕.๐๐ มากท่ีสุด

กิจกรรมฝกึ ภาษาเพื่อการสือ่ สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๒๑

บทที่ ๔
ผลการศกึ ษา

โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการ
สื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ณ หมู่ที่ ๑ บ้านเจาะไอร้อง ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ระหว่างวันที่ ๒๓ เดือนมิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๖๔ ถงึ ๒๕ เดือนมถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖๔ ตามตารางกิจกรรมท่ี
กำหนด โดยใชแ้ บบสอบถามซง่ึ แบ่งเปน็ ๒ สว่ นดังน้ี

สว่ นที่ ๑ ข้อมูลท่วั ไป

ตารางท่ี ๑ จำนวนและรอ้ ยละจำแนกตามข้อมลู ทั่วไปของผู้ร่วมกิจกรรม

ขอ้ มูลทั่วไป จำนวนผู้เข้ารว่ มกิจกรรม รอ้ ยละ

เพศ ๐ ๐.๐๐
ชาย 8 ๑๐๐
หญิง

อายุ - -
อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี
อายุ ๑๕ - ๓๙ ปี 8 ๑๐๐
อายุ ๔๐ - ๕๙ ปี
 อายุ ๖๐ ปขี น้ึ ไป - -
-
-

วุฒิการศึกษา - -
ตำ่ กว่าระดบั ประถมศกึ ษา - -
ระดับประถมศกึ ษา 5 62.50
ระดบั มัธยมตอนตน้ 3 37.50
ระดบั มัธยมตอนปลาย -
ระดบั ปริญญาตรี - ๑๐๐
อื่น ๆ ระบุ(ปวส.) -
8 -
สถานภาพ - -
โสด
สมรส - ๑๐๐
-
สถานภาพการทำงาน 8
ลกู จ้าง
เกษตรกร
อืน่ ๆ

กจิ กรรมฝึกภาษาเพ่อื การสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๒๒

จากตารางที่ ๑ สรปุ ไดด้ ังน้ี
เพศ เปน็ เพศหญงิ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐
อายุ มีอายุระหว่าง ๑๕ - ๓๙ ปี รอ้ ยละ ๑๐๐ รองลงมามอี ายรุ ะหว่าง - ปี รอ้ ยละ - ตามลำดบั
วฒุ ิการศึกษา สว่ นใหญม่ ีวฒุ กิ ารศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ รอ้ ยละ 62.50
รองลงมามีวุฒกิ ารศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รอ้ ยละ 37.50
สถานภาพ มสี ถานภาพโสด ร้อยละ ๑๐๐
สถานภาพการทำงาน มสี ถานภาพการทำงานอน่ื ๆ รอ้ ยละ ๑๐๐

จากตารางท่ี ๒ พบว่าผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ มีความพงึ พอใจในการจดั กจิ กรรมการดำเนนิ งานดงั น้ี

๑. ความพอใจด้านกระบวนการ/ข้นั ตอนการให้บรกิ าร
 กระบวนการจดั กจิ กรรมตรงกับวตั ถุประสงคข์ องโครงการ ส่วนใหญม่ คี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดบั ดมี าก
รอ้ ยละ ๘๗.๓๓ รองลงมาอยู่ในระดบั ดี รอ้ ยละ ๑๒.๕๐ ตามลำดับ
 การอำนวยความสะดวกในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ส่วนใหญ่มคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดบั ดมี าก ร้อยละ
๘๕ รองลงมาอยู่ในระดับดี ร้อยละ ๑๓.๗๕ และอยใู่ นระดบั ปานกลาง ร้อยละ ๑.๒๕ ตามลำดบั
 ช่วงเวลา/ระยะเวลาในการจดั โครงการ สว่ นใหญ่มีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ดมี าก ร้อยละ ๘๑.๒๕
รองลงมาอย่ใู นระดบั ดี ร้อยละ ๖.๒๕ ตามลำดบั
 ไดร้ ับความรหู้ รือประโยชน์จากการจัดกจิ กรรมทกุ ขนั้ ตอน ส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ดี
ร้อยละ ๘๒.๗๕ รองลงมาอยใู่ นระดบั ดีมาก รอ้ ยละ ๑๕.๐๐ และอยู่ในระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ ๒.๕๐
ตามลำดับ
 สามารถนำความรู้จากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน สว่ นใหญม่ ีความพงึ พอใจอยู่ใน
ระดบั ดี ร้อยละ ๘๓.๗๕ รองลงมาอย่ใู นระดบั ดีมาก รอ้ ยละ ๑๓.๗๕ และอยใู่ นระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ
๒.๕๐ ตามลำดบั

๒. ดา้ นเจา้ หน้าที่/วิทยากร
 ความรวดเร็วและคล่องตวั ในการปฏบิ ตั งิ านของเจ้าหนา้ ที่ สว่ นใหญม่ คี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ดมี าก
ร้อยละ ๘๐.๐๐ รองลงมาอยใู่ นระดับดี ร้อยละ ๑๗.๕๐ และอยูใ่ นระดบั ปานกลาง ร้อยละ ๒.๕๐
ตามลำดบั
 กรยิ า มารยาทและการมมี นุษย์สมั พนั ธท์ ่ีดี สว่ นใหญ่มีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ดมี าก ร้อยละ
๙๓.๗๕ รองลงมาอยูใ่ นระดบั ดี ร้อย ๖.๒๕ ตามลำดบั
 บริการด้วยความเป็นเสมอภาค เปน็ ธรรม ไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิ สว่ นใหญม่ ีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ดมี าก
ร้อยละ ๙๓.๗๕ รองลงมาอยู่ในระดบั ดี รอ้ ยละ ๖.๒๕ ตามลำดับ
 ความพรอ้ มของวิทยากรในการให้ความรู้ สว่ นใหญ่มคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ ๘๓.๐๐
รองลงมาอยู่ในระดบั ดี ร้อยละ ๑๖.๒๕ และอย่ใู นระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ ๕.๐๐ ตามลำดับ

กจิ กรรมฝกึ ภาษาเพอ่ื การส่อื สาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๒๓
 วิทยากรเปิดโอกาสใหผ้ ฟู้ งั ซกั ถามหรือมสี ว่ นร่วม ส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั ดมี าก ร้อยละ
๘๕.๗๕ รองลงมาอยู่ในระดบั ดี รอ้ ยละ ๑๕.๒๕ และอยู่ในระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ ตามลำดับ
 วิทยากรมคี วามสามารถถ่ายทอดความรูต้ ามลำดับข้นั ตอนอยา่ งชัดเจน ส่วนใหญม่ ีความพงึ พอใจอยู่
ในระดบั ดีมาก ร้อยละ ๘๑.๒๕ รองลงมาอยใู่ นระดบั ดี รอ้ ยละ ๑๘.๗๕ ตามลำดบั

๓. ดา้ นสง่ิ อำนวยความสะดวก
 ความเหมาะสมและความพรอ้ มของสถานทก่ี ารจดั โครงการ สว่ นใหญม่ ีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ดี
รอ้ ยละ ๕๖.๒๕ รองลงมาอยู่ในระดับดีมาก รอ้ ยละ ๔๓.๗๕ และอยูใ่ นระดบั ปานกลาง ร้อยละ ๓.๓๓
ตามลำดบั
 เอกสารประกอบ/วสั ดอุ ุปกรณ์ มเี พยี งพอต่อความตอ้ งการ สว่ นใหญม่ คี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดี
ร้อยละ ๖๖.๒๕ รองลงมาอยใู่ นระดับดีมาก รอ้ ยละ ๔๓.๗๕ ตามลำดบั
 เอกสารประกอบครอบคลมุ เน้ือหาของโครงการ สว่ นใหญ่มคี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดบั ดีมาก รอ้ ยละ
๖๖.๒๕ รองลงมาอยู่ในระดบั ดี รอ้ ยละ ๓๑.๒๕ และระดบั ปานกลาง ร้อยละ ๒.๕๐ ตามลำดบั

กิจกรรมฝกึ ภาษาเพ่อื การสือ่ สาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๒๔

บทท่ี ๕
สรปุ ผลการศกึ ษา

ส่วนท่ี ๑ ข้อมลู ทั่วไป

โครงการฝกึ ประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพอื่ การ
สื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ณ หมู่ท่ี ๑ บ้านเจาะไอร้อง ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ระหวา่ งวันที่ ๒๓ เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๖๔ ถงึ ๒๕ เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๖๔ จำนวน 8 คน พบว่า
เป็นเพศหญิงร้อยละ ๑๐๐.๐๐ เพศชายร้อยละ ๐.๐๐ มีอายุระหว่าง ๑๕-๓๙ ปี ร้อยละ ๑๐๐ มีวุฒิ
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 62.50 รองลงมาวุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
รอ้ ยละ ๕๘.๓๓ มสี ถานภาพส่วนใหญ่ โสด รอ้ ยละ ๑๐๐ และมสี ถานภาพการทำงานส่วนใหญ่อื่นๆ รอ้ ย
ละ ๑๐๐

ส่วนที่ ๒ ความพงึ พอใจต่อโครงการ

ผูเ้ ขา้ ร่วม โครงการฝกึ ประสบการณก์ ารใช้ภาษาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพ่ือการส่ือสาร
(ภาษาองั กฤษ) ส่วนใหญม่ คี วามคิดเหน็ ดงั นี้

๑. ความพอใจดา้ นกระบวนการ/ข้ันตอนการให้บริการ ส่วนใหญร่ ะดบั ดีมาก ร้อยละ ๘๓.๓๓
 กระบวนการจัดกิจกรรมตรงกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ สว่ นใหญร่ ะดับดีมาก ร้อยละ ๘๐.๐๐
 การอำนวยความสะดวกในการเขา้ ร่วมกิจกรรม ส่วนใหญร่ ะดบั ดมี าก รอ้ ยละ ๙๑.๖๗
 ช่วงเวลา/ระยะเวลาในการจัดโครงการ สว่ นใหญร่ ะดบั ดี รอ้ ยละ ๘๕.๐๐
 ได้รบั ความรหู้ รือประโยชนจ์ ากการจัดกิจกรรมทุกข้ันตอน ส่วนใหญ่ระดบั ดี ร้อยละ ๘๐.๐๐
 สามารถนำความรจู้ ากการเข้ารว่ มกิจกรรมไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวนั
ส่วนใหญ่ระดับดมี าก ร้อยละ ๘๓.๓๓
๒. ด้านเจ้าหน้าท่/ี วทิ ยากร สว่ นใหญร่ ะดับดมี าก รอ้ ยละ ๙๐.๐๐
 ความรวดเรว็ และคลอ่ งตัวในการปฏบิ ัติงานของเจ้าหน้าที่ ส่วนใหญ่ระดับดีมาก ร้อยละ ๘๘.๓๓
 กริยา มารยาทและการมีมนุษย์สัมพันธ์ทดี่ ี ส่วนใหญ่ระดบั ดมี าก รอ้ ยละ ๘๐.๓๓
 บรกิ ารดว้ ยความเปน็ เสมอภาค เปน็ ธรรม ไมเ่ ลอื กปฏบิ ัติ สว่ นใหญร่ ะดับดีมาก รอ้ ยละ ๘๓.๓๓
 ความพร้อมของวทิ ยากรในการให้ความรู้ ส่วนใหญ่ระดบั ดมี าก ร้อยละ ๘๑.๖๗
 วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้ผู้ฟังซักถามหรือมีส่วนร่วม
 วทิ ยากรมีความสามารถถ่ายทอดความรตู้ ามลำดับขัน้ ตอนอย่างชัดเจน สว่ นใหญร่ ะดับดี ร้อยละ ๗๘.๓๓
สว่ นใหญร่ ะดับดี รอ้ ยละ ๘๘.๓๓
๓. ด้านส่งิ อำนวยความสะดวก สว่ นใหญ่ระดบั ดีมาก ร้อยละ ๘๘.๓๓
 ความเหมาะสมและความพร้อมของสถานท่กี ารจดั โครงการ
 เอกสารประกอบ/วสั ดุอปุ กรณ์ มีเพียงพอตอ่ ความต้องการ
 เอกสารประกอบครอบคลมุ เนอื้ หาของโครงการ

กจิ กรรมฝึกภาษาเพ่ือการสือ่ สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๒๕

บรรณานุกรม

ทม่ี า : http://www.jitjai.com/2009/08/communication-skills.html
https://sites.google.com/site/onlinecitizenship/home/good-
communication/communication-skills
ท่มี าของข้อมลู : http://e-book.ram.edu/e-book/m/mc111/mc111_03_04.html

กจิ กรรมฝึกภาษาเพ่อื การส่อื สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๒๖

ภาคผนวก

กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสอ่ื สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๒๗

โครงการฝึกประสบการณ์การใชภ้ าษาจังหวดั ชายแดนภาคใต้
กิจกรรมฝึกภาษาเพือ่ การสอ่ื สาร (ภาษาอังกฤษ)

ณ หมู่ที่ ๑ บา้ นเจาะไอรอ้ ง ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวดั นราธวิ าส
ระหวา่ งวันท่ี ๒๓ เดือนมถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๖๔ ถงึ ๒๕ เดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๖๔

กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสอื่ สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๒๘
โครงการฝึกประสบการณ์การใชภ้ าษาจังหวดั ชายแดนภาคใต้

กิจกรรมฝึกภาษาเพือ่ การสอ่ื สาร (ภาษาอังกฤษ)
ณ หมู่ที่ ๑ บา้ นเจาะไอรอ้ ง ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวดั นราธวิ าส
ระหวา่ งวันท่ี ๒๓ เดือนมถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๖๔ ถงึ ๒๕ เดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๖๔

กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสอื่ สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๒๙
โครงการฝกึ ประสบการณ์การใช้ภาษาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

กิจกรรมฝกึ ภาษาเพอื่ การสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ)
ณ หมู่ท่ี ๑ บา้ นเจาะไอร้อง ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอรอ้ ง จงั หวดั นราธิวาส
ระหว่างวันที่ ๑๒ เดอื นมิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๔ ถึง ๒๕๖๔ เดอื นมิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๔

กิจกรรมฝกึ ภาษาเพอื่ การสอ่ื สาร (ภาษาอังกฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๓๐

กจิ กรรมฝึกภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร (ภาษาองั กฤษ) ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔


Click to View FlipBook Version