รายงานเชิงวิชาการ เรื่อง กุหลาบ จัดท าโดย นางสาว บลักีส สุหรง เลขที่4 ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5 เสนอ อาจารย์ พรนิภา สาหล็ม รายงานเชิงวิชาการน้ีเป็ นส่วนหน่ึ งของรายวชิาภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1/2566 โรงเรียนอิรชาร์ดศาสนวิทยา (บ้านเกาะทองสม)
รายงานเชิงวิชาการ เรื่อง กุหลาบ จัดท าโดย นางสาว บลักีส สุหรง เลขที่4 ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5 เสนอ อาจารย์ พรนิภา สาหล็ม รายงานเชิงวิชาการน้ีเป็ นส่วนหน่ึ งของรายวชิาภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1/2566 โรงเรียนอิรชาร์ดศาสนวิทยา (บ้านเกาะทองสม)
ค าน า รายงานเชิงวิชาการน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของรายวิชาภาษาไทยพ้ืนฐานช้ันมธัยมศึกษาปีที่5 โดยมีจุดประสงค ์ เพื่อการศึกษาเกี่ยวกับกุหลาบเรื่องประวตัิทั่วไปของกุหลาบรวมถึงพันธุ์ กุหลาบ วิธีการปลูก โรคและการเพาะ ซ่ึงในรายงานเชิงวิชาการน้ีได ้ กล่าวถึงประเภทของ กหุลาบอยา่งลึกซ้ึง ดิฉันจึงได ้ เลือกหัวขอ ้ น้ีในการทา รายงานเนื่องจากเป็ นเรื่อที่น่าสนใจ และดิฉันตอ ้ ง ขอบพระคุณอาจารย ์ พรนิภา สาเหล ็ ม ที่ไดใ้ ห ้ คา ปรึกษา ผูใ้ ห ้ ความรู้ และช้ีแนะแนวทาง และ หวงัวา่รายงานฉบบัน้ีจะใหค ้ วามรู้ และเป็ นประโยชนแ ์ ก่ผอู้่าน และผที่สนใจ ้ ผู้จัดท า
สารบัญ เรื่อง หน้า ความหมายของกุหลาบและความส าคัญ 1- 2 ประเภทของกุหลาบ 2- 4 การคัดสายพันธุ์และสภาพที่เหมาะในการปลูก 4–7 การดูแลการตัดแต่งกิ่ง 7 -8 โรคและการเกบ ็ เกี่ยว 8- 10
เร ื่องของกหุลาบ กุหลาบ คือดอกไม้ในสกุล Rosa ในวงศ์ Rosaceae ที่ได้รับความนิยมปลูกมากที่สุดชนิด หน่ึงของโลกที่มีตน ้ กา เนิดจากทวปีเอเชีย ผู้คนนิยมปลูกเพื่อความสวยงาม ตกแต่งสวน, ประดับ ตกแต่งบา ้ น, ประดับสถานที่, ปลูกเพื่อการพาณิชย ์ อาทิเพื่อนา ไปสกดัน้า หอม นา ไปทา เป็ น ส่วนประกอบของสปา เป็ นตน ้ ความส าคัญทางเศรษฐกิจ กายวิภาคของกุหลาบ กหุลาบเป็ นไมต ้ ดัดอกที่มีการปลูกเป็ นการคา ้ กนัแพร่หลายทวั่โลกมานานแลว ้ กุหลาบ เป็ นไมต ้ ดัดอกที่มีการซ้ือขายเป็ นอนัดบัหน่ึงในตลาดประมูลอัลสเมีย ประเทศเนเธอร์แลนด์ซึ่ง เป็ นตลาดประมูลไมด ้ อก ที่ใหญ่ที่สุดของโลกเมื่อ พ.ศ.2542 มีการซ้ือขายถึง1,672 ล้านดอก และมกัจะมียอดขายสูงสุดในประเทศต่าง ๆ เมื่อเปรียบเทียบกบัไมด ้ อกชนิดอื่น ๆ โดยประเทศที่ ปลูกกหุลาบรายใหญ่ของโลก ไดแ ้ ก่อิตาลีเนเธอร์แลนด์สเปน สหรัฐอเมริกา โคลัมเบีย เอกวาดอร์อิสราเอลเยอรมนีเคนยา ซิมบับเวเบลเยียม ฝรั่งเศส เม็กซิโกแทนซาเนียและมาลาวีเป็ นต้น ปัจจุบนั ประเทศไทยมีพ้ืนที่ปลูกกหุลาบตดัดอกประมาณ 5,500 ไร่กระจายอยทู่วั่ทุกภาค ของประเทศแหล่งปลูกที่สา คญั ไดแ ้ ก่เชียงใหม่ เชียงราย ตาก นครปฐม สมุทรสาครราชบุรีและกาญจนบุรีมีการ
ขยายตวัของพ้ืนที่มากที่สุดใน อ ำเภอพบพระจงัหวดัตาก ซ่ึงปัจจุบนั ประมาณวา่มีพ้ืนที่ การผลิตถึง 3,000 ไร่เนื่องจากอ.พบพระ มีสภาพภมูิอากาศที่เหมาะสม พ้ืนที่ไม่สูงชนั และค่าจา ้ งแรงงานต่า (แรงงานต่างชาติ)การผลิตกุหลาบในประเทศไทยอาจแบ่งไดเ ้ป็ น 2 ลักษณะคือ การผลิตกุหลาบในเชิงปริมาณ และการผลิตกุหลาบเชิงคุณภาพ การผลิต กหุลาบเชิงปริมาณ หมายถึงการปลูกกหุลาบในพ้ืนที่ขนาดใหญ่หรือปลูกในพ้ืนที่ราบ ซ่ึง จะใหผ ้ ลผลิตมีปริมาณมากแต่ผลผลิตไม่ไดค ุ้ณภาพ เช่น ดอกและกา ้ นมีขนาดเลก ็ มี ต าหนิจากโรคและแมลง หรือการขนส่งอายุการปักแจกนัส้ัน ทา ใหร ้ าคาต่า การผลิตชนิด น้ีตอ ้ งอาศยัการผลิตในปริมาณมากเพื่อใหเ ้ กษตรกรอยไู่ด ้ส่วนการผลิตกหุลาบในเชิง คุณภาพ นิยมปลูกในเขตภาคเหนือและบนที่สูง โดยปลูกกุหลาบภายใต้โรงเรือน พลาสติกในพ้ืนที่จา กดัมีการจดัการการผลิตและการปฏิบตัิหลงัการเกบ ็ เกี่ยวที่ดีใช ้ แรงงานที่ช านาญ ทา ใหก ้ หุลาบที่ไดม ้ีคุณภาพดีและปักแจกนัไดน ้ าน ตลาดของกหุลาบ คุณภาพปานกลางถึงต่า (ตลาดล่าง) ในปัจจุบนัถึงข้นัอิ่มตวัเกษตรกรขายไดร ้ าคาต่า มาก ส่วนตลาดของกหุลาบที่มีคุณภาพสูง (ตลาดบน)ผลผลิตในประเทศยงัไม่เพียงพอและ ขาดความต่อเนื่อง ทา ใหย ้ งัตอ ้ งนา เขา ้ ดอกกหุลาบจากต่างประเทศเช่น เนเธอร ์ แลนด ์ และ มาเลเซียเป็ นต้น ประเทศไทยมีศกัยภาพในการผลิตกุหลาบคุณภาพสูงอยา่งต่อเนื่อง หากแต่จะตอ ้ งผลิตใน พ้ืนที่ที่เหมาะสม คือพ้ืนที่สูงมากกว่า 800 เมตรเหนือระดบัน้า ทะเล หากปลูกในที่ราบจะได้ คุณภาพดีในช่วงฤดูหนาวเท่าน้นัดงัน้ันการผลิตกุหลาบมีแนวโนม ้ เพิ่มพ้ืนที่การผลิตบนที่สูง มากข้ึน ประเภทของกหุลาบ กุหลาบสามารถจ าแนกไดห ้ ลายแบบ เช่น จา แนกตามลกัษณะการเจริญเติบโต ขนาดดอก สีดอก ความสูงต้น และจ าแนก ตามลักษณะของดอก เป็ นต้น ในที่น้ีไดจ ้ า แนกกุหลาบเฉพาะ กุหลาบตัดดอกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ ทางการค้าในตลาดโลกเป็ น 5 ประเภทดงัน้ีจดัอยู่ ในประเภทไม้ดอก กุหลาบดอกใหญ่หรือกุหลาบกา ้ นยาว (large flowered or long stemmed roses) กุหลาบ ประเภทน้ีเป็ นกุหลาบไฮบริดที(Hybrid Tea: HT) ที่มีดอกใหญ่แต่การดูแลรักษา
ยากผลผลิตต ่า (100-150 ดอก/ตร.ม./ปี)และอายกุารปักแจกนัส้ันกว่า เมื่อเปรียบเทียบกบั กุหลาบ Floribunda มกัมีกา ้ นยาวระหวา่ง 50-120 เซนติเมตรกหุลาบดอกใหญ่ไดร ้ับความ นิยมมากใน สหรัฐอเมริ กา โคลัมเบีย เอกวาดอร์เม็กซิโก ญี่ปุ่ น ซิมบับเว โมร๊ อก โกฝรั่งเศส และ อิตาลีพนัธุ์ กุหลาบดอกใหญ่ที่เป็ นที่นิยมในตลาดต่างประเทศได ้ แก่ พนัธุ์ เวกา ้ (Vega: แดง) , มาดาม เดลบา (Madam Delbard) , วซี่า (Visa: แดง) , โรเท โรเซ (Rote Rose: แดง) , คารล์ เรด (Carl Red: แดง) , โซเนีย (Sonia: ชมพูส้ม) , เฟิ ร์สเรด (First Red: แดง) , โพรฟิ ตา (Prophyta: ปูนแห้ง) , บิอังกา (Bianca: ขาว) , โนเบลส (Noblesse: ชมพูส้ม) และ แกรนด์ กาลา (Grand Gala: แดง) เป็ นต้น กุหลาบดอกกลาง หรือกุหลาบกา ้ นขนาดกลาง (medium flowered or medium stemmed roses) เป็ นกุหลาบชนิดใหม่ซ่ึงมีลกัษณะระหว่างกุหลาบดอกใหญ่และเลก ็ เป็ นกุหลาบ Hybrid Tea ให้ผลผลิตสูง (150-220 ดอก/ตร.ม./ปี)อายุการปักแจกนัยาว และทนการ ขนส่งได ้ ดีความยาวก ้ านระหว่าง 40-60 ซม. แหล่งผลิตที่ส าคัญได ้ แก่ประเทศ เนเธอร ์ แลนด ์ เยอรมนีอิตาลีอิสราเอล ซิมบบัเว เคนยา พนัธุ์ ที่นิยมปลูกไดแ ้ ก่พนัธุ์ ซาช่า (Sacha: แดง) , เมอร์ซิเดส (Mercedes: แดง) , เกเบรียล (Gabrielle: แดงสด) , คิสส์ (Kiss: ชมพู) , โกลเด้นทาม (Goldentime: เหลือง) , ซาฟารี (Safari: ส้ม) และ ซูวีเนีย (Souvenir: ม่วงขาว) เป็ นตน ้ กุหลาบดอกเล็ก หรือกุหลาบกา ้ นส้ัน (small flowered or short stemmed roses) เป็ น กุหลาบที่ได ้ รับความนิยมปลูก และบริโภคกนัมากในยุโรป โดยเฉพาะ เยอรมนีและ เนเธอร ์ แลนด ์ กุหลาบกา ้ นส้ันน้ีเป็ นกุหลาบ Floribunda ที่ให้ผลผลิตสูง (220-350 ดอก/ ตร.ม./ปี)อายกุารปักแจกนัยาวและทนต่อการขนส่งดีกวา่กหุลาบดอกใหญ่มกัมีความยาว กา ้ นระหว่าง 30-50 เซนติเมตร แหล่งผลิตกุหลาบดอกเล ็ กไดแ ้ ก่ประเทศเนเธอร ์ แลนด ์ เยอรมนีอิสราเอลและเคนยา พนัธุ์ ที่นิยมปลูกไดแ ้ ก่พนัธุ์ฟริสโก(Frisco:เหลือง) , เอสกิ โม (Escimo: ขาว) , โมเทรีย (Motrea: แดง) , เซอไพรซ์ (Surprise: ชมพู) , และ แลมบาด้า (Lambada: แสด) เป็ นต้น กหุลาบดอกช่อ(spray roses) เป็ นกหุลาบชนิดใหม่ใหผ ้ ลผลิตต่า ต่อพ้ืนที่(120-160 ดอก ต่อตารางเมตรต่อปี)ความยาวกา ้ นระหวา่ง 40-70 ซม. มักมี 4-5 ดอกในหนึ่งช่อและยงัมี
ตลาดจา กดัอยู่เช่นพนัธุ์ เอวลีีน (Evelien: ชมพู) เดียดีม (Diadeem: ชมพ)ูและ นิกิตา ้ (Nikita: แดง) เป็ นต้น กหุลาบหนู(miniature roses) มีขนาดเลก ็ หรือแคระโดยธรรมชาติความสูงของทรงพุ่มไม่ เกิน 1 ฟุตให้ผลผลิตสูง 450-550 ดอก/ตร.ม./ปีมีความยาวกา ้ นดอกระหวา่ง 20-30 ซม. ยัง มีตลาดจา กดัอยยู่กเวน ้ ในประเทศญี่ปุ่น แอฟริกาใต ้ และอิตาลี การคดัเลอ ื กสายพนัธ ์ุ การคดัเลือกพนัธุ์ กุหลาบในปัจจุบนัจะคา นึงถึงประโยชน ์ และความคุม ้ ค่าที่ผูบ ้ ริโภคจะ ไดร ้ับ มากกว่าการที่ดอกสวยสะดุดตาแต่เมื่อซ้ือไปกเ ็ หี่ยวทนัทีดงัน้นัการคดัเลือกพนัธุ์ กุหลาบ ในปัจจุบนัมกัมีขอ ้ พิจารณาดงัน้ี 1. มีผลผลิตสูง ปัจจุบันกุหลาบดอกเล็กให้ผลผลิตสูงถึง 300 ดอก/ตร.ม./ปี 2. อายกุารปักแจกนันาน พนัธุ์ กหุลาบในสมยัทศวรรษที่แลว ้ จะบานไดเ ้ พียง 5-6 วัน ปัจจุบัน กหุลาบพนัธุ์ใหม่ๆ สามารถบานไดท ้ นถึง 16 วัน 3. กหุลาบที่สามารถดูดน้า ไดด ้ี 4. กหุลาบที่ไม่มีหนามหรือหนามนอ ้ ยเพื่อความสะดวกในการจัดการ 5. สีสีแดงยงัคงครองตลาดอยู่รองลงมาคือสีชมพูสีอ่อนเยน ็ ตาและสองสีในดอกเดียวกนั 6. กลิ่น เป็ นที่เสียดายที่กหุลาบกลิ่นหอมมกัไม่ทน แต่กม ็ีการผสมพนัธุ์ กหุลาบตดัดอกกลิ่น หอมบา ้ ง สา หรับตลาดทอ ้ งถิ่น 7. มีความต้านทานโรค และทนความเสียหายจากการจัดการสูง กุหลาบเป็ นพืชไม ้ ดอกที่ขยายพันธุ์ได ้ ง่ายกว่าไม ้ ดอกอื่น ๆ หลายชนิด คือ สามารถ ขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ด การตดัชา ท้งัดว ้ ยกิ่งและดว ้ ยรากการตอนกิ่งการติดตาการต่อ กิ่ง ตลอดจนการเพาะเล้ียงเน้ือเยอื่ 1. การเพาะเมลด็กหุลาบ การขยายพนัธุ์ ดว ้ ยวิธีน้ีมุ่งที่จะไดพ ้ นัธุ์ใหม่ๆ แปลก ๆ เท่าน้นัท้งัน้ีเนื่องจากกุหลาบที่ ปลูกอย่ทู ุก ๆวนัน้ีเป็ นลูกผสมท้งัหมด การขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดจึงท าให้ได้ทันที ไม่เหมือนพ่อ
แม่และไม่เหมือนกนัเลยระหว่างลูกดว ้ ยกนัจึงไม่เหมาะที่จะใชโ้ ดยทวั่ๆ ไป แต่เหมาะสา หรับ นกัผสมพนัธุ์ เพื่อที่จะหาพนัธุ์ใหม่ที่มีลกัษณะดีเด่นกวา่ตน ้ พ่อตน ้ แม่ ก. การท าให้เมล็ดพ้นจากสภาพการฟักตัว อาจท าได้ 2 วิธีคือ 1. นา ฝักกหุลาบที่แก่เตม ็ ที่ไปฝังไวใ้ นกระบะที่บรรจุทรายช้ืน เกบ ็ ไวใ้ นอุณหภูมิ41 องศา ฟาเรนไฮน์ เป็ นเวลา 3 เดือนแล้ว จึงเอาฝักกุหลาบมาแกะเอาเมล็ดเพาะ 2. เมื่อตดัฝักกหุลาบมาจากตน ้ นา มาผา่คร่ึงดว ้ ยมีด ใชห ้ วัแม่มือและนิ้วช้ีเขี่ยเอาเมลด ็ ออกมา เมลด ็ กหุลาบมีลกัษณะคลา ้ ยเมลด ็ แอปเปิ้ลขนาดใกลเ ้ คียงกนั (ขนาดของเมลด ็ ข้ึนอยกู่บั พันธุ์)ฝักหนึ่ง ๆ อาจจะมีถึง 70 เมล็ด(5-70) ข. การเพาะเมล็ด หลังจากเมล็ดงอกรากออกมาแล้ว น าเอาไปเพาะในกระถาง หรือ กระบะเพาะต่อไป ในต่างประเทศใชส้่วนผสมสูตรของจอห ์ น อินเนส(John Innes) โดยมี ส่วนผสมดงัน้ี 1) ดินร่วน 2 ส่วน 2) พีทมอส 2 ส่วน 3) ทรายหยาบ 1 ส่วน 2. การตอนแบบทับกิ่ง เป็ นการขยายพนัธุ์ กุหลาบเล้ือยที่ทา กนัมานานแลว ้ ปัจจุบนัยงัมีทา กนัอย่บูา ้ ง ด้วยเหตุที่ ใหผ ้ ลดีและแน่นอน มีขอ ้ เสียอยา่งเดียวคือไดจ ้ า นวนนอ ้ ยและเสียเวลา กิ่งที่ใช ้ ตอน ควรจะเป็ นกิ่งที่เคยให ้ ดอกมาแล ้ ว (ไม่อ่อนเกินไป) เป็ นกิ่งอวบ สมบูรณ์ ควนั่กิ่งใหห ้ ่างจากยอดประมาณ 6-8 นิ้วความยาวของรอยควนั่ประมาณคร่ึงนิ้วลอก เอาเปลือกออก ขูดเอาเยื่อเจริญออกให้หมด ทาดว ้ ยฮอร ์โมนเร่งรากเอน ็.เอน ็.เอ. ผสมกบั ไอ. บี.เอ. ในสัดส่วน 1 ต่อ1 ความเข้มข้น 4,500 ส่วนต่อลา ้ น (ppm) ทิ้งไวใ้ หแ ้ ห ้ ง หุ้มด้วยขุย มะพร้าวเปี ยก หรือกาบมะพร ้ าวที่ทุบให ้ นุ่ม แล ้ วแช่น้ าทิ้งไวห ้ น่ึงคืนในต่างประเทศใช ้ส แพกนมั่มอสช้ืน ๆ ห่อดว ้ ยแผ่นพลาสติก มดัหัวทา ้ ยให ้ แน่นประมาณ 10-12 วันจะมีรากงอก ออกมา สามารถตัดไปปลูกได้
3. การขยายพนัธ ์ุกหุลาบด้วยวธิีการต่อกงิ่และการติดตา การต่อกิ่ง (grafting) การขยายพนัธุ์ ดว ้ ยวธิีน้ีนิยมทา กบักหุลาบที่ปลูกในกระถาง ไม่นิยมทวั่ ไป เพราะ เสียเวลาและไม่มีความแน่อน อีกท้งัตอ ้ งใชฝ้ีมือพอสมควร การติดตา (budding) การขยายพนัธุ์ ดว ้ ยวธิีน้ีดูเหมือนว่าจะเป็ นที่นิยมมากที่สุด ท้งัน้ีเพราะสามารถขยายพนัธุ์ ดีไดเ ้ ร ็ วกว่าคนที่มีความชา นาญในการติดตา จะสามารถทา การติดตาไดม ้ ากกว่า 1,000 ตน ้ ต่อ วนัต่อสองคน อีกท้งัยงัสามารถคดัเลือกต ้ นตอทีเหมาะสมกบัสภาพดินฟ้ าอากาศในแต่ละ ทอ ้ งถิ่น และแต่ละพนัธุ์ ของกหุลาบพนัธุ์ ดีที่จะน ามาติด นอกจากน้ีถา ้ ตาพนัธุ์ ดีที่นา มาติดสามารถเขา ้ กนั ไดด ้ีกบัตน ้ ตอ จะช่วยส่งเสริมความ ดีเด่นในลกัษณะต่าง ๆ ของกุหลาบพนัธุ์ ดีที่นา มาติดดว ้ ย ยงิ่ ไปกว่าน้นักุหลาบที่ใชเ ้ป็ นตน ้ ตอ ส่วนมากจะมีระบบรากที่แข ็ งแรงกว่ากุหลาบพนัธุ์ ดีทา ให ้ การปลูกกุหลาบแต่ละคร้ังมีอายุ ใหผ ้ ลยาวนานและผลผลิตสูงกวา่การปลูกกหุลาบจากการตอนกิ่ง หรือการตัดช า กุหลาบที่ใชท ้ า เป็ นตน ้ ตอ ส่วนมากเป็ นกุหลาบป่า (Wild species) หรือกุหลาบเล้ือยบาง พันธุ์กหุลาบแต่ละชนิด แต่ละพนัธุ์ใช่วา่จะเป็ นตน ้ ตอที่ดีที่สุดของกุหลาบพนัธุ์ ดีทุกพนัธุ์ เสมอ ไป สภาพที่เหมาะสมในการปลูก พ้ืนที่ปลูกควรปลูกในที่ที่ระบายน้า ไดด ้ีมีความเป็ นกรดเล ็ กน ้ อย พีเอ ็ ช ประมาณ 6-6.5 และได ้ แสงอย่างน ้ อย 6 ชั่วโมง อุณหภูมิอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญของกุหลาบคือ กลางคืน 15-18 องศาเซลเซียส และกลางวัน 20-25 องศาเซลเซียส ซ่ึงเป็ นช่วงอุณหภูมิที่จะทา ให ้ ไดด ้ อกที่มีคุณภาพดีและใหผ ้ ลผลิตสูง หากอุณหภูมิต่า กว่า 15 องศาเซลเซียส การเจริญเติบโต และการออกดอกจะชา ้ อยา่งมาก หากอุณหภูมิสูงกว่า 28 องศาเซลเซียส ควรให ้ มีความช้ืนใน อากาศสูงเพื่อชลอการคายน้า ความช้ืน ความช้ืนสัมพทัธ ์ ที่เหมาะสมกบัการเจริญของกุหลาบคือ
ร้อยละ 70-80 แสง กุหลาบจะให้ผลผลิตสูง และดอกมีคุณภาพดี ถ้าความเข้มของแสงมาก และ ช่วงวนัยาว การดูแล การให้น ้า ใหน ้ ้า ระบบน้า หยด หรือใชห ้ วัพ่นน้า ระหว่างแถวปลูกอตัรา 6-7 ลิตร/ตร.ม./ วัน หรือ 49 ลิตร/ตร.ม./สัปดาห์ อาจให้ทุกวัน วันเว้นวัน หรือ 2-3 วนัต่อคร้ังแลว ้ แต่สภาพการอุม ้ น้า ของดิน อย่ารดน้า ให ้ ดินแฉะตลอดเวลา ควรให ้ ดินมีโอกาสระบายน้า และมีอากาศเขา ้ไปแทนที่บา ้ ง ดงัน้นั ใน 1 สัปดาห ์ หากปลูกในโรงเรือนจะตอ ้ งใชน ้ ้า ประมาณ 78,400 ลิตร หรือ 78.4 คิวบิค เมตร ต่อไร่น้า ที่ใชค ้ วรมีคุณภาพดีมีpH 5.8-6.5 การให้ปุ๋ยก่อนปลูก ปุ๋ยก่อนปลูกคือปุ๋ยที่ผสมกบัเครื่องปลูกก่อนการปลูกพืช ซ่ึงใหป้ ระโยชน ์ 2 ประการคือ 1. ใหธ ้ าตุอาหารที่พืชตอ ้ งการอยา่งเพียงพอต้งัแต่เริ่มปลูก 2. ให้ธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมากและเพียงพอส าหรับการปลูกพืชตลอดฤดู ซึ่งท าให้ สามารถงดหรือลดการใหปุ้๋ยน้นัๆ ได ้ ระหวา่งการปลูกพืชการใหธ ้ าตุอาหารทุกชนิดแก่พืชในขณะปลูก ทา ไดล ้ า บากเนื่องจากมี ถึง 14 ธาตุธาตุบางชนิดจะมีอยใู่นดินอยแู่ลว ้ การให ้ปุ๋ยระหว่างปลูก ปริมาณ และสัดส่วนของธาตุอาหาร การใหปุ้๋ยระหวา่งปลูกพืช เนื่องจากธาตุอาหารส่วนใหญ่จะมีอยใู่นดินแลว ้ เมื่อปลูกพืชจึง ยงัคงเหลือธาตุไนโตรเจน และโปแตสเซืยม ซ่ึงจะถูกชะลา ้ งไดง ้่าย ดงัน้นัจึงตอ ้ งใหปุ้๋ย ท้งัสอง ในระหวา่งที่พืชเจริญเติบโต ซ่ึงการใหปุ้๋ยอาจทา ไดโ้ ดยการใหพ ้ ร ้ อมกบัการใหน ้ ้า (fertigation) การให ้ปุ๋ยพร ้ อมกับน้ าส าหรับกุหลาบ หากให ้ ทุกวนัจะให ้ในอัตราความเข ้ มข ้ นของ ไนโตรเจน 160 มก./ลิตร (ppm) และหากให้ปุ๋ ยทุกสัปดาห์ควรให้ในอัตราความเข้มข้นของ ไนโตรเจน 480 มก./ลิตร
สัดส่วนของไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P2O) และโปแตสเซียม (K2O) ส าหรับกุหลาบใน ระยะต่าง ๆ คือ 1. ระยะสร้างทรงพ่มุสัดส่วน 1 : 0.58: 0.83 2. ระยะให้ดอก สัดส่วน 1 : 0.5 : 0.78 3. ระยะตัดแต่งกิ่ง สัดส่วน 1: 0.8: 0.9 การตัดแต่งกิ่ง การดูแลกุหลาบระยะแรกหลังปลูกเมื่อตากุหลาบเริ่มแตกควรส่งเสริมให ้ มีการเจริญทาง ใบ เพื่อการสะสมอาหารและสร ้ างกิ่งกระโดง เพื่อใหไ้ ดด ้ อกที่มีขนาดใหญ่และกา ้ นยาว ซ่ึงทา ได้ด้วยการเด็ดยอดเป็ นระยะเวลาประมาณ 2-3 เดือน โดยเด ็ ดส่วนเหนือใบสมบูรณ ์(5 ใบยอ่ย) ใบที่สองจากยอด เมื่อดอกมีขนาดเท่าเมล ็ ดถวั่ลนัเตา จากน้ันกิ่งกระโดงจะเริ่มแทงออก ซ่ึงกิ่ง กระโดงน้ีจะเป็ นโครงสร ้ างหลกัใหต ้ น ้ กหุลาบ ที่ใหด ้ อกมีคุณภาพดี การตัดแต่งกิ่งการตดัแต่งกิ่งกุหลาบปฏิบตัิไดห ้ ลายวิธีแต่ละวิธีจะใชห ้ ลกัการที่คลา ้ ยกนั คือตดัแต่งเพื่อใหไ้ ดก ้ิ่งที่สมบูรณ ์ เพื่อการตดัดอกและเพื่อใหไ้ ดก ้ิ่งกระโดง (water sprout หรือ bottom break) มากข้ึน และจะรักษาใบไวก ้ บัตน ้ ใหม ้ ากที่สุด เพื่อใหไ้ ดก ้ิ่งที่สมบูรณ ์ ที่สุด ควร รักษาให ้ พุ่มกุหลาบโปร่ง และไม่สูงมากเกินไปนัก เพื่อสะดวกต่อการดูแลรักษา และแสงที่ กระทบโคนตน ้ กุหลาบจะช่วยกระตุน ้ ใหเ ้ กิดกิ่งกระโดงอีกดว ้ ยการตดัแต่งกิ่งที่นิยมในปัจจุบนั ไดแ ้ ก่การตดัแต่งกิ่งแบบ ตดัสูงและต่า การตดัแต่งแบบ ตดัสูงและต่า (สูงและต่า จากจุดกา เนิดของกิ่งสุดทา ้ ย) เป็ นการตดัแต่ง เพื่อใหม ้ีการผลิตดอกสม่า เสมอท้งัปี โรค กุหลาบเป็ นไมต ้ ดัดอกชนิดหน่ึงที่มีศตัรูมากพืชหน่ึง ดังน้ันการป้ องกนัและกา จดัศตัรู กุหลาบให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปลูกควรทราบลักษณะสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และวงจรชีวิต ของศตัรูน้ัน ๆ รวมท้งัการป้ องกนักา จดัและการใช ้สารเคมีให ้ มีประสิทธิภาพเพื่อไม่ให ้ เป็ น อนัตรายแก่ตวัเองและผอู้ื่น และควรฝึกเจา ้ หนา ้ ที่ใหห ้ มนั่ตรวจแปลงและสังเกตตน ้ กุหลาบทุก
วนัจะช่วยใหพ ้ บโรคหรือแมลงในระยะเริ่มแรก ทา ใหส้ ามารถกา จดัไดง ้่ายในการฉีดพ่นสารเคมี ควรใชส้ ารเคมีชนิดเดียวกนัติดต่อกนัอยา่งนอ ้ ย 2-3 คร้ังเพื่อให ้สารน้นัๆ แสดงประสิทธิภาพ อยา่งเตม ็ ที่จากน้นัน้นัควรสับเปลี่ยนกลุ่มของสารเคมีเพื่อลดการด้ือยา โรคราน ้าค้าง (Downey mildew) เช้ือสาเหตุเช้ือราPeronospora spasa ลักษณะการท าลาย อาการจะแสดงบน ใบ กิ่งคอดอกกลีบเล้ียงและกลีบดอกการเขา ้ ทา ลายจะจา กดัที่ส่วน อ่อน หรือส่วนยอด โรคราแป้ ง (Powdery mildew) เช้ือสาเหตุเช้ือรา Sphaerotheca pannosa ลักษณะการ ทา ลายอาการเริ่มแรกผวิใบดา ้ นบนจะมีลกัษณะนูน อวบน้า เลก ็ นอ ้ ยและบริเวณน้นัมกัมีสี แดง และจะสังเกตเห ็ นเส้ นใย และอปัสปอร ์ สีขาวเด่นชัดบนผิวของใบอ่อน ใบจะบิด เบ้ียว และจะถูกปกคลุมดว ้ ยเส้ นใยสีขาว ใบแก่อาจไม่เสียรูปแต่จะมีราแป้ งเป็ นวงกลม หรือรูปทรงไม่แน่นอน โรคใบจุดสีด า (black spot: Diplocarpon rosae) เป็ นโรคที่พบเสมอ ๆ ในกุหลาบที่ปลูก เป็ นแปลงใหญ่ๆ หรือปลูกประดบัอาคารบา ้ นเรือนเพียง 2-3 ตน ้ โดยมากจะเกิดกบั ใบล่าง ๆ อาการเริ่มแรกเป็ นจุดกลมสีดา ขนาดเลก ็ ดา ้ นบนของใบ และจะขยายใหญ่ข้ึนหากอากาศ มีความช้ืนสูง และผิวใบเปียก หากเป็ นติดต่อกนันาน จะทา ให ้ใบร่วงก่อนกา หนด ตน ้ โทรม ใบและดอกมีขนาดเล็กลง โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส ลกัษณะอาการแตกต่างกนั ไปตามชนิดของไวรัส เช่น ใบด่างซีด เหลือง หรือด่างเป็ นซิกแซก โรคราสีเทา (botrytis: Botryotinia fuckeliana syn. Botrytis cinerea) มักพบในสภาพ อุณหภูมิต่า ความช้ืนสัมพทัธ ์ สูงและการระบายอากาศไม่ดีพอ ดอกตูมจะเป็ นจุดสีน้า ตาล และลามขยายใหญ่และเน่าแห ้ งการป้ องกนักา จดัเพื่อไม่ให ้ ดอกกุหลาบถูกฝนควรปลูก กหุลาบในโรงเรือนพลาสติกการป้ องกนัควรฉีดพ่นสารเคมีดา ้ นขา ้งและด้านบนดอกด้วย คอปเปอร์ ไฮดร๊อกไซด์ แมนโคเซ็บ หรือ คอปเปอร์ อ๊อกซี่คลอไรด์ โรคกิ่งแห้งตาย (die back) เกิดจากตดักิ่งเหนือตามากเกินไปทา ให ้ เช้ือราเขา ้ ทา ลายกิ่ง เหนือตาจนเป็ นสีดา และอาจลามลงมาท้งักิ่งได ้ ดงัน้นัจึงควรตดักิ่งเหนือตาประมาณ 1/4 นิ้ว ทา มุม 45 องศาเฉียงลง
แมลงและไรศัตรู 1. ไรแดง (Spider mite) 2. เพล้ียไฟ (Thrips) 3. หนอนเจาะสมอฝ้ าย(Heliothis armigera) 4. หนอนกระทู้หอมหรือหนอนหนังเหนียว (onion cutworm: Spodoptera exigua) 5. ด้วงกุหลาบ (rose beetle: Adoretus compressus) 6. เพล้ียหอย(scale insect: Aulucaspis rosae) 7. เพล้ียอ่อน (aphids: Macrosiphum rosae และ Myzaphis rosarum การเก็บเกี่ยว ระยะที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยวกุหลาบ ค ื อ ตัดเม ื่อดอกก าลังตูมอยู่หร ื อเห็นกลีบดอก เริ่มแย้ม (ยกเว้นบางสายพนัธ ์ุ) หากตัดดอกอ่อนเกนิไปดอกจะไม่บาน ในฤดูร้อนควรตัดในระยะ ทยี่งัตูมมากกว่าการตัดในฤดูหนาวเพราะดอกจะบานเร็วกว่า
บรรณานุกรม เรื่องกุหลาบ จากวกิิพีเดีย สารานุกรมเสรีTh.wikipedia.org>wiki>กุหลาบ กุหลาบ-วกิิพีเดีย (13 กรกฎาคม ๒๕๖๖)