The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 1 อุทยานประวัติศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by petnadee150415, 2022-07-27 04:16:15

อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย

ชุดที่ 1 อุทยานประวัติศาสตร์

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ

กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
โรงเรียนไชยวานวทิ ยา อำเภอไชยวาน จังหวดั อุดรธานี

สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาอดุ รธานี

-2- หน้า

สารบญั 1

เรือ่ ง 2
3
ขอบขา่ ยการเรียนรู้ 4
6
ผงั มโนทศั นเ์ รื่อง อุทธยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั 9
บตั รคาส่ัง 11
แบบทดสอบก่อนเรียน 13
บตั รเน้ือหา
บตั รกิจกรรม
แบบทดสอบหลงั เรียน
บตั รเฉลย
อา้ งองิ รูปภาพ
บรรณานุกรม

-3-

ขอบข่ายการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้

ส 4.3 ข้อ 1 รู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั พฒั นาการของเศรษฐกิจ การเมอื ง การปกครอง
สังคม ศิลปวฒั นธรรม และความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศของรัฐไทยในดินแดนประเทศ
ไทยต้งั แตอ่ ดีตจนถงึ ปัจจุบนั และเกิดความภมู ิใจในความเป็นไทย

สาระสาคัญ

อุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั ในอดีตเคยเป็นราชธานีของไทยทม่ี ีความเจริญ
รุ่งเรืองมากกว่า 200 ปี เป็นแหล่งเกบ็ รวบรวมมรดกทางวฒั นธรรมไทยท่สี าคญั
เป็นสถานทที่ ่ีมคี วามโดดเด่นเป็นเลศิ ในระดบั สากล จนไดร้ ับการประกาศจากองคก์ าร
ศึกษาวทิ ยาศาสตร์และวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยเู นสโกให้เป็นมรดกโลก
เม่อื พ.ศ. 2534

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. บอกท่ตี ้งั และความสาคญั ของอทุ ยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั ได้
2. อธิบายแหล่งโบราณสถานท่ีสาคญั ในอทุ ยานประวตั ิศาสตร์ได้

-4-

ผังมโนทศั น์
เร่ือง อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทยั

ที่ต้งั แผนท่ีอทุ ยาน
ประวตั ิศาสตร์สุโขทัย

อทุ ยานประวัติศาสตร์
สุโขทยั

ของดกี รุงสุโขทยั วดั ในพระพทุ ธศาสนา

-5-

ชุดการสอนแบบกล่มุ ร่วมมือ เร่ือง อาณาจักรสุโขทยั
ชุดที่ 2 อทุ ยานประวัตศิ าสตร์สุโขทยั

บตั รคาส่ัง

โปรดอ่านคาชี้แจงต่อไปนี้ แล้วปฏบิ ตั ิตามข้นั ตอน

1. อ่านคาช้ีแจง และคาแนะนาสาหรับนกั เรียนให้เขา้ ใจก่อนลงมือศึกษาชุดการสอนแบบ
กล่มุ ร่วมมือ

2. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม กลุม่ ละ 4 คน โดยคละตามความสามารถ
3. สมาชิกในแต่ละกลุม่ ศกึ ษาเน้ือหาและร่วมอภิปรายในหวั ขอ้ ท่ีตนไดร้ บั มอบหมาย
4. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน
5. ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยจากบตั รเฉลย นกั เรียนแจง้ ผลคะแนนครูบนั ทกึ คะแนนลง

ในแบบบนั ทึกคะแนนรายคน
6. หลงั จากทากิจกรรมการเรียนการสอนเสร็จเรียบร้อยแลว้ ให้นกั เรียนเก็บวสั ดุอปุ กรณ์

ประกอบชุดการสอนแบบกลุม่ ร่วมมือให้เรียบร้อย
7. ในการทากิจกรรมตามชุดการสอนแบบกลมุ่ ร่วมมือทกุ ชุดใหน้ กั เรียนทาดว้ ยความต้งั ใจ

ใหค้ วามร่วมมือ และมคี วามซ่ือสตั ยต์ ่อตนเองให้มากที่สุด โดยไม่ดูเฉลยก่อนทาบตั ร
กิจกรรมและแบบทดสอบ
8. หากนกั เรียนเรียนไม่ทนั หรือเรียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจให้รับชุดการสอนแบบกลมุ่ ร่วมมอื ไป
ศึกษาเพม่ิ เติมนอกเวลาเรียน เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจมากยงิ่ ข้ึน

เตรียมตวั เตรียมใจ พรอ้ มแลว้
ไปศึกษาหาความรู้กนั เลยค่ะ

-6-

ชุดการสอนแบบกล่มุ ร่วมมือ เรื่อง อาณาจักรสุโขทัย
ชุดท่ี 2 อุทยานประวตั ศิ าสตร์สุโขทยั

บัตรเนือ้ หา

อทุ ยานประวตั ศิ าสตร์สุโขทยั ต้งั อยตู่ รงขา้ มพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาตริ ามคาแหง
ห่างจากตวั จงั หวดั สุโขทยั ไปทางทิศตะวนั ตกประมาณ 12 กิโลเมตร ถนนจรดวถิ ถี ่อง
ทางหลวงหมายเลข 12 สายสุโขทยั - ตาก

ในอดีตเมืองสุโขทยั เคยเป็นราชธานีของไทยมคี วามเจริญรุ่งเรือง เป็นศูนยก์ ลาง
การปกครองศาสนา และเศรษฐกิจ ภายในอุทยานมีสถานท่ีสาคญั ท่เี ป็นพระราชวงั
ศาสนสถาน โบราณสถาน โดยมีคูเมือง กาแพงเมือง และประตเู มืองโบราณลอ้ มรอบอยู่
ในรูปสี่เหลย่ี มจตรุ ัส บริเวณพ้นื ทอี่ ทุ ยานประวตั ศิ าสตร์สุโขทยั ครอบคลมุ พ้ืนทกี่ วา่ 70
ตารางกิโลเมตร และมโี บราณสถานสาคญั ท่นี ่าชมมากมาย อทุ ยานประวตั ศิ าสตร์สุโขทยั
เป็นแหล่งเกบ็ รวบรวมมรดกทางวฒั นธรรมไทยที่สาคญั แห่งหน่ึง เป็นสถานท่ที ่ีมคี วาม
โดดเด่นเป็นเลิศในระดบั สากล จนไดร้ ับการประกาศจากองคก์ ารศึกษาวทิ ยาศาสตร์และ
วฒั นธรรมแห่งสหประชาชาตหิ รือยเู นสโกให้เป็นมรดกโลก เมอ่ื พ.ศ. 2534

เป็นอยา่ งไรบา้ ง น่าสนใจมากเลยค่ะ
ครับทราบขอ้ มลู เดี๋ยวหนูจะเก็บเงนิ
แลว้ อยากไป ชวนคณุ พ่อคุณแม่ไป
เทย่ี วหรือยงั เทีย่ วปิ ดเทอมน้ีเลยค่ะ

-7-

ทม่ี า : กล่มุ งานข้อมูลสารสนเทศและการส่ือสาร สานกั งานจงั หวดั สุโขทัย

พร้อมยังฉันจะพา ยง่ิ ใหญ่สมเป็ นมรดกโลก
เธอเท่ยี วอทุ ยาน ของชนชาติไทยจริง ๆ เลย
ประวตั ศิ าสตร์
สุโขทัยกันนะ

-8-

สร้างข้ึนเมื่อปี พ.ศ. 2518 ต้งั อยรู่ ิมถนนจรดวถิ ีถ่อง
ทางทศิ เหนือของวดั มหาธาตุ ลกั ษณะพระบรมรูป
พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชเป็นพระบรมรูปหล่อดว้ ยโลหะทองเหลืองผสมทองแดงรมดา
ขนาด 2 เทา่ ขององคจ์ ริง สูง ๓ เมตร ประทบั นงั่ ห้อยพระบาทบนแท่นมนงั คศิลาบาตร
พระหตั ถถ์ ือคมั ภีร์ พระหตั ถซ์ า้ ยอยใู่ นท่าทรงสั่งสอนประชาชน แทน่ ดา้ นซา้ ยมีพานวาง
พระขรรคไ์ วข้ า้ ง ๆ ลกั ษณะพระพกั ตร์เหมอื นอยา่ งพระพุทธรูปสมยั สุโขทยั ตอนตน้
ทถี่ ่ายทอดความรู้สึกวา่ พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชมนี ้าพระทยั เมตตากรุณา ยตุ ิธรรม
มีความเดด็ ขาดในการปกครองแบบพ่อปกครองลูก ทด่ี า้ นขา้ งมีภาพแผ่นจาหลกั จารึก
เหตุการณเ์ ก่ียวกบั พระราชกรณียกิจของพระองคต์ ามทีอ่ า้ งถึงในจารึกสุโขทยั

พระแม่ยา่ สนั นิษฐานว่าคอื พระขพงุ ผี ดงั ทกี่ ล่าวไว้
ในศลิ าจารึก หลกั ที่ 1 พระแมย่ า่ เป็นเทวรูปหินสลกั จากหินชนวน สูงประมาณเมตร
เศษ ประทบั ยืนทรงพระภษู า แต่ไม่ทรงฉลองพระองค์ เดิมประดิษฐาน อยู่ ณ เขาแม่
ยา่ อยหู่ ่างจากเมืองเกา่ สุโขทยั ประมาณ 7 กิโลเมตร รูปลกั ษณะของเทวรูป พระแม่ยา่
น้นั เป็นสตรี มีนามวา่ "พระขพงุ ผ"ี แปลวา่ ผอี นั ประเสริฐ หรือ เทพยดาอนั ประเสริฐ
ในปี พ.ศ. 2458 สมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ไดร้ ับส่ังให้อญั เชิญพระแมย่ า่
มาไวบ้ นศาลากลาง (ปัจจบุ นั ถูกร้ือไปแลว้ ) และต่อมาในปี พ.ศ. 2496 จงั หวดั สุโขทยั
จึงไดส้ ร้างศาลพระแมย่ า่ ข้ึนทห่ี นา้ ศาลากลางจงั หวดั
และอญั เชิญพระแม่ยา่ มาประดิษฐานไว้

-9-

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รัชกาลท่ี 4) ขณะดารงพระยศเป็น
สมเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธอเจา้ ฟ้ามงกุฎ ฯ และทรงเพศบรรพชิต ไดเ้ สดจ็ ไปจาริกแสวงบญุ
ทเี่ มืองสุโขทยั เก่า เม่ือ พ.ศ. 2376 และทรงพบจารึกหลกั ท่ี 1 แห่งเดียวกบั พระแท่น
มนงั คศิลา คอื เนินปราสาท ตรงขา้ มวดั มหาธาตุ ศลิ าจารึกน้ีเป็นที่รู้จกั กนั โดยทวั่ ไปวา่
จารึกของพ่อขนุ รามคาแหง ซ่ึงไดจ้ ารึกข้ึนในปี พ.ศ. 1835 ภาษาท่ีใชแ้ ละตวั อกั ษร
เป็นภาษาไทยตอนท่ี 1 ต้งั แต่ดา้ นที่ 1 บรรทดั ท่ี 1-18 เป็นพระราชประวตั ิของ
พ่อขนุ รามคาแหง โดยใชค้ าว่า "ก"ู เป็นพ้ืน ดงั ปรากฏหลกั ฐานในศลิ าจารึก คือ "พอ่ กู
ช่ือศรีอินทราทติ ย์ แมก่ ชู ื่อนางเสือง พีก่ ูชื่อบานเมือง ตพู ่ีนอ้ งทอ้ งเดียวหา้ คน ผชู้ ายสาม
ผหู้ ญิงสอง พี่เผอื ผูอ้ า้ ยตายจากเผือเตยี มแตย่ งั เลก็ .." ตอนที่ 2 ต้งั แตด่ า้ นท่ี 1 บรรทดั ที่ 19
ถึงดา้ นท่ี 4 บรรทดั ที่ 11 รวม 90 บรรทดั เป็นการพรรณนาถงึ เมืองสุโขทยั สมยั พอ่ ขนุ
รามคาแหง เก่ียวกบั สภาพบา้ นเมือง ขนบธรรมเนียม ประเพณี กฎหมาย
พระพทุ ธศาสนา ความเช่ือเร่ืองผสี างเทวดา การสร้างพระแทน่ ศลิ าบาตร การประดิษฐ์
ลายสือไท แตไ่ ม่ไดใ้ ชค้ าวา่ "กู" แต่ใชค้ าว่า "พอ่ ขนุ รามคาแหง" เช่น "เมอื่ ชว่ั พ่อขนุ
รามคาแหง...ลายสือไทน้ีจึงมีข้นึ เพื่อขนุ ผนู้ ้ันใส่ไว้ " ตอนท่ี 3 ต้งั แต่ดา้ นท่ี 4 บรรทดั
ที่ 11 จนถงึ บรรทดั สุดทา้ ย รวม 16 บรรทดั เป็นการกล่าวสรุปสรรเสริญ และยอพระ
เกียรติพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช รวมท้งั กล่าวถงึ อาณาเขตของอาณาจกั รเมืองสุโขทยั
ในตอนน้ี ตวั หนงั สือไมเ่ หมือนกบั ตอนท่ี 1 และตอนที่ 2ดว้ ยมพี ยญั ชนะลีบกวา่
และสระทใี่ ชก้ ต็ ่างกนั บา้ ง

- 10 -

ต้งั อยกู่ ลางเมืองเป็ นวดั ใหญ่ และวดั สาคญั ของกรุงสุโขทยั มพี ระเจดียม์ หาธาตุ
ทรงดอกบวั ตมู หรือทรงพ่มุ ขา้ วบิณฑ์ เป็นศิลปะแบบสุโขทยั แท้ ต้งั เป็นเจดียป์ ระธาน
ลอ้ มรอบดว้ ยเจดีย์ 8 องค์ บนฐานเดียวกนั คือ ปรางคศ์ ลิ าแลงต้งั อยทู่ ่ีทศิ ท้งั 4 และเจดีย์
ทรงปราสาทกอ่ ดว้ ยอฐิ ทไ่ี ดร้ ับอิทธิพลมาจากลา้ นนา จากการสารวจพบวา่ บริเวณวดั มหาธาตุ
มเี จดียแ์ บบตา่ ง ๆ มากถึง 200 องค์ วหิ าร 10 แห่ง ซุม้ พระ (มณฑป) 8 ซมุ้ พระอโุ บสถ
1 แห่ง ตระพงั 4 แห่ง ดา้ นตะวนั ออกบนเจดียป์ ระธานมวี หิ ารขนาดใหญ่
ก่อดว้ ยศลิ าแลง มีแท่นซ่ึงเคยเป็นทป่ี ระดิษฐานพระพทุ ธรูปสาริดทใ่ี หญ่ทสี่ ุดในประเทศไทย
คือ พระศรีศากยมนุ ี ปัจจบุ นั ไดร้ ับการเคลอ่ื นยา้ ยไปอย่ทู ีว่ ดั สุทศั น์เทพวราราม
กรุงเทพมหานคร ที่ดา้ นเหนือ และดา้ นใตข้ องเจดียม์ หาธาตุ มพี ระพทุ ธรูปยืนภายในซุม้ พระ
เรียกวา่ "พระอฏั ฐารศ"

มรดกลา้ ค่าของชาตไิ ทยท่ี
บรรพบรุ ุษสร้างไว้

- 11 -

เป็นกลุม่ โบราณสถานขนาดใหญใ่ นสมยั สุโขทยั ต้งั อยทู่ างทิศตะวนั ตก
เฉียงเหนือของกาแพงเมืองสุโขทยั ปรากฏตามหลกั ฐาน ในศิลาจารึกพ่อขนุ รามคาแหง
หลกั ที่ 1 พุทธศกั ราช 1835 วดั น้ีเป็นวดั ที่แปลกกว่าวดั อน่ื ดว้ ยหากมองเพยี งภายนอกจะ
เป็นแต่มณฑปรูปส่ีเหลยี่ มจตั รุ ัส ทรงระฆงั คว่าหรือรูปโดม มพี ระพทุ ธรูปปูนป้ันปาง
มารวิชยั ขนาดใหญเ่ พียงองคเ์ ดียว คือ พระอจนะ ซ่ึงชาวบา้ นเชื่อกนั วา่ พระพุทธรูปองคน์ ้ี
ศกั ด์ิสิทธ์ิสามารถพูดไดแ้ ต่แทท้ ่ีจริงแลว้ ประตูทางเขา้ ดา้ นหลงั พระพุทธรูปจะเจาะเป็ น
ช่องสูง มที างเดินข้นึ ไปจนเกือบถงึ ยอดหลงั คามณฑป ซ่ึงเป็นดว้ ยกศุ โลบายของ
พระมหากษตั ริยใ์ นราชวงศพ์ ระร่วง ท่ที รงพระปรีชาสามารถปลกุ ปลอบใจทหาร
และสามารถบงั คบั บญั ชา ใหเ้ กิดความสามคั คเี ป็นน้าหน่ึงใจเดียวกนั โดยใชผ้ นงั ดา้ นขา้ ง
ขององคพ์ ระอจนะที่มีช่องเลก็ ๆ และให้คนเขา้ ไปในอโุ มงค์ แลว้ พูดออกมาเสียงดงั ๆ
ผทู้ อ่ี ยใู่ นวิหารจึงนึกวา่ พระอจนะพูดได้ และท้งั ช่องอุโมงคด์ า้ นซา้ ยและขวาจะบรรจบกนั
เขา้ เป็นยอดแหลม ผนงั มณฑปทาเป็น 2 ช้นั ภายในช่องอุโมงคม์ ณฑป ดา้ นซา้ ยกวา้ ง
ประมาณ 50 เซนติเมตร บนเพดานมภี าพสลกั ลายเส้นบนแผน่ หินชนวน ประมาณ 50
ภาพ แสดงเกี่ยวกบั เร่ืองชาดกต่าง ๆ บรรยายไวเ้ ป็นอกั ษรไทยสมยั สุโขทยั และมุม
ดา้ นขวาขององคพ์ ระยงั มรี อยพระพทุ ธบาทสลกั ไวส้ วยงาม ส่วนอุโมงคช์ ่องขวาไดป้ ิ ดทบั
ไปแลว้ นอกจากน้นั ยงั ปรากฏในพงศาวดารกรุงศรีอยธุ ยา
ฉบบั พระจกั รพรรดิพงศ์ (จาด) กล่าวไวว้ ่า เมือ่ พระนเรศวรเสดจ็ ข้ึนมา ปราบกบฎเมอื ง
สวรรคโลก ในปี พ.ศ. 2128 น้นั ก่อนจะยกไปเมืองสวรรคโลก ไดแ้ วะพกั พลที่ตาบล
ฤาษชี ุม เมอื งสุโขทยั สนั นิษฐานว่า คือ วดั ศรีชุม นนั่ เอง

- 12 -

เป็นกลุ่มโบราณสถานทใ่ี หญ่ทส่ี ุดของโบราณสถานนอกกาแพงเมอื งดา้ นทิศใต้
โบราณสถานส่วนใหญต่ ้งั อยใู่ นพ้นื ทว่ี ดั มคี ูน้า 2 ช้นั ลอ้ มรอบ เวน้ แต่โบสถซ์ ่ึงแยก
ออกไปอยตู่ า่ งหากทางใตน้ อกคูน้า กลุม่ โบราณสถานประกอบดว้ ย มณฑปพระส่ี
อิริยาบท เจดียท์ รงมณฑป วิหาร เจดียร์ าย กาแพง คนู ้ามณฑปพระส่ีอิริยาบท เป็น
โบราณสถานหลกั ของวดั เป็นที่ประดิษฐานพระพทุ ธรูปปูนป้ันปางลีลา ทางดา้ นทศิ
ตะวนั ออก พระพุทธรูปประทบั ยนื ทางดา้ นทิศตะวนั ตก พระพทุ ธรูปประทบั นง่ั ทางดา้ น
ทิศเหนือ และพระพุทธรูปประทบั นอนดา้ นทิศใต้ โดยพระพุทธรูปท้งั 4 องคน์ ้ีก่อดว้ ย
อฐิ และปูนป้ัน

วดั เชตุพน นบั เป็นวดั ขนาดใหญ่ที่สาคญั อีกวดั หน่ึงของกรุงสุโขทยั โดยเฉพาะ
อยา่ งยิ่งสิ่งกอ่ สร้าง เช่น มณฑปสี่อริ ิยาบทขนาดใหญ่ กาแพงหินชนวนขนาดใหญ่
ตลอดจนขนาดของวิหาร สระน้า และคนู ้าลอ้ มรอบ ลว้ นเป็นส่ิงทีม่ ีคุณคา่ ท้งั ในดา้ น
ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม

สมบตั ิของชนชาติไทยท่ี
คนรุ่นหลงั ตอ้ งรกั ษาให้
คงอยตู่ ลอดไปตราบนาน
เทา่ นาน

- 13 -

ชุดการสอนแบบกล่มุ ร่วมมือ เร่ือง อาณาจกั รสุโขทยั
ชุดที่ 1 อทุ ยานประวัตศิ าสตร์สุโขทยั

บตั รคาถาม

ตอนท่ี 1 ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนใ้ี ห้ถกู ต้อง

1. อุทยานประวตั ศิ าสตร์สุโขทยั ต้งั อยทู่ ี่ใด.............................................
2. ภายในอุทยานประวตั ศิ าสตร์มีสถานที่สาคญั ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง...........................
3. ผพู้ บศลิ าจารึกหลกั ที่ 1 คอื .................................
ตอ4.นทคี่ า2วา่ ให“้กนู”ักเใรนียนศิลนาาจชา่ือรวึกัดหทล่ีกกั าทหี่ น1ดหใหม้ดา้ายนถบึงในคใรส.่.ล..ง..ใ.น...ช..่อ...ง..ว..่า..ง..ท..้า..ยข้อความให้สัมพนั ธ์
กนั5. ตวั อกั ษรทพี่ ่อขนุ รามคาแหงมหาราชประดิษฐข์ ้ึน เรียกวา่ ......................................

วัดมหาธาตุ วัดศรีชุม วัดเชตพุ น

1. วดั ทม่ี ขี นาดใหญท่ ่สี ุด ต้งั อยกู่ ลางเมอื งสุโขทยั
2. วดั ท่มี ีมณฑปพระสี่อิริยาบถ เป็นโบราณสถานหลกั
3. วดั ทีม่ ีพระพทุ ธรูปปูนป้ันปางมารวชิ ยั ขนาดใหญ่ เรียกวา่ พระอจนะ
4. มีภาพสลกั ลายเสน้ บนแผน่ หินชนวนแสดงเก่ียวกบั เร่ืองชาดกตา่ ง ๆ
5. เป็นกลมุ่ โบราณสถานขนาดใหญ่ทอี่ ยนู่ อกกาแพงเมอื งทางทศิ ใต้

- 14 -

ชุดการสอนแบบกล่มุ ร่วมมือ เรื่อง อาณาจกั รสุโขทัย
ชุดท่ี 1 อทุ ยานประวัติศาสตร์สุโขทัย

บตั รเฉลย

ตอนท่ี 1

1. ต้งั อยตู่ รงขา้ มพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ รามคาแหง ห่างจากตวั จงั หวดั สุโขทยั ไปทาง
ทิศ ตะวนั ตกประมาณ 12 กิโลเมตร ถนนจรดวิถีถ่อง ทางหลวงหมายเลข 12
สายสุโขทยั - ตาก

2. พระราชวงั ศาสนสถาน โบราณสถาน โดยมีคูเมือง กาแพงเมอื ง
และประตูเมอื งโบราณ

3. รัชกาลท่ี 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
4. พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช
5. ลายสือไทย

ตอนท่ี 2 ตอบถกู ทกุ ขอ้ เก่งมากเลย
....วนั น้ีเราไดร้ ับความรู้
1. วดั มหาธาตุ มากมายเลยนะ
2. วดั เชตุพน
3. วดั ศรีชุม
4. วดั ศรีชุม
5. วดั เชตพุ น

- 15 -

บรรณานุกรม

ณรงค์ พว่ งพิศ และคณะ. หนงั สือเรียนสาระการเรียนรู้พนื้ ฐาน สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ช้ัน ม. 1. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจริญทศั น์, 2549.

ประเสริฐ วิทยารัฐและคณะ. หนงั สือเรยี น ส 102 ประเทศของเรา 2. กรุงเทพมหานคร :
วฒั นาพานิช, 2540.

ปิ ยะโรจน์ เล่ียวไพโรจน์. ค่มู ือสาระการเรียนรู้พ้นื ฐานช่วงช้ันที่ 3 สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม ม. 1. กรุงเทพมหานคร : พฒั นาศกึ ษา, 2546.

ผ่องศรี จนั่ หา้ ว และคณะ. หนังสือเรยี นสาระการเรียนรู้พน้ื ฐานสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานิช, 2548.

พจมาลย์ เพง็ ปาน. ขอบข่ายการจดั กจิ กรรมและแผนการจัดการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้พน้ื ฐาน
สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ม. 1. กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานิช, 2547.

ไพฑรู ย์ มีกุศล และคณะ. แบบฝึ กหัดพฒั นาการเรียนรู้ ประวตั ศิ าสตร์ ม.1. กรุงเทพมหานคร :
วฒั นาพานิช, 2550.

ไพฑรู ย์ มีกศุ ล และคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พน้ื ฐานสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ประวัติศาสตร์ ม.1. กรุงเทพมหานคร : วฒั นาพานิช, 2550.

วณี า เอี่ยมประไพ และคณะ. หนงั สือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม ม. 1. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจริญทศั น,์ 2550.

- 16 -


Click to View FlipBook Version