สื่อสร้างสรรหคั์วข้คอวามเป็นไทย
ศิลปะไทย
สารบัญ
ความเป็นมาของศิลปะไทย
ลักษณะของศิลปะไทย
ประเภทของศิลปะไทย
-จิตรกรรมไทย
-ประติมากรรมไทย
-สถาปัตยกรรมไทย
ความเป็นมาของศิลปะไทย
" ศิลปะไทยได้รับอิทธิพลจากต่างชาติมาช้านานและได้พัฒนาสืบเนื่องผสมกับความเชื่อท้องถิ่นจนกลาย
เป็นศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง เมื่อราว พ.ศ. 300 จนถึง พ.ศ. 11 พระพุทธศาสนาถูกนำเข้ามาโดยชาว
อินเดีย แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลที่มีต่อศิลปะไทยในยุคหลังทั้งด้านภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม โดยกระจาย
เป็นกลุ่มศิลปะสมัยต่างๆ เริ่มตั้งแต่สมัย ทวาราวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
เมื่อกลุ่มคนไทยตั้งตัวเป็นปึกแผ่นแล้ว ศิลปะดังกล่าวจึงมีอิทธิพลต่อศิลปะไทย ช่างไทยพยายาม
สร้างสรรค์ให้มีลักษณะพิเศษกว่างานศิลปะของชาติอื่น ๆ มีการประดิษฐ์ลวดลายไทยเป็นเครื่องตกแต่งทำให้
ลักษณะศิลปะไทยมีรูปแบบเฉพาะ และได้สอดแทรกวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและความรู้สึกของคน
ไทยไว้ในงานเหล่านั้น ดังจะเห็นได้จากภาพฝาผนังตามวัดวาอารามต่าง ๆ ปราสาทราชวัง ตลอดจนเครื่องประดับ
และเครื่องใช้ทั่วไป "
ลักษณะของศิลปะไทย
ไม่เน้นความเหมือนจริงในธรรมชาติ โดยศิลปะไทยจะดัดแปลงธรรมชาติไปตามคตินิยม จัดเป็นศิลปะ
แบบ อุดมคติ Idealistic Art หรือศิลปะไทยประเพณี ที่คิดสร้างสรรค์รูปแบบจากปรัชญา เช่น ความเชื่อ
ในเรื่องสวรรค์นรกและกำหนดแบบแผนขึ้นที่เรียกว่าแบบครู เช่น มนุษย์ เทพ เทวดา สัตว์ หรือแม้แต่
ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมก็จะเป็นแบบที่กำหนดขึ้นเอง
ลักษณะของศิลปะไทย
ได้รับแรงบัลดาลใจจากธรรมชาติ แล้วถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่าง ๆ ลวดลายไทยบางอย่างก็ได้จาก
ธรรมชาติ ต้นไม้ หรือสัตว์ เช่น ลายกนก ก็ได้แนวคิดจากใบไม้หรือบางคนก็ว่าได้จากลักษณะของเปลว
ไฟ หรือสัตว์ในวรรณคดีก็มีต้นแบบมาจากสัตว์ที่มีอยู่จริงในธรรมชาติ ผสมกับจินตนาการของวรรณคดี
ในเรื่องต่าง ๆ
ลักษณะของศิลปะไทย
ได้รับอิทธิพลความเชื่อเกี่ยวกับศาสนาและไสยศาสตร์
ความเชื่อเกี่ยวกับศาสนา คนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายหินยานเป็นหลักและผสมผสาน
ความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ สังคมไทยมีวัดเป็นศูนย์กลาง เป็นแหล่งรวมของศิลปะไทยทุกแขนง
ไม่ว่าจะเป็นการวางผังของศาสนสถาน การสร้างพระพุทธรูป การสร้างศิวลึงค์
ความเชื่อเกี่ยวกับไสยศาสตร์ เป็นความเชื่อที่มีมาก่อนที่จะนับถือ พุทธศาสนาเป็นความเชื่อใน
อำนาจที่เหนือธรรมชาติ วิญญาณ ภูตผีต่าง ๆ ที่ให้คุณให้โทษได้จึงต้องมีการประกอบพิธีกรรม
เพื่อเอาชนะสิ่งเหล่านั้น เช่น การสร้างตุ๊กตาเสียกบาล ทวารบาล การสักยันต์ เป็นต้น
ประเภทของศิลปะไทย
ศิลปะไทย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
01 จิตรกรรรม
02 ประติมากรรมไทย
03
สถาปัตยกรรมไทย
ประเภทของศิลปะไทย
จิตรกรรรม ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย
จิตรกรรมไทย
คือ ภาพเขียนที่มีลักษณะเป็นแบบอย่างของไทย ได้รับอิทธิพลศิลปะ
มาจากชาติอื่นถูกนำมาดัดแปลง ตัดทอนหรือเพิ่มเติมจนเป็นเอกลักษณ์
เฉพาะ มีวิวัฒนาการทางด้านรูปแบบและวิธีการมาตลอดจนถึงปัจจุบัน
ความสำคัญ : เป็นวิจิตรศิลป์อย่างหนึ่ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมอันดี
งามของชาติ มีคุณค่าทางศิลปะและเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า มี
เรื่องที่เกี่ยวกับศาสนา ประวัติศาสตร์ วิถึชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม
ต่างๆของแต่ละยุคสมัย
ลักษณะเด่น : เป็นลักษณะอุดมคติ ภาพ 2 มิติ โดยนำสิ่งใกล้ไว้ตอนล่าง
สิ่งไกลไว้ตอนบนของภาพ ใช้สีแบบเอกรงค์
จิตรกรรมไทย 01
จิตรกรรมไทย
คือ ภาพเขียนที่มีลักษณะเป็นแบบอย่างของไทย ได้รับอิทธิพลศิลปะ
ลายไทย มาจากชาติอื่นถูกนำมาดัดแปลง ตัดทอนหรือเพิ่มเติมจนเป็นเอกลักษณ์
เฉพาะ มีวิวัฒนาการทางด้านรูปแบบและวิธีการมาตลอดจนถึงปัจจุบัน
เป็นส่วนประกอบของภาพเขียนไทยใช้ตกแต่งอาคาร สิ่งของ
เครื่องใช้ ต่าง ๆ เครื่องประดับ ฯลฯ เป็นลวคดวลามาสยำคทัี่ญมีช:ื่อเปเ็นรีวยิจิกตรตศ่ิาลงป์อๆย่างหนึ่ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมอันดี
กันซึ่งนำเอารูปร่างจาก ธรรมชาติมาประกอบงามเขช่อนงชาตลิ มาีคยุณกคร่าะทหานงศกิลปะและเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า มี
ลายกระจัง ลายประจำยาม ลายเครือเถเารื่องเทีป่็เกนี่ยตว้กนับศหารสือนาเปป็นระรวูัตปิศาสตร์ วิถึชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม
ที่มาจากความเชื่อและคตินิยม เช่น รูปคน รูตป่างเๆทขอวงดแตา่ละรยูุคปสสัมัตยว์ รูป
ยักษ์ เป็นต้น ลักษณะเด่น : เป็นลักษณะอุดมคติ ภาพ 2 มิติ โดยนำสิ่งใกล้ไว้ตอนล่าง
สิ่งไกลไว้ตอนบนของภาพ ใช้สีแบบเอกรงค์
จิตรกรรมไทย 02
จิตรกรรมไทย 03
" วิวัฒนาการของงานจิตรกรรมไทย "
จิตรกรรมไทยแบบประเพณี (Thai Traditional Painting)
เป็นศิลปะที่มีความประณีตสวยงาม แสดงความรู้สึกชีวิตจิตใจ
และความเป็นไทย ที่มีความอ่อนโยน สร้างสรรค์สืบต่อกันมาตั้งแต่อดีต
จนมีลักษณะและรูปแบบพิเศษ นิยมเขียนบนฝาผนังภายในอาคารที่
เกี่ยวกับพุทธศาสนา และอาคารที่เกี่ยวกับบุคคลชั้นสูง
https://sites.google.com/site/citkrrmthiy/citrkrrm-thiy/citrkrrm-thiy-baeb-prapheni
จิตรกรรมไทยแบบร่วมสมัย (Thai Contemporary Painting)
เป็นผลมาจากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการของโลก
ทำให้ความรู้สึกนึกคิดและแนวทางการแสดงออกของศิลปิน
ในยุคต่อๆมามีการสะท้อนให้เห็นถึงเอกลักษณ์ใหม่ของ
วัฒนธรรมไทยอีกรูปแบบหนึ่ง จิตรกรรมไทย 04
Cr. https://angiegroup.wordpress.com/2016/03/26/จิตรกรรมไทยแบบร่วมสมัย/
ประเภทของศิลปะไทย
จิตรกรรรม ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย
ประติมากรรมไทย
คือ ผลงานศิลปะที่แสดงออกโดยกรรมวิธีการปั้น การแกะสลัก
การหล่อหรือการประกอบเข้าเป็นรูปทรง 3 มิติ ซึ่งมีแบบอย่างเป็นของ
ไทยโดยเฉพาะ วัสดุที่ใช้ในการสร้างมักจะเป็น ดิน ปูน หิน อิฐ โลหะ ไม้
งาช้าง เขาสัตว์ กระดูก ฯลฯ เป็นต้น
รูปแบบ : มีทั้งแบบ นูนต่ำ นูนสูง และลอยตัว
งานประติมากรรมนูนต่ำและนูนสูง มักทำเป็นลวดลายประกอบกับ
สถาปัตยกรรม ลวดลายตกแต่งงานประติมากรรมแบบลอยตัว
งานประติมากรรมแบบลอยตัว มักทำเป็น พระพุทธรูป เทวรูป
รูปเคารพต่างๆ (ปฏิมากรรม) ตุ๊กตา ภาชนะดินเผา ตลอดจนถึง
เครื่องใช้ต่างๆ
ประติมากรรมไทย
01
ประติมากรรมไทย
คือ ผลงานศิลปะที่แสดงออกโดยกรรมวิธีการปั้น การแกะสลัก
ลักษณะของประติมากรรมของไทยในสมัยต่างกๆารหสล่าอมหราือรกถาลรปำรดะักบอไบด้เขด้ัางเป็นีน้รูปทรง 3 มิติ ซึ่งมีแบบอย่างเป็นของ
ไทยโดยเฉพาะ วัสดุที่ใช้ในการสร้างมักจะเป็น ดิน ปูน หิน อิฐ โลหะ ไม้
ศิลปะทวารวดี
งาช้าง เขาสัตว์ กระดูก ฯลฯ เป็นต้น
ศิลปะศรีวิชัย
ศิลปะลพบุรี รูปแบบ : มีทั้งแบบ นูนต่ำ นูนสูง และลอยตัว
ศิลปะล้านนา งานประติมากรรมนูนต่ำและนูนสูง มักทำเป็นลวดลายประกอบกับ
สถาปัตยกรรม ลวดลายตกแต่งงานประติมากรรมแบบลอยตัว
งานประติมากรรมแบบลอยตัว มักทำเป็น พระพุทธรูป เทวรูป
รูปเคารพต่างๆ (ปฏิมากรรม) ตุ๊กตา ภาชนะดินเผา ตลอดจนถึง
เครื่องใช้ต่างๆ
ประติมากรรมไทย
02
ประติมากรรมไทย
03
ประเภทของศิลปะไทย
จิตรกรรรม ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
คือ ศิลปะการก่อสร้างของไทย อันได้แก่ วัด อาคาร บ้านเรือน โบสถ์
วิหาร วัง สถูป และสิ่งก่อสร้างอื่นๆ มีลักษณะแตกต่างกันไปตาม
ภูมิศาสตร์ และคตินิยม มีมานานตั้งแต่ที่คนไทยเริ่มตั้งถิ่นฐาน และได้
พัฒนาและปรับปรุงรูปแบบสถาปัตยกรรมให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ
สภาพภูมิประเทศ
รูปแบบ : สามารถจัดหมวดหมู่ ตามลักษณะการใช้งานได้ 2 ประเภท
สถาปัตยกรรมที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย ได้แก่ บ้านเรือน ตำหนักวัง
และพระราชวัง เป็นต้น บ้านหรือเรือนเป็นที่อยู่อาศัยของสามัญ-
ชนธรรมดาทั่วไปซึ่งมีทั้งเรือนไม้และเรือนปูน เรือนไม้มีอยู่ 2 ชนิด
คือ เรือนเครื่องผูก และ เรือนเครื่องสับ
สถาปัตยกรรมที่เกี่ยวข้องศาสนา ได้แก่ โบสถ์, วิหาร, กุฏิ,
หอไตร, หอระฆังและหอกลอง, สถูป, เจดีย์
สถาปัตยกรรมไทย
01
สถาปัตยกรรมไทย
02
ศิ ลปะไทย อ้างอิง
https://th.wikipedia.org/wiki/ศิลปะไทย
https://th.wikipedia.org/wiki/จิตรกรรมไทย
https://th.wikipedia.org/wiki/ประติมากรรมไทย
https://th.wikipedia.org/wiki/สถาปัตยกรรมไทย
https://classicalnature.wordpress.com/2013/02/14/ศิลปะไทย/
https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-3/evolution_of_thai_art/02.html
ศิ ลปะไทย จัดทำโดย
นางสาวสุจิรา เทียมแสน
ชั้น ม.6/1
เลขที่ 30
วิชา หน้าที่พลเมือง
คุณครูเกศกาญจน์ ปรีชาชาญ
โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย