The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BanChee Wmd, 2023-06-07 23:00:58

สันนิบาตรฯQR

สันนิบาตรฯQR

สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 41


2 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห ่งประเทศไทย ได้ก ่อตั้ง มายาวนานกว่า 60 ปีเพื่อส่งเสริมการวิจัยการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการ ทั้งระบบการเมืองท้องถิ่นและการจัดบริการ สาธารณะ ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือและความสัมพันธ์อันดี ระหว่างเทศบาลกับหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในการด�ำเนินกิจการอันเป็นประโยชน์หรือเป็นรายได้ของสมาคม สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย โดยสมาชิกสันนิบาตเทศบาล แห่งประเทศไทยมีด้วยกัน 2 ประเภท ได้แก่ สมาชิกสามัญ และ สมาชิกวิสามัญ แบ ่งการบริหารงานออกเป็น 5 ภาค ตามที่ ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2565 สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ ถือเป็นส ่วนหนึ่งของ สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห ่งประเทศไทย ประกอบด้วย 14 จังหวัดภาคใต้ มีสมาชิกจ�ำนวน 346 แห่ง โดยมีกระผม เป็นประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ซึ่งได้รับความไว้วางใจ ให้ท�ำหน้าที่บริหารงานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ และมุ ่งหวังที่จะขับเคลื่อนนโยบายต ่าง ๆ ของผู้บริหารให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ในพื้นที่ได้อย ่างเหมาะสม อันเป็นหัวใจหลักที่ส�ำคัญในการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการด้านการเมืองท้องถิ่น และการจัดบริการสาธารณะ โดยมุ่งเน้นให้เพิ่มขีดความสามารถ ของบุคลากรสังกัดเทศบาลซึ่งเป็นสมาชิกด�ำเนินงานได้อย ่าง ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สุดท้ายนี้กระผมในนามประธานสันนิบาตเทศบาล ภาคใต้ขอเป็นตัวแทนของมวลสมาชิกทุกท ่าน “สานพลัง แห่งความร่วมมือ ขับเคลื่อนพัฒนาท้องถิ่นไทยสู่ความยั่งยืน” ด้วยการสร้างความร ่วมมือและความสัมพันธ์อันดีระหว ่าง เทศบาลกับหน ่วยงานอื่น ๆ ตลอดจนขับเคลื่อนภารกิจของ สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ให้พัฒนาอย ่างมีประสิทธิภาพ พร้อมรับฟังปัญหาอุปสรรคต่างๆในการด�ำเนินงานตามนโยบาย ส่งต่อให้กับสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทยแก้ไขปัญหา เพื่อน�ำประโยชน์สูงสุดมาสู่ท้องถิ่นของเรา ารจากประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ (นายรอเซ็ง ไหรเจริญ) นายกเทศมนตรีต�ำบลเกาะแต้ว ประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 3 สารจากรองประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ สารจากรองประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ นายพยงค์ สงวนถ้อย นายกเทศมนตรีต�ำบลนาสาร รองประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ นายณัฐพงษ์ เนียมสม นายกเทศมนตรีต�ำบลนาตาล่วง รองประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ เทศบาลมีฐานะเป็นนิติบุคคล จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เป็นการปกครองท้องถิ่นตามหลักการกระจายอ�ำนาจให้ประชาชนมีอิสระที่จะด�ำเนินการ ปกครองตนเองภายในขอบเขตที่กฎหมายก�ำหนด แบ่งเป็นเทศบาลต�ำบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร ต ่อมาได้มีเทศบาลจ�ำนวนมากขึ้น จึงได้มีการจัดตั้งสมาคมสันนิบาตเทศบาล แห่งประเทศไทย เพื่อส่งเสริมการวิจัย การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการทั้งระบบ การเมืองท้องถิ่นและการจัดบริการสาธารณะตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือระหว่างเทศบาล กับหน่วยงานอื่น ๆโดยแบ่งการบริหารงานเป็น 5 ภาคตามข้อบังคับสมาคมสันนิบาตเทศบาล แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2565 ทั้งนี้สมาคมสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ได้เป็นส่วนหนึ่งของ สมาคมสันนิบาตแห่งประเทศไทยซึ่งประกอบด้วย14จังหวัดและมีสมาชิกจ�ำนวน 346แห่ง กระผมในนามรองประธานคณะกรรมการสันนิบาตเทศบาลภาคใต้และประธาน สันนิบาตเทศบาลจังหวัดตรังขอเป็นตัวแทนมวลสมาชิกในการท�ำหน้าที่บริหารงานสมาคมฯ พร้อมด้วยการขับเคลื่อนนโยบายต่างๆให้ตอบสนองความต้องการของประชาชน ตลอดจน สร้างความร่วมมือและความสัมพันธ์อันดีระหว่างเทศบาลกับหน่วยงานอื่น ๆเพื่อน�ำประโยชน์ สูงสุดมาสู่ท้องถิ่นของเรา สมาคมเทศบาลแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือสมาคมเทศบาลภายในและสมาคมเทศบาล ระหว่างประเทศและมีชื่อเรียกหลายอย่างตามความคิดเห็นของผู้ริเริ่มในการก่อตั้ง บางแห่งเรียกว่า สมาคมเทศบาล บางแห่งเรียกว่า สหพันธ์เทศบาล และบางแห่งเรียกว่า สันนิบาตเทศบาล สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย หรือ ส.ท.ท.มีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย ถือเป็นสมาคมเทศบาลภายในประเทศ ที่ก่อตั้งขึ้นโดยการรวมกันของเทศบาล ซึ่งมีหน้าที่หรือ ด�ำเนินงานเกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่นได้โดยอิสระตามวัตถุประสงค์ที่ได้ก�ำหนดไว้แต่ ไม่ด�ำเนินกิจการใดที่เกี่ยวข้องกับการเมืองอันอยู่นอกขอบเขตของวัตถุประสงค์และจะต้อง มีการรับผิดชอบจากผลแห่งการด�ำเนินงานของสมาคมตามกฎหมาย ขอบเขตวัตถุประสงค์ของ ส.ท.ท. มุ่งให้ความช่วยเหลือและส่งเสริมการด�ำเนินงาน ของสมาชิกเทศบาลภาคเหนือ เทศบาลภาคกลาง เทศบาลภาคตะวันออก เทศบาลภาค ตะวันออกเฉียงเหนือและเทศบาลภาคใต้ให้มีความเจริญก้าวหน้าสะดวกรวดเร็วและประหยัด นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งกลางที่คอยให้ค�ำปรึกษาหารือ ค�ำแนะน�ำ ชี้แจงเกี่ยวกับข้อขัดข้อง ในการบริหารงานของท้องถิ่นต่าง ๆ อีกด้วย กระผมในนามรองประธานคณะกรรมการสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ ได้มีส่วนในการผลักดัน ให้มีการบริหารจัดการเทศบาลที่ดีและมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับบทบาทและภารกิจ เพื่อประโยชน์ของประชาชน สุดท้ายนี้กระผมขอเป็นตัวแทนมวลสมาชิกในการรณรงค์ส่งเสริม การด�ำเนินการต่าง ๆ ของสมาคมฯ เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพในการบริหารจัดการและ การจัดบริการสาธารณะของเทศบาลต่อไป


4 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย นายไฟซอล อาแว นายกเทศมนตรีเมืองนราธิวาส รองประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ เทศบาลเป็นองค์กรปกครองส ่วนท้องถิ่นที่เก ่าแก ่ซึ่งมีกฎหมายจัดตั้งครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.2476โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 3ระดับ ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 ได้แก่ เทศบาลต�ำบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร กฎหมายดังกล่าวจึงถือเป็นจุดเริ่มต้น ของการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นถึงปัจจุบัน นอกจากนั้นเมื่อ พ.ศ. 2503 ได้เกิดเหตุการณ์เทศบาลทุกแห ่งรวมกลุ ่มกัน เพื่อจัดตั้งสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ และความสัมพันธ์อันดีระหว่างเทศบาลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ส่งเสริมการพัฒนา ระบบการเมืองท้องถิ่น ส่งเสริมการวิจัยและการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการและการจัด บริการสาธารณะของเทศบาลฯลฯโดยเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการประเมินผล การด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสมาคมฯ กระผมในนามรองประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ขอเป็นตัวแทนคณะผู้บริหาร เทศบาลและสมาชิกทุกท ่าน เผยแพร ่การบริหารราชการและการด�ำเนินงานต ่าง ๆ ของเทศบาลที่มีประสิทธิภาพ โดยถือประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง เพื่อน�ำไปสู่การ“สานพลัง แห่งความร่วมมือ ขับเคลื่อนพัฒนาท้องถิ่นไทยสู่ความยั่งยืน” และเป็นเกียรติภูมิแก่ท้องถิ่น ของเทศบาลต่อไป เทศบาลเป็นองค์กรปกครองส ่วนท้องถิ่นต้นแบบประชาธิปไตยที่เปิดโอกาส ให้ประชาชนมีส ่วนร ่วมในการบริหารงาน เป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ร ่วมคิด ร่วมแก้ปัญหา เทศบาลจึงมีพัฒนาการที่ดีมาโดยล�ำดับและสร้างความเจริญให้ท้องถิ่น มาอย่างยาวนาน นอกจากนั้นยังได้มีการรวมตัวของเทศบาลต่าง ๆ เพื่อเป็นแกนหลักใน การประสานงานและแก้ไขปัญหาในการด�ำเนินงานของเทศบาลอย่างเป็นระบบ สันนิบาตเทศบาลจังหวัดนราธิวาสเป็นองค์กรกลางระหว่างเทศบาล กับสมาชิก ท�ำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และหาแนวทางแก้ไขปัญหาในการบริหารงานของเทศบาล ซึ่งเทศบาลต�ำบลและเทศบาลเมืองเป็นองค์กรหลักในระดับพื้นที่ที่มีศักยภาพสูงในการบริหาร จัดการบริการสาธารณะ ประสานงานกับหน่วยงานทุกภาคส่วน และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การพัฒนาท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อระดมความคิดมาพัฒนาพื้นที่ให้ดีขึ้น ในโอกาสนี้กระผมในนามประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดนราธิวาส ขอขอบคุณ ทุกหน ่วยงาน กลุ ่มชมรมเครือข ่ายอาชีพต ่าง ๆ ตลอดจนพี่น้องประชาชนทุกท ่านที่ให้ ความร ่วมมือด้วยดีมาโดยตลอด กระผมนายไฟซอล อาแว ประธานสันนิบาตเทศบาล จังหวัดนราธิวาสและสมาชิกสันนิบาตจังหวัดนราธิวาสจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริตและเกิดประโยชน์แก่ประชาชนต่อไป นายอ�ำพัน มากอ�ำไพ นายกเทศมนตรีต�ำบลท่ายาง รองประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ สารจากรองประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ สารจากรองประธานสันนิบาตเทศบาลภาคใต้


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 5 คณะกรรมการสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายอ�ำพัน มากอ�ำไพ นายกเทศมนตรีต�ำบลท่ายาง ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายประเสริฐ บุญประสพ นายกเทศมนตรีนครสุราษฎร์ธานี ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายพยงค์ สงวนถ้อย นายกเทศมนตรีต�ำบลนาสาร ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายไกรวัฒน์ ธรรมเพชร นายกเทศมนตรีต�ำบลเขาเจียก ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายศรีชัย วีระนรพานิช นายกเทศมนตรีเมืองชุมพร ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นางวสุ ประดิษฐพร นายกเทศมนตรีเมืองท่าข้าม ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายชัยธิศักดิ์ อ�ำลอย นายกเทศมนตรีต�ำบลท่ายาง ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายสมปอง ช่วยเนียม นายกเทศมนตรีต�ำบลต�ำนาน ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นายสุทธิพงษ์ บุญโยธิน ปลัดเทศบาลต�ำบลท่ายาง ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นายนพดล มีเพียร ปลัดเทศบาลต�ำบลคลองชะอุ่น ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล ดร.สุภชัย นาคสุวรรณ์ ปลัดเทศบาลเมืองปากพูน ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นางสาวธมล มงคลศิลป์ ปลัดเทศบาลต�ำบลต�ำนาน ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายณัฐวัฒน์ โชติกสถิตย์ ประธานสภาเทศบาลเมืองชุมพร ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายยุทธยง ล�ำยาว ประธานสภาเทศบาลต�ำบลเวียง ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นางสุวรีย์ คงแก้ว ประธานสภาเทศบาลต�ำบลท่ายาง ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายสายัญ แดงปรก ประธานสภาเทศบาลต�ำบลคลองใหญ่ อ่าวไทย


6 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย สงขลา ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายรอเซ็ง ไหรเจริญ นายกเทศมนตรีต�ำบลเกาะแต้ว ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายยงยุทธ ควรศิริ นายกเทศมนตรีเมืองบางริ้น ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายชูโชติ โกยกุล นายกเทศมนตรีเมืองพังงา ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด พันต�ำรวจเอกสมเด็จ สุขการ นายกเทศมนตรีเมืองกระบี่ ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายอรุณ โสฬส นายกเทศมนตรีต�ำบลราไวย์ ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายประสิทธิ์ แก้วมรกต นายกเทศมนตรีต�ำบลทุ่งลาน ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายจักร์กฤษณ์ สุขอร่าม นายกเทศมนตรีต�ำบลปากน�้ำ ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายพีรเดช หลีน้อย นายกเทศมนตรีต�ำบลบางเตย ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายวัฒนุรงค์ เนื้อเกลี้ยง นายกเทศมนตรีต�ำบลกระบี่น้อย ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายสุนิรันดร์ รชตะพฤกษ์ นายกเทศมนตรีต�ำบลเชิงทะเล ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นายฤทธี กุลอภิรักษ์ ปลัดเทศบาลต�ำบลเกาะแต้ว ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นายวิชัย นวลนิ่ม ปลัดเทศบาลเมืองบางริ้น ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นายสุชาติ ศรีรักษา ปลัดเทศบาลเมืองพังงา ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นายเกรียงศักดิ์ อินทนุพัฒน์ ปลัดเทศบาลต�ำบลคลองพนพัฒนา ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นางวิภา จันทร์ทอง ปลัดเทศบาลเมืองป่าตอง ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายภคนันท์ ประทุมชาติภักดี ประธานสภาเทศบาลนครหาดใหญ่ ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายอดุล สุขแดง ประธานสภาเทศบาลต�ำบลบางนอน ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นางนลินา จันทะฟอง ประธานสภาเทศบาลต�ำบลทับปุด ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายภูเบศวร์ สุวรรณเนาว์ ประธานสภาเทศบาลเมืองกระบี่ ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายนิมิต เอกวานิช ประธานสภาเทศบาลต�ำบลวิชิต อันดามัน


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 7 ตรัง สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายณัฐพงษ์ เนียมสม นายกเทศมนตรีต�ำบลนาตาล่วง ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายวิชิต แซ่ลิ่ม นายกเทศมนตรีต�ำบลก�ำแพง ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายนิติ นิเดหะ นายกเทศมนตรีเมืองตะลุบัน ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายมะสดี หะยีปิ นายกเทศมนตรีต�ำบลท่าสาป ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายการุณ ไทยสนิท นายกเทศมนตรีต�ำบลกะลุวอเหนือ ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายสุเมธ รอดรัตน์ นายกเทศมนตรีต�ำบลสิเกา ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายไพฑูรย์ ลิ่มสกุล นายกเทศมนตรีต�ำบลฉลุง ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายชาญชัย เกียรติศักดิ์โสภณ นายกเทศมนตรีต�ำบลนาประดู่ ผู้แทนซึ่งเป็นนายกเทศมนตรี นายเสรี เรืองกาญจน์ นายกเทศมนตรีเมืองสะเตงนอก ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด นายไฟซอล อาแว นายกเทศมนตรีเมืองนราธิวาส ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นายสุวิว มณีโชติ ปลัดเทศบาลต�ำบลย่านตาขาว ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นายสมชาติ พรหมโกศรี ปลัดเทศบาลเมืองสตูล ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นายบันเทิง ล่องจันทร์์ ปลัดเทศบาลต�ำบลรูสะมิแล ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นายรูสลัน ดาราแม็ง ปลัดเทศบาลต�ำบลท่าสาป ผู้แทนซึ่งเป็นปลัดเทศบาล นายณัฐศักดิ์ จันทโรจวงศ์ ปลัดเทศบาลเมืองนราธิวาส ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายโกมล ชูเชิดรัตน์ ประธานสภาเทศบาลต�ำบลสิเกา ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายสมพร สินจรูญศักดิ์ ประธานสภาเทศบาลต�ำบลทุ่งหว้า ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายสรศักดิ์ สุริยะสุนทร ประธานสภาเทศบาลต�ำบลเมืองตะลุบัน ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายอับดุลอาซิซ หะยีปิยวงศ์ ประธานสภาเทศบาลเมืองสะเตงนอก ผู้แทนซึ่งเป็นประธานสภาเทศบาล นายคณิต ประเสริฐด�ำ ประธานสภาเทศบาลต�ำบลปาเสมัส ชายแดนใต้


แหล่งอารยธรรมโบราณ ชุมพร วิมานบนดิน สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 9 ประตูภาคใต้ ไหว้เสด็จในกรม ชมไร่กาแฟ แลหาดทรายรี ดีกล้วยเล็บมือ ขึ้นชื่อรังนก จังหวัดชุมพร เป็นเมืองที่เก่าแก่และมีความเป็นมาที่ยาวนาน จ.ชุมพรเป็นประตูด่านแรกที่จะเข้าสู่ภาคใต้มีหาดทราย ทอดตัวยาวถึง222กิโลเมตร มีเกาะกว่า30เกาะความสวยงามของท้องทะเลสีคราม ความร่มรื่นอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ แนวปะการัง ดอกไม้ทะเล และฝูงปลาหลายชนิด ท�ำให้จ.ชุมพรเหมาะแก ่การเป็นแหล ่งท ่องเที่ยวยุคใหม ่ มีพื้นที่ ครอบคลุม 8 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.เมืองชุมพร อ.ท่าแซะ อ.ปะทิว อ.หลังสวน อ.ละแม อ.พะโต๊ะ อ.สวีและ อ.ทุ่งตะโก และ มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด79องค์กร ได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดจ�ำนวน 1แห่ง เทศบาลจ�ำนวน 28แห่ง และองค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 50 แห่ง นอกจากนี้จ.ชุมพรได้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกสันนิบาต เทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 27 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมือง จ�ำนวน 2 แห่ง คือ ทม.ชุมพร และ ทม.หลังสวน เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 25 แห่ง คือ ทต.ชุมโค ทต.ทะเลทรัพย์ทต.ท่าแซะ ทต.ท่ายาง ทต.ทุ่งตะไคร ทต.นาชะอัง ทต.นาโพธิ์ ทต.นาโพธิ์พัฒนา ทต.เนินสันติทต.บางลึก ทต.บางหมาก ทต.ปะทิว ทต.ปากตะโก ทต.ปากน�้ำชุมพร ทต.ปากน�้ำหลังสวน ทต.พะโต๊ะ ทต.มาบอ�ำมฤต ทต.ละแม ทต.วังตะกอ ทต.วังไผ่ ทต.วังใหม่ ทต.สะพลีทต.หาดทรายรี ทต.ท่ามะพลา และ ทต.ขุนกระทิง จังหวัด ชมพร ุ


10 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นหน่วยงานที่มีบทบาท ส�ำคัญด้านการดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน สามารถก�ำหนดนโยบายให้ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนอย่างตรงเป้าหมาย ซึ่ง ทต.ท่ายาง ได้ด�ำเนิน นโยบายด้านการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ซึ่งเป็น นโยบายด้านการดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิต และได้รับ โล่เกียรติคุณจากการด�ำเนินงานอย่างมีคุณภาพ เพื่อดูแลสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยจัดตั้งหน ่วยฝึกสอน การปฐมพยาบาลการป้องกันเด็กจมน�้ำ การกู้ชีพทางน�้ำ และ พัฒนาเป็นหน่วยปฏิบัติการประเภทปฏิบัติการแพทย์ระดับสูง ซึ่งหน่วยปฏิบัติการงานแพทย์ฉุกเฉิน ทต.ท่ายางเป็นนโยบาย ด้านสาธารณสุข ที่มุ ่งแก้ไขและปรับปรุงระบบบริการ การแพทย์ฉุกเฉินให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพสูงสุดส�ำหรับ ให้บริการประชาชน ในขณะเดียวกัน ทต.ท่ายาง ได้มุ่งพัฒนา สังคม เศรษฐกิจและสุขภาพผู้สูงอายุโดยได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากส�ำนักงานพัฒนาสังคม จ.ชุมพรเพื่อด�ำเนินการ ปรับปรุงและซ่อมแซมอาคารส�ำนักงาน ทต.ท่ายางหลังเก่า ให้เป็นอาคารศูนย์พัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิต นอกจากนี้ ทต.ท่ายาง ได้ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริม อาชีพของผู้สูงอายุและประชาชนให้เป็นรูปธรรม โดยแต่งตั้ง คณะท�ำงานฝ่ายต่างๆเพื่อด�ำเนินกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพผู้สูงอายุซึ่งเน้นส่งสริมด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการเรียนรู้ตลอดชีวิต การส่งเสริมด้านการพัฒนาตนเอง การเสริมสร้างสุขภาพร่างกายและจิตใจ และการส่งเสริมให้ ผู้สูงอายุได้ท�ำประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม ดูแลสุขภาพและ คุณภาพชีวิต ตอบสนอง ความต้องการ ของประชาชนอย่าง ตรงเป้าหมาย


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 11 จังหวัดสุราษฎร์ธานีมักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที ่ขนาดใหญ่ที่สุดในภาคใต้ตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทยทั้งที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ จ.สุราษฎร์ธานีพื้นที่ครอบคลุม 19 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.เมืองสุราษฎร์ธานีอ.กาญจนดิษฐ์อ.ดอนสัก อ.เกาะสมุย อ.เกาะพะงัน อ.ไชยา อ.ท่าชนะ อ.คีรีรัฐนิคม อ.บ้านตาขุน อ.พนม อ.ท่าฉางอ.บ้านนาสารอ.บ้านนาเดิม อ.เคียนซาอ.เวียงสระอ.พระแสงอ.พุนพิน อ.ชัยบุรีและอ.วิภาวดี และมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด138องค์กรได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดจ�ำนวน1แห่งเทศบาลนครจ�ำนวน2แห่ง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 3 แห่ง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 35 แห่ง และองค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 97 แห่ง นอกจากนี้ จ.สุราษฎร์ธานีได้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกสันนิบาตเทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 40 แห่ง ดังนี้ เทศบาลนคร จ�ำนวน 2 แห่ง คือ ทน.สุราษฎร์ธานีและ ทน.เกาะสมุย เทศบาลเมือง จ�ำนวน 3 แห่ง คือ ทม.ดอนสัก ทม.ท่าข้าม และ ทม.นาสาร เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน แห่ง 35 คือ ทต.กาญจนดิษฐ์ ทต.เกาะเต่า ทต.เกาะพะงัน ทต.ขุนทะเล ทต.เขานิพันธ์ ทต.คลองชะอุ่น ทต.คลองปราบ ทต.ควนศรีทต.เคียนซา ทต.ช้างขวา ทต.ช้างซ้าย ทต.ตลาดไชยา ทต.ท่าขนอน ทต.ท่าฉาง ทต.ท่าชนะ ทต.ท่าชีทต.ท่าทองใหม่ ทต.บางสวรรค์ทต.บ้านเชี่ยวหลาน ทต.บ้านตาขุน (เขาวง) ทต.บ้านนา ทต.บ้านส้อง ทต.พนม ทต.พรุพีทต.พุมเรียง ทต.เมืองเวียง ทต.ย่านดินแดง ทต.วัดประดู่ ทต.เวียง ทต.เวียงสระ ทต.กรูด ทต.ทุ่งหลวง ทต.บ้านใต้ทต.เพชรพะงัน และ ทต.บ้านเสด็จ จังหวัด เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่อย หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ สราษฎร์ธานี ุ


12 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นหน่วยงานที่ให้ความส�ำคัญ ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการจัดสวัสดิการสังคม โดยเฉพาะ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มเปราะบาง ได้แก่ ผู้พิการ และผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีรวมถึงการได้รับ สวัสดิการสังคมอย่างทั่วถึงซึ่ง ทน.สุราษฎร์ธานีได้จัดกิจกรรม X-Ray ชุมชน เคาะประตู เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ กิจกรรมนี้ เป็นการบันทึกพิกัดแผนที่ทางภูมิศาสตร์ (GPS) ที่อยู่อาศัย ของกลุ่มผู้พิการและผู้สูงอายุบน Google my map ซึ่งได้ น�ำนวัตกรรมด้านดิจิทัลมาใช้ปฏิบัติงานด้านสังคม ท�ำให้ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อน�ำไปใช้จัดสวัสดิการสังคมให้ กลุ่มดังกล่าวต่อไป กิจกรรม X-Rayชุมชน เคาะประตูเยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ด�ำเนินการในรูปแบบการสร้างแนวทาง“ร่วมคิดร่วมท�ำ ทุกคน เป็นครอบครัวเดียวกัน” ถือเป็นการท�ำงานเชิงรุกอย ่าง เป็นระบบของ ทน.สุราษฎร์ธานีโดยการลงพื้นที่ให้บริการ ประชาชนกลุ่มเปราะบางซึ่งจะน�ำไปสู่การสร้างความร่วมมือ ภาคประชาสังคมและการมีส่วนร่วมของประชาชนส�ำหรับ การด�ำเนินการโครงการต่าง ๆ ในอนาคต เพื่อสร้างคุณภาพ ชีวิตที่ดีให้ประชาชนอย่างสมบูรณ์


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 13 จังหวัดนครศรีธรรมราช มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้(รองจาก สุราษฎร์ธานี) เป็นจังหวัดที่มีอ�ำเภอมากที่สุดในภาคใต้มีพื้นที่ครอบคลุม 23อ�ำเภอได้แก่อ.เมืองนครศรีธรรมราชอ.พรหมคีรี อ.ลานสกา อ.ฉวาง อ.พิปูน อ.เชียงใหญ่อ.ชะอวดอ.ท่าศาลา อ.ทุ่งสง อ.นาบอน อ.ทุ่งใหญ่อ.ปากพนัง อ.ร่อนพิบูลย์อ.สิชล อ.ขนอม อ.หัวไทร อ.บางขัน อ.ถ�้ำพรรณรา อ.จุฬาภรณ์อ.พระพรหม อ.นบพิต�ำ อ.ช้างกลาง และ อ.เฉลิมพระเกียรติและ มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด185องค์กรได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดจ�ำนวน 1แห่งเทศบาลนครจ�ำนวน 1แห่ง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 3 แห่ง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 50 แห่ง และองค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 130 แห่ง นอกจากนี้ จ.นครศรีธรรมราช ได้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกสันนิบาตเทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 52 แห่ง ดังนี้ เทศบาลนคร จ�ำนวน 1 แห่ง คือ ทน.นครศรีธรรมราช เทศบาลเมือง จ�ำนวน 3 แห่ง คือ ทม.ปากพูน ทม.ปากพนัง และ ทม.ทุ่งสง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 48 แห่ง คือ ทต.กะทูน ทต.กะปาง ทต.เกาะทวด ทต.เกาะเพชร ทต.ขนอม ทต.ขุนทะเล ทต.เขาชุมทอง ทต.เขาพระ ทต.จันดีทต.ฉวาง ทต.ชะมาย ทต.ชะอวด ทต.เชียรใหญ่ ทต.ดอนตรอ ทต.ท้องเนียน ทต.ทอนหงส์ ทต.ทางพูน ทต.ท่างิ้ว ทต.ท่าประจะ ทต.ท่าแพ ทต.ท่ายาง ทต.ท่าศาลา ทต.ที่วัง ทต.ทุ่งสัง ทต.นาบอน ทต.นาสาร ทต.บางจาก ทต.ปากนคร ทต.ปากน�้ำฉวาง ทต.พรหมคีรีทต.พรหมโลก ทต.พิปูน ทต.โพธิ์เสด็จ ทต.ไม้เรียง ทต.ร่อนพิบูลย์ทต.ลานสกา ทต.สิชล ทต.หน้าสตน ทต.หัวไทร ทต.หินตก ทต.อ่าวขนอม ทต.ชะเมา ทต.ทุ่งใส ทต.สวนขัน ทต.บางพระ ทต.หลักช้าง ทต.นาเหรง และ ทต.การะเกด จังหวัด นครศรีธรรมราช เมืองประวัติศาสตร์ พระธาตุทองค�ำ ชื่นฉ�่ำธรรมชาติ แร่ธาตุอุดม เครื่องถมสามกษัตริย์ มากวัดมากศิลป์ ครบสิ้นกุ้งปู


14 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทหน้าที่ส�ำคัญ ในการสนับสนุนและพัฒนาด้านการท ่องเที่ยว โดยน�ำทุน ทางทรัพยากรธรรมชาติหรือมรดกทางวัฒนธรรมมาพัฒนา เป็นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้แก่ประชาชน ซึ่ง ทม.ปากพูน ได้จัดกิจกรรมล่องเรือชมอุโมงค์Amazonเนื่องจากว่าชุมชน ปากพูนเป็นชุมชนที่มีธรรมชาติและระบบป ่าชายเลนที่ อุดมสมบูรณ์ประกอบด้วยความหลากหลายของสัตว์นานาชนิด เช่น กุ้งกระโดด ปลาตีนตัวโต ปลากระบอก หอยนางรม นกน�้ำ ฝูงโลมาสีชมพูฯลฯและ ทม.ปากพูน เป็นชุมชนประมง พื้นบ้าน มีวิถีชีวิตพึ่งพาธรรมชาติเพื่อการประกอบอาชีพ เช่น การดักแร้วปูด�ำ ยกยอปลากระบอก การดักปลา ด้วยวิถีดั้งเดิม ฯลฯ นอกจากนี้ทม.ปากพูน ได้จัดกิจกรรม ปล ่อยพันธุ์สัตว์น�้ำและปลูกป ่าชายเลน เพื่อกระตุ้น ให้ประชาชนในชุมชนหันมาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งจะก่อให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนต่อไป สนับสนุนและพัฒนา ด้านการท่องเที่ยว โดยใช้ทุนทาง ทรัพยากรธรรมชาติ สร้างรายได้แก่ประชาชน


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 15 จังหวัดพัทลุง เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย มีสภาพภูมิประเทศทั้งที่ราบ เนินเขา และชายฝั่ง โดยทิศตะวันตกของจังหวัดจะเป็นพื้นที่ราบสูงและราบเชิงเขาชาวภาคใต้จะเรียกจังหวัดนี้ว่า“เมืองลุง”จ.พัทลุงเมืองเก่าแก่ โบราณเมืองหนึ่ง ได้ชื่อว ่าเป็นเมืองแห ่งขุนเขาอกทะลุเพราะเมื่อขับรถเข้าสู ่ตัวเมืองพัทลุงจะได้เห็นขุนเขาอกทะลุอยู ่ กลางเมืองเป็นจุดเด่นประจ�ำจังหวัดและยังถือเป็นเมืองต้นก�ำเนิดศิลปะการแสดงทรงไทยที่ขึ้นชื่ออย่างมโนราห์และหนังตะลุง นอกจากนี้ยังมีแหล ่งธรรมชาติที่ส�ำคัญระดับประเทศอย ่างทะเลน้อย ซึ่งอยู ่ในเขตห้ามล ่าสัตว์ป ่าทะเลเป็นที่อาศัยของ นกน�้ำหลายชนิดอีกด้วย จ.พัทลุง มีพื้นที่ครอบคลุม 11 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.เมืองพัทลุง อ.กงหรา อ.เขาชัยสน อ.ตะโหมด อ.ควนขนุน อ.ปากพะยูน อ.ศรีบรรพตอ.ป่าบอน อ.บางแก้วอ.ป่าพะยอม และอ.ศรีนครินทร์และจ.พัทลุง มีองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสิ้น 74องค์กรได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดจ�ำนวน 1แห่งเทศบาลเมืองจ�ำนวน 1แห่งเทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 48 แห่ง และองค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 24 แห่ง นอกจากนี้จ.พัทลุงมีองค์กรปกครองที่เป็นสมาชิกสันนิบาต เทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 47 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลเมือง จ�ำนวน 1 แห่ง คือ ทม.พัทลุง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 46 แห่ง คือ ทต.กงหรา ทต.เกาะนางค�ำ ทต.เขาเจียก ทต.เขาชัยสน ทต.เขาหัวช้าง ทต.คลองทรายขาว ทต.คลองใหญ่ทต.ควนขนุน ทต.ควนเสาธง ทต.โคกม่วง ทต.จองถนน ทต.ชะรัด ทต.ชุมพล ทต.ดอนทราย ทต.ดอนประดู่ ทต.ตะโหมด ทต.โตนดด้วน ทต.ท่าแค ทต.ท่ามะเดื่อ ทต.ท่ามิหร�ำ ทต.นาขยาด ทต.นาท่อม ทต.บางแก้ว ทต.บ้านนา ทต.บ้านสวน ทต.ปรางหมู่ ทต.ปากพะยูน ทต.ป่าบอน ทต.พญาขัน ทต.พนางตุง ทต.แพรกหา ทต.มะกอกเหนือ ทต.แม่ขรีทต.ร่มเมือง ทต.ล�ำสินธุ์ทต.หนองพ้อ ทต.หารเทา ทต.อ่างทอง ทต.อ่าวพะยูน ทต.ลายข่อย ทต.ต�ำนาน ทต.สมหวัง ทต.นาโหมด ทต.โคกชะงาย ทต.แหลมโตนด และ ทต.บ้านพร้าว จังหวัดพัทลง ุ เมืองหนังโนราห์ อู่นาข้าว พราวน�้ำตก แหล่งนกน�้ำ ทะเลสาบงาม เขาอกทะลุ น�้ำพุร้อน


16 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย ส่งเสริมความรู้ ด้านการฝึกอาชีพ การถ่ายทอดภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทหน้าที่ส�ำคัญ ในการดูแลผู้สูงอายุและส่งเสริมประเพณีท้องถิ่น เนื่องจากว่า อปท.เป็นองค์กรที่ใกล้ชิดและทราบความต้องการของผู้สูงอายุ ในท้องถิ่นดีที่สุดและมีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริมโครงการ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นแนวทางการด�ำเนิน ชีวิตที่มุ่งพัฒนาป้องกันหรือแก้ไขปัญหาให้สามารถด�ำเนินชีวิต ได้อย่างมั่นคง นอกจากนี้อปท.ยังมีหน้าที่บ�ำรุงรักษาศิลปะ และวัฒนธรรม จารีตประเพณีภูมิปัญญาอันดีงามของท้องถิ่น ให้แก่เด็กและเยาวชน ซึ่ง ทต.ต�ำนานได้ตระหนักถึงบทบาทและหน้าที่ ดังกล่าว จึงได้จัดท�ำโครงการส�ำคัญ ได้แก่ โครงการส่งเสริม คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โครงการเศรษฐกิจพอเพียง และ โครงการถ่ายทอดวิชาศิลปะให้แก่เด็กและเยาวชน เพื่อเสริมสร้าง ความเข้มแข็งและสร้างกระบวนการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน ในท้องถิ่นโดยโครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจัดขึ้นเพื่อ ตอบสนองนโยบายรัฐบาลและความต้องการของผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะพูดคุยและท�ำกิจกรรมร่วมกัน อีกทั้ง ยังได้ส่งเสริมความรู้ด้านการฝึกอาชีพ การถ่ายทอดภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรม โครงการเศรษฐกิจพอเพียง จัดขึ้นเพื่อ เสริมสร้างและพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะของเกษตรกรที่ดี ด�ำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้ชื่อ “กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนเทศบาลบ้านทุ่งลานสถิตธรรมาทร” และโครงการถ ่ายทอดวิชาศิลปะให้แก ่เด็กและเยาวชน จัดขึ้นเพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับความรู้ด้านศิลปะอย่างดี ยิ่งขึ้น


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 17 จังหวัดสงขลาเป็นจังหวัดชายแดนภาคใต้เมืองท่าและเมืองชายทะเลที่ส�ำคัญของประเทศไทย มีประชากรหลายเชื้อชาติ เข้ามาอาศัยอยู่ร่วมกันไม่ว่าจะเป็นจีน มาเลย์และไทยจึงท�ำให้มีขนบธรรมเนียมประเพณีภาษาที่หลากหลายและการละเล่น พื้นเมืองที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของบรรพบุรุษตกทอดให้ชนรุ่นหลังได้ศึกษามากมายจ.สงขลามีพื้นที่ครอบคลุม 16อ�ำเภอ ได้แก่อ.เมืองสงขลาอ.สทิงพระอ.จะนะ อ.นาทวี อ.เทพาอ.สะบ้าย้อยอ.ระโนดอ.กระแสสินธุ์อ.รัตภูมิอ.สะเดาอ.หาดใหญ่ อ.นาหม่อม อ.ควนเนียงอ.บางกล�่ำ อ.สิงหนครและอ.คลองหอยโข่งและมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด141องค์กร ได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดจ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลนคร จ�ำนวน 2 แห่ง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 11 แห่ง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 35 แห่ง และองค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 92 แห่ง นอกจากนี้จ.สงขลา ได้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เป็นสมาชิกสันนิบาตจังหวัด จ�ำนวน 47 แห่ง ดังนี้ เทศบาลนคร จ�ำนวน 2 แห่ง คือ ทน.สงขลา และ ทน.หาดใหญ่ เทศบาลเมืองจ�ำนวน 11แห่งคือ ทม.คลองแห ทม.ควนลัง ทม.คอหงส์ทม.ทุ่งต�ำเสา ทม.บ้านพรุทม.ปาดังเบซาร์ ทม.ม่วงงาม ทม.สะเดา ทม.สิงหนคร ทม.เขารูปข้าง และ ทม.ก�ำแพงเพชร เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 34 แห่ง คือ ทต.กระแสสินธุ์ทต.ก�ำแพงเพชร ทต.เกาะแต้ว ทต.คลองแงะ ทต.ควนเนียง ทต.คูหาใต้ทต.โคกม่วง ทต.จะนะ ทต.เชิงแส ทต.ท่าช้าง ทต.ท่าพระยา ทต.ทุ่งลาน ทต.เทพา ทต.นาทวีทต.นาทวีนอก ทต.นาทับ ทต.นาสีทอง ทต.น�้ำน้อย ทต.บ่อตรุ ทต.บางเหรียง ทต.บ้านนา ทต.บ้านไร่ ทต.บ้านหาร ทต.ปริก ทต.ปากแตระ ทต.ปาดัง ทต.พะตง ทต.ระโนด ทต.สทิงพระ ทต.สะบ้าย้อย ทต.ส�ำนักขาม ทต.คูเต่า ทต.ล�ำไพล และ ทต.พะวง จังหวัด สงขลา นกน�้ำเพลินตา สมิหลาเพลินใจ เมืองใหญ่สองทะเล เสน่ห์สะพานป๋า ศูนย์การค้าแดนใต้


18 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องมีการบริหารจัดการที่ดี ตามอ�ำนาจหน้าที่และหลักการบริหารจัดการบ้านเมือง อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และมีผลงานด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วม การสร้างเครือข่าย การจัดการและนวัตกรรมท้องถิ่น ซึ่งทต.ปริกเป็นต้นแบบ การบริหารจัดการของ อปท. ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศด้านการ บริหารจัดการที่ดีจากโครงการสนามเด็กเล ่นสร้างปัญญา นวัตกรรมท้องถิ่นที่มุ ่งพัฒนาการศึกษาปฐมวัยและพลเมือง ตามวิสัยทัศน์และพันธกิจขององค์กร เพื่อสร้างสังคม แห ่งการเรียนรู้และส ่งเสริมการมีส ่วนร ่วมอันจะน�ำไปสู ่ การเรียนรู้แบบเพลิดเพลิน ตามวิสัยทัศน์การสร้างคนให้มี คุณภาพที่เน้นพัฒนาในระดับปฐมวัย ควบคู่กับการส่งเสริม พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา นับเป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างบูรณาการที่ใช้เด็ก เป็นศูนย์กลางผ ่านการเล ่นแบบมีส ่วนร ่วม สนามเด็กเล ่น สร้างปัญญา ทต.ปริกจึงเป็นนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ที่เปลี่ยน ความสนุกสนานเป็นประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อให้เกิด การเรียนรู้อย่างมีความสุข สังคมแห่งการเรียนรู้และ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม อันจะน�ำไปสู่การเรียนรู้ แบบเพลิดเพลิน


แดนมหัศจรรย์ เมืองมนต์ทะเล ระนอง ภูเก็ต พังงา กระบี่ ตรัง สตูล


20 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย จังหวัดระนอง เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันตกของภาคใต้มีลักษณะพื้นที่เรียวและแคบ ค�ำว่า ระนอง เพี้ยนมาจาก ค�ำว่า แร่นอง เนื่องจากในพื้นที่จังหวัดมีแร่อยู่มากมาย จ.ระนอง มีพื้นที่ครอบคลุม 5 อ�ำเภอ ได้แก่อ.เมืองระนอง อ.กระบุรี อ.กะเปอร์อ.ละอุ่น และอ.สุขส�ำราญ และมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด31องค์กรได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 2 แห่ง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 10 แห่ง และองค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 20 แห่ง นอกจากนี้จ.ระนอง มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกสันนิบาตเทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 12 แห่ง ดังนี้ เทศบาลเมือง จ�ำนวน 2 แห่ง คือ ทม.ระนอง และ ทม.บางริ้น เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 10 แห่ง ทต.จ.ป.ร. ทต.กะเปอร์ ทต.ก�ำพวน ทต.น�้ำจืด ทต.บางนอน ทต.ปากน�้ำ ทต.ปากน�้ำท่าเรือ ทต.ราชกรูด ทต.ละอุ่น และ ทต.หงาว จังหวัด ระนอง คอคอดกระ ภูเขาหญ้า กาหยูหวาน ธารน�้ำแร่ มุกแท้เมืองระนอง


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 21 ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ชีวิตมีคุณค่า มีส่วนร่วมพัฒนาสังคม องค์กรปกครองส ่วนท้องถิ่น เป็นหน ่วยงานภาครัฐ ที่มีบทบาทหน้าที่ส�ำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ด้วยการจัดสวัสดิการสังคม บทบาทหน้าที่ส�ำคัญของ อปท. อีกประการหนึ่ง คือการกระตุ้นให้มีการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ ทั่วประเทศ ซึ่ง ทม.บางริ้นได้ก่อตั้งชมรมผู้สูงอายุ เพื่อดูแล สวัสดิการทางสังคมด้านต่าง ๆ แก่ผู้สูงอายุ ภายใต้วิสัยทัศน์ “ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีชีวิตมีคุณค่า มีส่วนร่วมพัฒนาสังคม” โดยจัดให้มีกิจกรรมส ่งเสริมและเสริมสร้างการพัฒนา ด้านคุณภาพชีวิต เพื่อให้ตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ ผู้สูงอายุ เช่น กิจกรรมการจักสานตะกร้าจากหวายเทียม “1 ชมรมผู้สูงอายุเข้มแข็ง 1 ผลิตภัณฑ์ชุมชน” เป็นต้น ตามพันธกิจหลักของชมรม คือ “ส ่งเสริมสุขภาพกาย ส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการมีรายได้ช่วยเหลือสงเคราะห์ เพื่อนสมาชิกและช่วยเหลือสังคมตามโอกาสอันควร”โดยได้ รับรางวัลอันทรงเกียรติคือ รางวัลชมรมผู้สูงอายุเข้มแข็ง รางวัลชมรมผู้สูงอายุคุณภาพดีเด่น และรางวัลคลังปัญญา ผู้สูงอายุดีเด่น ประจ�ำจังหวัดระนอง


22 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย จังหวัดพังงาเดิมชื่อว่า“เมืองภูงา”ตามชื่อเขางาหรือเขาพังงา หรือกราภูงา หรือพังกา(ภาษามลายูแปลว่า ป่าน�้ำภูงา) ตั้งอยู่ในตัว จ.พังงาปัจจุบัน จ.พังงามีพื้นที่ครอบคลุม 8 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.เมืองพังงา อ.เกาะยาว อ.กะปง อ.ตะกั่วทุ่ง อ.ตะกั่วป่า อ.คุระบุรีอ.ทับปุด และ อ.ท้ายเหมือง และมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสิ้น 52 องค์กร ได้แก่ องค์การ บริหารส่วนจังหวัด จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 2 แห่ง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 8 แห่ง และองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล จ�ำนวน 41 แห่ง นอกจากนี้จ.พังงา ได้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกสันนิบาตเทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 14 แห่ง ดังนี้ เทศบาลเมือง จ�ำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ทม.ตะกั่วป่า และ ทม.พังงา เทศบาลต�ำบลจ�ำนวน 12แห่ง ได้แก่ ทต.กระโสม ทต.เกาะยาว ทต.คึกคัก ทต.คุระบุรีทต.โคกกลอย ทต.ทับปุด ทต.ท่านา ทต.ท้ายเหมือง ทต.บางเตย ทต.บางนายสีทต.ล�ำแก่น และ ทต.พรุใน จังหวัดพังงา แร่หมื่นล้าน บ้านกลางน�้ำ ถ�้ำงามตา ภูผาแปลก แมกไม้จ�ำปูน บริบูรณ์ด้วยทรัพยากร


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 23 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทหน้าที่ในด้าน การจัดการการท่องเที่ยวแตกต่างกันไปตามสภาพพื้นที่และ ศักยภาพของแต ่ละองค์กรปกครองส ่วนท้องถิ่น อีกทั้ง ยังมีบทบาทส�ำคัญในการกระตุ้นและส ่งเสริมศักยภาพ การท่องเที่ยวไทยสู่ความยั่งยืน เนื่องจากเป็นองค์กรภาครัฐ ที่มีความใกล้ชิดกับชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวมากที่สุด ท�ำให้ องค์กรปกครองส ่วนท้องถิ่นรู้จักและเข้าใจบริบทพื้นที่ เป็นอย่างดีและสามารถก�ำหนดทิศทางตลอดจนแนวทาง ในการพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ให้สอดคล้องกับบริบทของ พื้นที่ได้อย่างลงตัว ซึ่ง ทม.พังงา ซึ่งเป็นตัวอย่างหนึ่งของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เห็นความส�ำคัญของการพัฒนา ศักยภาพการท่องเที่ยวในพื้นที่ จึงได้จัดโครงการกระตุ้นและ ส่งเสริมการท่องเที่ยวได้แก่โครงการจัดงานวันสงกรานต์และ วันผู้สูงอายุไทย โครงการจัดงานอนุรักษ์ประเพณีไทยและ งานลอยกระทง และโครงการแข ่งขันเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ “เขาช้างไนท์รัน” โครงการจัดงานวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุไทยจัดขึ้น เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กเยาวชน และประชาชนทั่วไป มีส ่วนร ่วมในกิจกรรมต ่าง ๆ เพื่อส ่งเสริมการอนุรักษ์ ประเพณีและวัฒนธรรมให้คงอยู ่สืบไป ซึ่งแสดงถึงการให้ ความส�ำคัญแก่ผู้สูงอายุและประเพณีวัฒนธรรมของชุมชน โครงการจัดงานอนุรักษ์ประเพณีไทยและงานลอยกระทง จัดขึ้นเพื่อส ่งเสริมและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณี ที่สืบทอดต่อกันมาให้คงอยู่สืบไป ตลอดจนส่งเสริมการท่องเที่ยว และเศรษฐกิจของจ.พังงาซึ่งถือเป็นการบ�ำรุงและรักษาศิลปะ ประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น โครงการแข่งขันเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ “เขาช้างไนท์รัน” จัดขึ้นเพื่อส ่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนในเขต เทศบาลได้ออกก�ำลังกายและมีสุขภาพร ่างกายแข็งแรง ซึ่งถือเป็นการตอกย�้ำถึงประโยชน์ของการออกก�ำลังกาย เพื่อให้ร่างกายแข็งแรงและมีสุขภาพดี ก�ำหนดทิศทาง แนวทาง ในการพัฒนา การท่องเที่ยวในพื้นที่ ให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ ได้อย่างลงตัว


24 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย จังหวัดภูเก็ตเป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทยและเป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยอยู่ในทะเลอันดามัน ค�ำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากค�ำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่า ภูเขา) และค�ำว่า “ภูเขา” ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า “บูเก๊ะ” หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง จ.ภูเก็ต มีพื้นที่ครอบคลุม 3 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.เมืองภูเก็ต อ.กะทู้และ อ.ถลาง ซึ่งมีองค์กรปกครองส ่วนท้องถิ่น รวมทั้งสิ้น 19 องค์กร ได้แก่ องค์การบริหารส ่วนจังหวัด จ�ำนวน 1แห่ง เทศบาลนคร จ�ำนวน 1แห่ง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 2แห่ง เทศบาลต�ำบลจ�ำนวน 6แห่งและองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล จ�ำนวน 9 แห่ง นอกจากนี้จ.ภูเก็ตได้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกสันนิบาตเทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 12 แห่ง ดังนี้ เทศบาลนคร จ�ำนวน 1 แห่ง คือ ทน.ภูเก็ต เทศบาลเมือง จ�ำนวน 2 แห่ง คือ ทม.ป่าตอง และ ทม.กะทู้ เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 9 แห่ง คือ ทต.กะรน ทต.ฉลอง ทต.เชิงทะเล ทต.เทพกระษัตรีทต.ป่าคลอก ทต.รัษฎา ทต.ราไวย์ทต.วิชิต และ ทต.ศรีสุนทร จังหวัด ภเก็ต ู ไข่มุกอันดามัน สวรรค์เมืองใต้ หาดทรายสีทอง สองวีรสตรี บารมีหลวงพ่อแช่ม


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 25 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทหน้าที่ในการ เพิ่มศักยภาพและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ตลอดจนส่งเสริมอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้และกระตุ้นเศรษฐกิจในท้องถิ่นอย่างเป็น พลวัตให้มีความยั่งยืนบนฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยการสร้างจุดขายการท ่องเที่ยวในท้องถิ่นให้สอดคล้อง กับความต้องการของตลาดอันจะก่อให้เกิดการกระจายรายได้ อย่างเป็นธรรมที่ทุกคนสามารถเข้าถึงทรัพยากรหรือแหล่งทุน ได้อย่างมั่นคง มั่งคั่งยั่งยืน และคุ้มค่าตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่ง ทต.ราไวย์ตระหนักในบทบาทหน้าที่ในการเพิ่มศักยภาพ และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมอาชีพและ สร้างรายได้ให้คนในชุมชนอย่างทั่วถึงซึ่งจะน�ำไปสู่การพัฒนา คุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ชุมชนมีศักยภาพ ในการพัฒนาและเข้มแข็งยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นการบริหารจัดการ ทรัพยากรให้เกิดความคุ้มค ่า ทต.ราไวย์จึงได้จัดโครงการ หลาดแลเล เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนน�ำผลิตภัณฑ์ใน ท้องถิ่นมาจ�ำหน่ายและมีส่วนร่วมในการออกแบบรูปแบบ การท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับพื้นที่ถือเป็นการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่สินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะและวัฒนธรรม ของ ต.ราไวย์อีกด้วย ส่งเสริมอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ และกระตุ้นเศรษฐกิจ ในท้องถิ่นอย่างเป็นพลวัต


26 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย จังหวัดกระบี่ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทยเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของภาคใต้มีแหล่งทองเที่ยว หลายแห่ง จ.กระบี่มีพื้นที่ครอบคลุม 8 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.เมืองกระบี่ อ.อ่าวลึก อ.ปลายพระยา อ.คลองท่อม อ.เกาะลันตา อ.ล�ำทับ อ.เหนือคลองและอ.เขาพนม และมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด62องค์กรได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 9 แห่ง และองค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 51 แห่ง นอกจากนี้จ.กระบี่ ได้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกสันนิบาตเทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 15 แห่ง ดังนี้ เทศบาลเมือง จ�ำนวน 1 แห่ง คือ ทม.กระบี่ เทศบาลต�ำบลจ�ำนวน 14แห่งคือ ทต.เกาะลันตาใหญ่ ทต.เขาพนม ทต.คลองพน ทต.คลองท่อมใต้ทต.ทรายขาว ทต.คลองพนพัฒนา ทต.ปลายพระยา ทต.กระบี่น้อย ทต.ล�ำทับ ทต.เหนือคลอง ทต.อ่าวลึก ทต.แหลมสัก ทต.ห้วยน�้ำขาว และ ทต.ศาลาด่าน แหล่งถ่านหิน ถิ่นหอยเก่า เขาตระหง่าน ธารสวย รวยเกาะ เพาะปลูกปาล์ม งามหาดทราย ใต้ทะเลสวยสด มรกตอันดามัน สวรรค์เกาะพีพี จังหวัด กระบ ี่


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 27 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นองค์กรส�ำคัญที่ส่งเสริม การปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งเปิดโอกาสให้ประชาชน มีอ�ำนาจตัดสินใจและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ของท้องถิ่นที่จะน�ำไปสู ่การพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง ซึ่ง ทม.กระบี่ได้จัดโครงการ “เทศบาลพบปะสื่อมวลชน” เพื่อส่งเสริมสัมพันธ์และร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นตาม หลักการของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้ ทม.กระบี่ได้ใช้โอกาสนี้เพื่อชี้แจงข้อสงสัย ตอบค�ำถาม แจ้งข้อมูลข่าวสารและรางวัลที่ได้รับให้ประชาชนทราบ ได้แก่ รางวัลธรรมาภิบาล การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีเทศบาล ขนาดใหญ่ ประเภทโดดเด่น ระดับชมเชย จากส�ำนักงาน คณะกรรมการการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีซึ่งได้รับโล่ ประกาศเกียรติคุณ พร้อมเงินรางวัล 900,000 บาท รางวัล อาเซียนอวอร์ตรางวัลด้านสิ่งแวดล้อม ระดับภูมิภาคอาเซียน และรางวัลอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนอีกด้วย ส่งเสริมสัมพันธ์และร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตามหลักการของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย


28 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย จังหวัดตรัง เป็นจังหวัดท่องเที่ยวที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งของไทยทางฝั่งทะเลอันดามัน มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งป่า เขา น�้ำตก ถ�้ำหรือเกาะแก่งกลางทะเลที่งดงามด้วยภูมิทัศน์หาดทราย ปะการังสวย น�้ำทะเลใส เขากินสูงตระหง่านล้อมรอบ ด้วยหน้าผาสูงชัน งามเกินบรรยาย รอบเมืองจะพบเห็นการผสมผสานอย่างลงตัวของความเป็นตะวันตกและวัฒนธรรม จากจีนอย่างร้านค้า วัดจีน ศาลเจ้า และยังมีบ้านที่สร้างในสไตล์ปัญญาไทยที่งดงาม นอกจาก จ.ตรังจะมีจุดเด่นเรื่องสถานที่ ท่องเที่ยวแล้วยังเป็น “จังหวัดแห่งอาหารอร่อย” ที่โจษขามในหมู่นักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศจ.ตรังมีพื้นที่ ครอบคลุม 10 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.เมืองตรัง อ.นาโยง อ.ย่านตาขาว อ.กันตัง อ.ห้วยยอด อ.สิเกา อ.ปะเหลียน อ.รัษฎา อ.หาดส�ำราญ และ อ.วังวิเศษ และ จ.ตรัง มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด 100 องค์กร ได้แก่ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลนคร จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 13 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบลจ�ำนวน 84แห่ง นอกจากนี้จ.ตรังยังมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกสันนิบาตเทศบาล จังหวัด จ�ำนวน 24 แห่ง ดังนี้ เทศบาลนคร จ�ำนวน 1 แห่ง คือ ทน.ตรัง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 1 แห่ง คือ ทม.กันตัง เทศบาลต�ำบลจ�ำนวน 21แห่งคือ ทต.คลองเต็ง ทต.คลองปาง ทต.ควนกุน ทต.ควนโพธิ์ทต.โคกหล่อ ทต.ท่าข้าม ทต.ท่างิ้ว ทต.ท่าพญา ทต.ทุ่งกระบือ ทต.ทุ่งยาว ทต.นาตาล่วง ทต.นาเมืองเพชร ทต.นาโยงเหนือ ทต.นาวง ทต.ย่านตาขาว ทต.ล�ำภูรา ทต.วังวิเศษ ทต.สิเกา ทต.ห้วยนาง ทต.ห้วยยอด และ ทต.ควนธานี เมืองพระยารัษฎา ชาวประชาใจกว้าง หมูย่างรสเลิศ ถิ่นก�ำเนิดยางพารา เด่นสง่าดอกศรีตรัง ปะการังใต้ทะเล เสน่ห์หาดทรายงาม น�้ำตกสวยตระการตา จังหวัด ตรัง


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 29 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องพิจารณาถึงแนวทาง การพัฒนาในทุกระดับ เพื่อมุ่งไปสู่รูปแบบการพัฒนาตาม แนวคิด “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ การพัฒนาเมืองสิ่งแวดล้อมตามที่กรมส ่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร ่วมกับสันนิบาตเทศบาลแห ่งประเทศไทยและสถาบัน สิ่งแวดล้อมไทยได้วางเป้าหมายการด�ำเนินงาน เพื่อพัฒนาเมือง อย่างมีส่วนร่วมสู่การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีซึ่ง ทต.นาตาล่วงได้ด�ำเนินงาน ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและเข้ารับการประเมินเมือง สิ่งแวดล้อมยั่งยืนระดับประเทศ ประจ�ำปี2563 โดยส่ง ผลงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและตรวจประเมินในระบบ ออนไลน์จากนั้นจึงน�ำเสนอผลงานต่อคณะกรรมการอ�ำนวยการ ประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน เรื่องที่น ่าภาคภูมิใจ คือ ทต.นาตาล่วงได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2เทศบาลน่าอยู่ อย่างยั่งยืน ประเภทเทศบาลต�ำบล จากการประเมินเมือง สิ่งแวดล้อมยั่งยืนระดับประเทศ ทต.นาตาล ่วงจึงเป็น เมืองต้นแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีและยั่งยืนภายใต้ ความร่วมมือของทุกภาคส่วน เพื่อแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม รวมถึงการพัฒนาเมืองอย่างมีส่วนร่วม เมืองต้นแบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ดีและยั่งยืน


30 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย จังหวัดสตูล เป็นจังหวัดที่อยู ่ทางตอนใต้ของประเทศไทย ทางชายฝั ่งทะเลอันดามัน ค�ำว่า สตูล มาจาก ภาษามลายูเกอดะฮ์ว่าสะตุลแปลว่ากระท้อน ซึ่งเป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ชุกชุมในท้องที่นี้“สตูลเมืองแห่งพระสมุทรเทวา” ดังนั้นตราพระสมุทรเทวาจึงกลายเป็นตราหรือสัญลักษณ์ของจังหวัดมาตราบเท่าทุกวันนี้จ.สตูลมีพื้นที่ครอบคลุม 7อ�ำเภอได้แก่ อ.สตูลอ.ควนโดน อ.ควนกาหลงอ.ท่าแพ อ.ละงูอ.ทุ่งหว้าและอ.มะนังและมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด42องค์กร ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 6 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 34 แห่ง นอกจากนี้จ.สตูล ได้มีองค์กรปกครองที่เป็นสมาชิกสันนิบาตเทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 7 แห่ง ดังนี้ เทศบาลเมือง จ�ำนวน 1 แห่ง คือ ทม.สตูล เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 6 แห่ง คือ ทต.ก�ำแพง ทต.คลองขุด ทต.ควนโดน ทต.เจ๊ะบิลัง ทต.ฉลุง และ ทต.ทุ่งหว้า จังหวัด สตล ู สตูล สงบ สะอาด ธรรมชาติบริสุทธิ์


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 31 องค์กรปกครองส ่วนท้องถิ่น เป็นหน ่วยงานส�ำคัญ ในการขับเคลื่อนนโยบายหรือโครงการด้านการจัดการ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในระดับรากฐาน ซึ่ง ทต.ก�ำแพง ได้รับรางวัลพระปกเกล้า ด้านการเสริมสร้าง เครือข่ายรัฐเอกชน ประชาสังคม ในการขับเคลื่อนการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรม และได้ด�ำเนินโครงการที่เกี่ยวกับ การจัดการสิ่งแวดล้อมหลายโครงการ เช่น โครงการบริหาร จัดการศูนย์ก�ำจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจร โครงการ เมืองสวยใสไร้มลพิษ โครงการเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน โครงการประกวดการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ฯลฯ เพื่อ ส ่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน โดยด�ำเนินงานในรูปแบบ “จังหวัดน่าอยู่สู่สังคม สีเขียว” อีกทั้ง ทต.ก�ำแพง ยังเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อศึกษาดู งาน “ต้นแบบสิ่งแวดล้อมยั่งยืน”ใช้เกณฑ์เมืองอยู่ดีคนมีสุข สิ่งแวดล้อมยั่งยืน และการเมืองแห่งการเรียนรู้และการบริหาร การจัดการที่ดีและได้ขยายผลเป็นเมืองแบบอย่างสู่จังหวัดอื่น ๆ ทั่วประเทศ ภารกิจส�ำคัญด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติของ ทต.ก�ำแพง คือการบริหารจัดการ ขยะมูลฝอยแบบครบวงจรและถูกสุขลักษณะตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งค�ำนึงถึงความจ�ำเป็น ความเหมาะสม และความประหยัด และมีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการจัดการขยะในชุมชนควบคู่กัน น�ำไปสู่แนวคิดการจัดการขยะที่ต้นทางกลางทางและปลายทาง ซึ่งการจัดการขยะที่ต้นทางเริ่มต้นจากการจัดการขยะ ในชุมชน ท�ำให้ปริมาณขยะที่ต้องเก็บไปก�ำจัดกลางทางลดลง จากนั้นจึงน�ำขยะที่เหลือไปก�ำจัดยังปลายทางที่ “ศูนย์ก�ำจัด ขยะมูลฝอยแบบครบวงจร” นอกจากนี้ ทต.ก�ำแพง ยังได้ ด�ำเนินการบ�ำบัดน�้ำเสียภายในบ่อฝังกลบขยะ โดยใช้ระบบ บ�ำบัดแบบฝังเพื่อปรับปรุงคุณภาพน�้ำก่อนระบายออกสู่คลอง สาธารณะต่อไป จังหวัดน่าอยู่ สู่สังคมสีเขียว


ดินแดนไมตรี ประเพณีดีงาม สมญานาม นราธิวาส ยะลา ปัตตานี


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 33 จังหวัดปัตตานีมีหลักฐานเอกสารโบราณปรากฏนามเมืองหรือรัฐส�ำคัญแห ่งหนึ่งบนแหลมมลายูซึ่งออกเสียง ตามส�ำเนียงในแต่ละภาษาเช่น หลังยาซูว หลังยาซีเจีย(ภาษาจีน)ลัคาโศกะอิลังคาโศกะ(ภาษาสันสกฤต ภาษาทมิฬ) เล็งกุสะ (ภาษาชวา) ลังคะศุกา (ภาษาอาหรับ) ลังกะสุกะ สังกาสุกะ (ภาษามลายู) โดยนักวิชาการสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นชื่อเมือง เดียวกันที่น่าจะเคยตั้งอยู่ในรัฐเคดาห์ ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย และ จ.ปัตตานีในปัจจุบันมีพื้นที่ครอบคลุม 12 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.เมืองปัตตานีอ.โคกโพธิ์อ.หนองจิก อ.สายบุรีอ.ยะหริ่ง อ.ยะรัง อ.ปะนาเระ อ.มายอ อ.ทุ่งยางแดง อ.กะพ้อ อ.แม่ลาน และ อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานีมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสิ้น 74 องค์กร ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 48 แห่ง และองค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 24 แห่ง นอกจากนี้จ.ปัตตานีได้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกสันนิบาตเทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 17 แห่ง ดังนี้ เทศบาลเมือง จ�ำนวน 1 แห่ง คือ ทม.ปัตตานี เทศบาลต�ำบลจ�ำนวน 16แห่งคือ ทต.โคกโพธิ์ทต.ตอหลัง ทต.ตะลุบัน ทต.ตันหยง ทต.เตราะบอน ทต.นาประดู่ ทต.บ่อทอง ทต.บางปูทต.ปะนาเระ ทต.พ่อมิ่ง ทต.มะกรูด ทต.มายอ ทต.ยะรัง ทต.ยะหริ่ง ทต.รูสะมิแล และ ทต.หนองจิก จังหวัด ปัตตานี เมืองงามสามวัฒนธรรม ศูนย์ฮาลาลเลิศล�้ำ ชนน้อมน�ำศรัทธา ถิ่นธรรมชาติงามตา ปัตตานีสันติสุขแดนใต้


34 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย ศูนย์กลางดิจิทัล ชายแดนใต้ ปัตตานี เมืองพหุวัฒนธรรม น่าอยู่อย่างยั่งยืน การบริหารจัดการองค์กรปกครองส ่วนท้องถิ่นให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลจะต้องน�ำเครื่องมือและนวัตกรรม มาใช้ในการด�ำเนินงาน เพื่อตอบสนองความเปลี่ยนแปลง ให้สอดคล้องกับเป้าประสงค์ของมิติการบริหารจัดการและ แนวคิดการพัฒนาเมืองที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ การพัฒนาเมืองตามแนวคิดเมืองอัจฉริยะหรือความเป็นเมือง ภายใต้อิทธิพลของเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทในการแก้ไข ปัญหาและบริหารจัดการเมืองในยุคใหม่ส่งผลให้การพัฒนาเมือง ตามแนวทางเมืองอัจฉริยะเป็นนโยบายส�ำคัญในทุกมิติในการ สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อมุ่งไปสู่การมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีซึ่ง ทน.ปัตตานีได้บริหารจัดการเมืองผ่านการรับรอง ให้เป็นพื้นที่พัฒนาเมืองอัจฉริยะ ประจ�ำปี2565 จ�ำนวน 15 เมืองทั่วประเทศ ภายใต้แนวคิด “ปัตตานีเมืองอัจฉริยะ Pattani Smart City” โดยมีวิสัยทัศน์“ศูนย์กลางดิจิทัล ชายแดนใต้ปัตตานีเมืองพหุวัฒนธรรมน่าอยู่อย่างยั่งยืน” ทั้งนี้ ทม.ปัตตานีได้เข้าพิธีรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ ประเทศไทย ประจ�ำปี2565 ณ ตึกภักดีบดินทร์ ท�ำเนียบ รัฐบาล กรุงเทพมหานคร โดยมีพลเอก ประยุทธ์จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน นอกจากนี้ ทม.ปัตตานีได้ให้ความส�ำคัญในเรื่อง การจัดการขยะมูลฝอยตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมได้น�ำเสนอและเป็น อปท.ที่มีผลการปฏิบัติงาน ดีเด่นด้านสิ่งแวดล้อมอีกด้วยซึ่ง ทม.ปัตตานีได้ส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของชุมชนเรื่องการคัดแยกขยะที่ประสบความส�ำเร็จ และเป็นเทศบาลน ่าอยู ่อย ่างยั่งยืนจากการประเมินเมือง สิ่งแวดล้อมระดับประเทศและได้เข้ารับมอบเกียรติบัตรองค์กร ปกครองส ่วนท้องถิ่นที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด ่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2565 ด้านสิ่งแวดล้อมในการประชุมคณะกรรมการ จังหวัดประจ�ำเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2565


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 35 ค�ำว่า “ยะลา” มาจากภาษาพื้นเมืองเดิมว ่า “ยะลอ” ซึ่งแปลว ่า “แห” ผู้ว ่าราชการจังหวัดยะลา คนที่ 10 (พ.ศ.2456-2458) ได้วางผังเมืองด้วยการหาจุดศูนย์กลางใจเมือง โดยการปักหลักไว้และเอาก้อนหินวางไว้เป็นเครื่องหมาย เรียกว่า “กิโลศูนย์”และลากเส้นวงกลมเป็นชั้น ๆ มีถนนรองรับเป็นตาข่ายลักษณะใยแมงมุมที่สวยงามที่สุดของประเทศไทย และได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดความสะอาด3 ปีซ้อน (พ.ศ.2528-2530)และในปี2540ได้รับการคัดเลือกจากองค์การ อนามัยโลกยกให้เป็น 1ใน 5เมืองของประเทศไทยในโครงการเมืองน่าอยู่ทั่วโลกจ.ยะลา มีพื้นที่ครอบคลุม 7อ�ำเภอ1กิ่งอ�ำเภอ ได้แก่อ.เมืองยะลาอ.รามัน อ.เบตงอ.ยะหาอ.บันนังสตาอ.ธารโตอ.กาบังและอ.กรงปินังและมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด64องค์กรได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดจ�ำนวน 1แห่ง เทศบาลนครจ�ำนวน 1แห่ง เทศบาลเมืองจ�ำนวน 1แห่ง เทศบาลต�ำบลจ�ำนวน 8แห่งและองค์การบริหารส่วนต�ำบลจ�ำนวน 53แห่ง นอกจากนี้จ.ยะลาได้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เป็นสมาชิกสันนิบาตเทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 16 แห่ง ดังนี้ เทศบาลนคร จ�ำนวน 1 แห่ง คือ ทน.ยะลา เทศบาลเมือง จ�ำนวน 2 แห่ง คือ ทม.เบตง และ ทม.สะเตงนอก เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 13 แห่ง คือ ทต.โกตาบารูทต.เขื่อนบางลาง ทต.ดอกข้าง ทต.ท่าสาป ทต.ธารน�้ำทิพย์ ทต.บันนังสตา ทต.บาลอ ทต.บุดีทต.เมืองรามันห์ทต.ยะหา ทต.ยุโป ทต.ล�ำใหม่และ ทต.ปะแต จังหวัด ยะลา ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน


36 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย องค์กรปกครองส ่วนท้องถิ่น เป็นหน ่วยงานภาครัฐ ที่มีภารกิจส�ำคัญในการบ�ำรุงรักษาศิลปะและวัฒนธรรม จารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น อันดีงาม และเป็นหน่วยงาน ที่มีความส�ำคัญต่อการสร้างสันติสุข ด้วยการด�ำเนินนโยบาย และโครงการที่ส�ำคัญ ซึ่ง ทต.ท่าสาป ได้สร้างสันติสุขและ ความสมานฉันท์ด้วยการด�ำเนินนโยบายให้ประชาชนอยู่ ร่วมกันบนพื้นที่ที่แตกต่างแต่คงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ทางภูมิปัญญา ท้องถิ่นและวัฒนธรรม ซึ่งจะน�ำไปสู่การสร้างความสามัคคี และเกิดสันติสุขอย่างยั่งยืน โครงการและกิจกรรมที่แสดง ให้เห็นการสร้างสันติสุขและสมานฉันท์ ได้แก่ กิจกรรมเปิดพื้นที่ ภาคกลางคืน โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพ เดิน -วิ่งยามเย็น และกิจกรรมเปิดพื้นที่สร้างสรรค์ด้วยสื่อพหุวัฒนธรรม นอกจากนี้ ทต.ท ่าสาปได้ให้ความส�ำคัญด้าน การปลูกฝังจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาการละเล่นพื้นบ้าน ของไทย โดยจัดกิจกรรมส ่งเสริมการละเล ่นพื้นบ้านเพื่อ การเรียนรู้ ท�ำให้เด็กและเยาวชนเกิดการเรียนรู้ควบคู่กับ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน และส ่งเสริมให้รู้จักความรัก ความสามัคคีสร้างสันติสุข และสมานฉันท์ในสังคม อีกทั้ง ทต.ท ่าสาปได้ต ่อยอดแนวทางการอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ โดยจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ประวัติศาสตร์ โครงการและกิจกรรม ที่ ทต.ท่าสาปด�ำเนินการนอกจากจะส่งเสริมให้ประชาชน ได้ท�ำกิจกรรมร่วมกัน ยังท�ำให้สถานการณ์ในพื้นที่กลับเข้าสู่ ภาวะปกติและท�ำให้เกิดกิจกรรมสร้างสันติสุขตามมา อีกมากมาย คงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ทาง ภูมิปัญญาท้องถิ่นและ วัฒนธรรม น�ำไปสู่ การสร้างความสามัคคีและ เกิดสันติสุขอย่างยั่งยืน


สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ 37 จังหวัดนราธิวาสเป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซียซึ่งมีทิวเขาสันกาลาคีรี เป็นแนวกั้นพรมแดนไทย - มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่ อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น�้ำ 4 สาย คือ แม่น�้ำบางนรา แม่น�้ำสายบุรีแม่น�้ำตากใบ และแม่น�้ำโก-ลก จ.นราธิวาส มีพื้นที่ครอบคลุม 13อ�ำเภอได้แก่อ.เมืองนราธิวาสอ.ตากใบ อ.บาเจาะอ.ยี่งออ.ระแงะอ.รือเสาะอ.ศรีสาคร อ.แว้งอ.สุคิริน อ.สุไหงโก-ลกอ.สุไหงปาดีอ.จะแนะและอ.เจาะไอร้องและมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด89องค์กร ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด จ�ำนวน 1 แห่ง เทศบาลเมือง จ�ำนวน 3 แห่ง เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 16 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 72 แห่ง นอกจากนี้จ.นราธิวาส ได้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกสันนิบาต เทศบาลจังหวัด จ�ำนวน 16 แห่ง ดังนี้ เทศบาลเมือง จ�ำนวน 3 แห่ง คือ ทม.นราธิวาส ทม.ตากใบ และ ทม.สุไหงโก-ลก เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 13 แห่ง คือ ทต.กะลุวอเหนือ ทต.ต้นไทร ทต.ตันหยงมัส ทต.บาเจาะ ทต.บูเก๊ะตา ทต.ปะลุรูทต.ปาเสมัส ทต.มะรือโบตก ทต.ยี่งอ ทต.รือเสาะ ทต.แว้ง ทต.ศรีสาคร และ ทต.สุคิริน จังหวัด นราธิวาส ทักษิณราชต�ำหนัก ชนรักศาสนา นราทัศน์เพลินตา ปาโจตรึงใจ แหล่งใหญ่แร่ทอง ลองกองหอมหวาน


38 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีหน้าที่สนับสนุนและ ส ่งเสริมงบประมาณแก ่สถานศึกษาในสังกัดตามนโยบาย ด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านการศึกษาเพื่อยกระดับ การศึกษาและพัฒนาแหล ่งเรียนรู้อย ่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้อปท.สามารถก�ำหนดแนวทางการจัดการศึกษา โดยมุ ่งพัฒนาเยาวชนให้มีคุณภาพและมุ ่งสู ่ความเป็นเลิศ ตามอัจฉริยภาพของแต่ละบุคคล ซึ่ง ทม.นราธิวาสได้เปิด ห้องเรียนอัจฉริยะ ถือเป็นมิติใหม่ด้านการศึกษาของท้องถิ่น โดยการเปิดห้องเรียนพิเศษ (SME) จะน�ำร่องเปิดห้องเรียน พิเศษที่โรงเรียนเทศบาล 1 (ถนนภูผาภักดี) เป็นแห่งแรก จ�ำนวน 1 ห้อง ทั้งนี้เพื่อเป็นไปตามนโยบายส ่งเสริมและ ยกระดับมาตรฐานของโรงเรียนสังกัดเทศบาลให้มีความโดดเด่น ในทุกด้าน เช่น ด้านคณิตศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ด้านภาษา ด้านกีฬา ด้านดนตรีด้านศาสนาและวัฒนธรรม ส�ำหรับห้องเรียนพิเศษนี้ได้จัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรที่กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนด โดยจะมี การเสริมทักษะเพิ่มเติมให้แก่นักเรียนในด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ ซึ่งมีการเรียนการสอนในห้อง ปฏิบัติการและจัดการเรียนภาษาอังกฤษจากเจ้าของภาษา โดยตรง นอกจากนี้ทม.นราธิวาสได้จัดให้มีกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนเพิ่มเติม ได้แก่ การเรียนรู้นอกห้องเรียน เช่น อุทยาน การเรียนรู้นราธิวาส มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ศูนย์วิทยาศาสตร์ จัดกิจกรรมค ่ายภาษาอังกฤษ สัปดาห์ คณิตศาสตร์สัปดาห์วิทยาศาสตร์และกิจกรรมว่ายน�้ำอีกด้วย พัฒนาเยาวชน ให้มีคุณภาพ และมุ่งสู่ความเป็นเลิศ ตามอัจฉริยภาพ ของแต่ละบุคคล


มนต์เสน่ห์ 14 จังหวัดภาคใต้ งดงาม หลากหลายวัฒนธรรม สันนิบาตเทศบาลภาคใต้ สานพลังแห่งความร่วมมือ พร้อมพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว ทั้งด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม วิถีชุมชน และธรรมชาติ ให้ผู้มาเยือนรู้สึกประทับใจและหลงรักปักษ์ใต้ของเรา...


40 14 จังหวัด สานพลังแห่งความร่วมมือ พัฒนาท้องถิ่นไทย


Click to View FlipBook Version