The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของหน่วยงานสนับสนุนและสำนักงานคลังเขต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pramert.cgd, 2023-08-24 04:19:26

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของหน่วยงานสนับสนุนและสำนักงานคลังเขต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของหน่วยงานสนับสนุนและสำนักงานคลังเขต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

42 4.5) ด้านการให้บริการ - ไม่มีข้อเสนอแนะ แสดงตามภาพที่ ภ ภาพที่ ภ : จำนวนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 - 9 (ภายใน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


43 3. ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของหน่วยงานสนับสนุน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3.1 กองบริหารทรัพยากรบุคคล 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.43 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.60 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับคะแนนต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.40 ประกอบด้วย ผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.43 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 88.60 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.43 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.60 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้านมากที่สุด ไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านการให้บริการ ด้านช่องทาง ติดต่อสื่อสาร และด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.484.444.444.41และ 4.40คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.60 88.80 88.80 88.20 และ 88.00 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 1 และตารางที่ 1 ภาพที่ 1 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


44 ตารางที่ 1 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกองบริหารทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คะแนน ร้อยละ ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.47 89.40 ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของกองบริหารทรัพยากรบคุคล (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.43 88.60 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการภาพรวมของกองบริหารทรัพยากรบคุคล (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.43 88.60 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการ 5 ดา้นของกองบริหารทรัพยากรบคุคล (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.43 88.60 ดา้นเจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.48 89.60 1) เมอื่ท่านเข้ามาตดิตอ่ทกี่องบริหารทรัพยากรบุคคลท่านไดร้ับบริการทรี่วดเร็ว 4.44 88.80 2) เจ้าหน้าทใี่ห้บริการดว้ยความสุภาพและอ านวยความสะดวกไดเ้ป็นอย่างดี 4.51 90.20 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.44 88.80 1) มกีารพฒันาปรับปรุงกระบวนการ รูปแบบ วิธีการท างานอย่างตอ่เนื่อง 4.39 87.80 2) มกีารน าเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการท างานไดอ้ย่างดี 4.47 89.40 3) มกีารปรับปรุงวิธีการและขั้นตอนการให้บริการตามมาตรการเว้นระยะห่างและลดการสัมผัส เช่น การส่งเอกสารผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์(e-office e-mail) เป็นตน้ 4.46 89.20 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.41 88.20 1) เมอื่ท่านตดิตอ่ทางโทรศพัท์ท่านไดร้ับบริการทรี่วดเร็ว 4.43 88.60 2) ระบบ Intranet ของกองบริหารทรัพยากรบุคคลมขี้อมลูทเี่ป็นปัจจุบัน ครบถ้วน จัดวางอย่างเป็นระบบ และสืบคน้ ไดง้า่ย 4.43 88.60 3) มกีารเผยแพร่หรือประชาสัมพนัธ์ทรี่วดเร็ว น่าสนใจ ชัดเจน และทวั่ถึง 4.37 87.40 4) มกีารสื่อสารในงานดา้นทรัพยากรบุคคลอย่างตอ่เนื่อง 4.42 88.40 ดา้นสถานทแี่ละเครื่องมือในการให้บริการ 4.40 88.00 1) มสีิ่งอ านวยความสะดวกเพยีงพอตอ่การให้บริการ เช่น มทีนี่ั่งคอยรับบริการ เป็นตน้ 4.44 88.80 2) สถานทใี่ห้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.43 88.60 3) มกีารปรับปรุงสถานทใี่ห้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่ตามมาตรการเว้นระยะห่าง เช่น การก าหนดสัญลักษณ์ เพอื่เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 เมตร เป็นตน้ 4.38 87.60 4) มอีุปกรณว์ ัดอุณหภูมแิละแอลกอฮอล์ล้างมอืให้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่อย่างเพยีงพอ 4.34 86.80 ดา้นการให้บริการ 4.44 88.80 1) การให้ข้อมลู /ตอบค าถาม/ค าแนะน าไดช้ัดเจน ครบถ้วน ตรงตามความตอ้งการ 4.42 88.40 2) ในภาพรวมกองบริหารทรัพยากรบุคคลมกีารพฒันาปรับปรุงการท างานไดด้ขีึ้น 4.45 89.00 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


45 จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกองบริหารทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถสรุปผลการสำรวจ ดังนี้ • ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดับแรก 1) เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความสุภาพและอำนวยความสะดวกได้เป็นอย่างดีคะแนนเฉลี่ย 4.51 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.20 2) มีการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการทำงานได้อย่างดีคะแนนเฉลี่ย 4.47 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 89.40 3) มีการปรับปรุงวิธีการและขั้นตอนการให้บริการตามมาตรการเว้นระยะห่างและลดการสัมผัส เช่น การส่งเอกสารผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-office e-mail) เป็นต้น คะแนนเฉลี่ย 4.46 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 89.20 • ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อันดับแรก 1) มีอุปกรณ์วัดอุณหภูมิและแอลกอฮอล์ล้างมือให้บริการแก่ผู้มาติดต่ออย่างเพียงพอ คะแนนเฉลี่ย 4.34 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86.80 2) มีการเผยแพร่หรือประชาสัมพันธ์ที่รวดเร็ว น่าสนใจ ชัดเจน และทั่วถึง คะแนนเฉลี่ย 4.37 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.40 3) มีการปรับปรุงสถานที่ให้บริการแก่ผู้มาติดต่อตามมาตรการเว้นระยะห่าง เช่น การกำหนดสัญลักษณ์ เพื่อเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 เมตร เป็นต้น คะแนนเฉลี่ย 4.38 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.80 2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกองบริหารทรัพยากรบุคคล ย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566) พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 4.37 2.71 5.04 0.23 และ 0.91 ตามลำดับ โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน และด้านการให้บริการ และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของ กองบริหารทรัพยากรบุคคล มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้น แสดงตามภาพที่ 2


46 ภาพที่ 2 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของกองบริหารทรัพยากรบุคคล ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566 3) ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของกองบริหารทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 299 คน มีข้อเสนอแนะ จำนวน 29 คน โดยสามารถสรุป ตามประเด็นการสำรวจได้ดังนี้ 3.1) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.79) - เจ้าหน้าที่ควรตอบคำถามให้ชัดเจน และอธิบายให้เข้าใจง่าย - เจ้าหน้าควรปรับปรุงการบริการให้มีความรวดเร็วขึ้น 3.2) ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน (จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20.69) - การเลื่อนระดับชั้น การโอนย้ายข้าราชการ ควรกำหนดช่วงเวลา ขั้นตอนการปฏิบัติ และอัตรากำลังที่ว่างอยู่ในทุกส่วนงานของกรมบัญชีกลางให้ชัดเจน 3.3) ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร (จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 37.93) - ควรเพิ่ม e-mail Line หรือ Facebook ในการติดต่อสอบถาม 3.4) ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ (จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20.69) - ควรจัดสรรพื้นที่ให้บริการให้เพียงพอต่อจำนวนผู้รับบริการ -ควรนำเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมสมัยใหม่มาปรับใช้ในการให้บริการ เพื่อให้ทันกับสถานการณ์ ในปัจจุบัน 3.5) ด้านการให้บริการ (จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.90) - ควรปรับปรุงระยะเวลาการบริการให้เกิดความเหมาะสม และความรวดเร็ว แสดงตามภาพที่ 3


47 ภาพที่ 3: จำนวนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของกองบริหารทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


48 3.2 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.50 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.00 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับคะแนนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.40 ประกอบด้วย ผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.49 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 89.80 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.50 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.00 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้านมากที่สุด ไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ และด้านการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.53 4.51 4.51 4.47 และ 4.46 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.60 90.20 90.20 89.40 และ 89.20 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 4 และตารางที่ 2 ภาพที่ 4 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


49 ตารางที่ 2 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คะแนน ร้อยละ ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.47 89.40 ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.50 90.00 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการภาพรวมของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.49 89.80 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการ 5 ดา้นของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.50 90.00 ดา้นเจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.53 90.60 1) มคีวามรู้/ความเชี่ยวชาญในงานทรี่ับผิดชอบ 4.51 90.20 2) ให้บริการดว้ยความรวดเร็วและตรงตามความตอ้งการ 4.52 90.40 3) ใช้ค าพดูและกิริยาทสีุ่ภาพ 4.55 91.00 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.51 90.20 1) ไดร้ับความสะดวกในการให้บริการ 4.53 90.60 2) ระยะเวลาในการให้บริการมคีวามเหมาะสม 4.53 90.60 3) มกีารปรับปรุงวิธีการและขั้นตอนการให้บริการตามมาตรการเว้นระยะห่างและลดการสัมผัส เช่น การให้ผู้มาตดิตอ่ยื่นเอกสารโดยการวางในจุดทกี่ าหนด 4.47 89.40 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.51 90.20 1) เจ้าหน้าทรี่ับโทรศพัท์รวดเร็ว และให้บริการจบในสายเดยีว 4.50 90.00 2) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิตอ่กลับอย่างรวดเร็ว 4.49 89.80 3) การเผยแพร่ข้อมลูข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ง รวดเร็ว และมขี้อมลูทเี่ป็นปัจจุบัน 4.55 91.00 ดา้นสถานทแี่ละเครื่องมือในการให้บริการ 4.47 89.40 1) มสีิ่งอ านวยความสะดวกเพยีงพอตอ่การให้บริการ เช่น มทีนี่ั่งคอยรับบริการ มปี้ายชื่อกลุ่มงานอย่างชัดเจน ท าให้สะดวกในการตดิตอ่ขอรับบริการ เป็นตน้ 4.44 88.80 2) สถานทใี่ห้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.51 90.20 3) มกีารปรับปรุงสถานทใี่ห้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่ตามมาตรการเว้นระยะห่าง 4.47 89.40 4) มอีุปกรณว์ ัดอุณหภูมแิละแอลกอฮอล์ล้างมอืให้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่ 4.46 89.20 ดา้นการให้บริการ 4.46 89.20 1) การตอบข้อหารือ/การให้ค าปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจนมมีาตรฐาน เข้าใจงา่ย และเชื่อมนั่ทจี่ะน าไปปฏิบัตงิาน 4.52 90.40 2) การจัดท าแผนปฏิบัตริาชการของกรมมคีวามชัดเจนและเข้าใจงา่ย 4.51 90.20 3) การด าเนินการจัดท าค าของบประมาณรวดเร็วและถูกตอ้ง 4.47 89.40 4) การจัดท าเกณฑ์การประเมนิผลการด าเนินงาน ระดบัหน่วยงานมคีวามชัดเจน 4.52 90.40 5) การจัดท ารายงานผลการด าเนินงานตามเกณฑ์ฯ มคีวามชัดเจน และเป็นประโยชน์ตอ่การปฏิบัตงิาน 4.51 90.20 6) การส ารวจความพงึพอใจเป็นประโยชน์ตอ่การปรับปรุงหน่วยงาน 4.48 89.60 7) สถิตกิารคลังมขี้อมลูการเงนิการคลังของแผ่นดนิสามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้ 4.19 83.80 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


50 จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถสรุปผลการสำรวจ ดังนี้ • ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดับแรก 1) ใช้คำพูดและกิริยาที่สุภาพ และการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารครบถ้วน ถูกต้อง รวดเร็ว และมีข้อมูล ที่เป็นปัจจุบัน คะแนนเฉลี่ย 4.55 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.00 2) ได้รับความสะดวกในการให้บริการ และระยะเวลาในการให้บริการมีความเหมาะสม คะแนนเฉลี่ย 4.53 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.60 3) ให้บริการด้วยความรวดเร็วและตรงตามความต้องการ การตอบข้อหารือ/การให้คำปรึกษา/ ข้อเสนอแนะชัดเจนมีมาตรฐาน เข้าใจง่าย และเชื่อมั่นที่จะนำไปปฏิบัติงาน และการจัดทำเกณฑ์การประเมินผล การดำเนินงาน ระดับหน่วยงานมีความชัดเจน คะแนนเฉลี่ย 4.52 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.40 • ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อันดับแรก 1) สถิติการคลังมีข้อมูลการเงินการคลังของแผ่นดิน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ คะแนนเฉลี่ย 4.19 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86.80 2) มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอต่อการให้บริการ เช่น มีที่นั่งคอยรับบริการ มีป้ายชื่อกลุ่มงาน อย่างชัดเจน ทำให้สะดวกในการติดต่อขอรับบริการ เป็นต้น คะแนนเฉลี่ย 4.44 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.80 3) มีอุปกรณ์วัดอุณหภูมิและแอลกอฮอล์ล้างมือให้บริการแก่ผู้มาติดต่อ คะแนนเฉลี่ย 4.46 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.20 2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน ย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566) พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 1.79 3.76 4.11 1.62 และ 2.74 ตามลำดับ โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้น แสดงตามภาพที่ 5 ภาพที่ 5 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566


51 3) ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 198 คน มีข้อเสนอแนะ จำนวน 4 คน โดยสามารถสรุป ตามประเด็นการสำรวจได้ดังนี้ 3.1) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00) - เจ้าหน้าที่ควรตอบคำถามให้ชัดเจน 3.2) ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน (จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00) - ควรกำหนดรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานแต่ละงานให้ชัดเจน 3.3) ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร (จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00) - ควรเพิ่มช่องทางการสอบถามให้มากขึ้น 3.4) ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ - ไม่มีข้อเสนอแนะ 3.5) ด้านการให้บริการ (จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00) - ควรเพิ่มการชี้แจงการกำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัดของหน่วยงานทางสื่อออนไลน์ แสดงตามภาพที่ 6 ภาพที่ 6: จำนวนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


52 3.3 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.53 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.60 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับคะแนนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.40 ประกอบด้วย ผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.52 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 90.40 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.53 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.60 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้านมากที่สุด ไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านการให้บริการ และด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.54 4.54 4.53 4.53 และ 4.49 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.80 90.80 90.60 90.60 และ 89.80 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 7 และตารางที่ 3 ภาพที่ 7 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


53 ตารางที่ 3 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกลุ่มพัฒนาระบบบริหารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คะแนน ร้อยละ ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.47 89.40 ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของกลมุ่พัฒนาระบบบริหาร (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.53 90.60 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการภาพรวมของกลมุ่พัฒนาระบบบริหาร (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.52 90.40 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการ 5 ดา้นของกลมุ่พัฒนาระบบบริหาร (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.53 90.60 ดา้นเจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.54 90.80 1) เจ้าหน้าทมี่คีวามรู้/ความเชี่ยวชาญในงานทรี่ับผิดชอบ 4.51 90.20 2) เจ้าหน้าทใี่ห้บริการดว้ยความรวดเร็วและตรงความตอ้งการ 4.55 91.00 3) เจ้าหน้าทใี่ช้ค าพดูและกิริยาทสีุ่ภาพ 4.56 91.20 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.54 90.80 1) ไดร้ับความสะดวกในการให้บริการ 4.55 91.00 2) ระยะเวลาในการให้บริการมคีวามเหมาะสม 4.56 91.20 3) มกีารปรับปรุงวิธีการและขั้นตอนการให้บริการตามมาตรการเว้นระยะห่างและลดการสัมผัส เช่น การให้ผู้มาตดิตอ่ยื่นเอกสารโดยการวางในภาชนะทกี่ าหนด 4.52 90.40 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.53 90.60 1) เจ้าหน้าทรี่ับโทรศพัท์รวดเร็วและให้บริการจบในสายเดยีว 4.52 90.40 2) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิตอ่กลับอย่างรวดเร็ว 4.53 90.60 3) Intranet ของกลุ่มพฒันาระบบบริหาร ข้อมลูเป็นปัจจุบัน 4.53 90.60 4) การเผยแพร่ข้อมลูข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ง รวดเร็ว และทันตอ่เหตกุารณ์ 4.52 90.40 ดา้นสถานทแี่ละเครื่องมือในการให้บริการ 4.49 89.80 1) มสีิ่งอ านวยความสะดวกเพยีงพอตอ่การให้บริการ เช่น มทีนี่ั่งคอยรับบริการ เป็นตน้ 4.44 88.80 2) สถานทใี่ห้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.52 90.40 3) มกีารปรับปรุงสถานทใี่ห้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่ตามมาตรการเว้นระยะห่าง 4.50 90.00 4) มอีุปกรณว์ ัดอุณหภูมแิละแอลกอฮอล์ล้างมอืให้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่อย่างเพยีงพอ 4.49 89.80 ดา้นการให้บริการ 4.53 90.60 1) การตอบข้อหารือ/การให้ค าปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจนมมีาตรฐาน เข้าใจงา่ย และเชื่อมนั่ทจี่ะน าไปปฏิบัตงิาน 4.53 90.60 2) มกีารจัดประชุม/อบรมให้ความรู้ทวั่ถึงและเพยีงพอตอ่ความตอ้งการ 4.51 90.20 3) การจัดท าแผนบริหารความเสี่ยงครอบคลุม 4.48 89.60 4) การด าเนินการพฒันาคณุภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ช่วยเพมิ่ประสิทธิภาพในการท างาน 4.53 90.60 5) การจัดท าการประเมนิผลการควบคมุภายในช่วยให้ความเชื่อมนั่อย่างสมเหตสุมผลเกี่ยวกับ การบรรลุวัตถุประสงค์ 4.52 90.40 6) การจัดประกวดรางวัลนวัตกรรมของกรมบัญชีกลางเปิดโอกาสให้บุคลากรของกรมบัญชีกลางมสี่วนร่วม 4.58 91.60 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


54 จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถสรุปผลการสำรวจ ดังนี้ • ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดับแรก 1) การจัดประกวดรางวัลนวัตกรรมของกรมบัญชีกลางเปิดโอกาสให้บุคลากรของกรมบัญชีกลาง มีส่วนร่วม คะแนนเฉลี่ย 4.58 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.60 2) เจ้าหน้าที่ใช้คำพูดและกิริยาที่สุภาพ และระยะเวลาในการให้บริการมีความเหมาะสม คะแนนเฉลี่ย 4.56 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.20 3) เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความรวดเร็วและตรงความต้องการ และได้รับความสะดวก ในการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.55 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.00 • ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อันดับแรก 1) มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอต่อการให้บริการ เช่น มีที่นั่งคอยรับบริการ เป็นต้น คะแนนเฉลี่ย 4.44 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.80 2) การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงครอบคลุม คะแนนเฉลี่ย 4.48 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.60 3) มีอุปกรณ์วัดอุณหภูมิและแอลกอฮอล์ล้างมือให้บริการแก่ผู้มาติดต่ออย่างเพียงพอ คะแนนเฉลี่ย 4.49 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.80 2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกลุ่มพัฒนาระบบบริหารย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566) พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 2.53 2.46 3.37 1.40 และ 3.90 ตามลำดับ โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และด้านขั้นตอน ปฏิบัติงาน และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ที่เพิ่มขึ้น แสดงตามภาพที่ 8 ภาพที่ 8 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566


55 3) ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 144 คน มีข้อเสนอแนะ จำนวน 3 คน โดยสามารถสรุป ตามประเด็นการสำรวจได้ดังนี้ 3.1) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00) - เจ้าหน้าที่ควรให้ความใส่ใจในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ 3.2) ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน (จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00) - ควรลดขั้นตอนการปฏิบัติงานให้กระชับและครอบคลุมขึ้น 3.3) ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร (จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00) - ควรเพิ่มช่องทางการติดต่อสอบถามให้มากขึ้น 3.4) ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ - ไม่มีข้อเสนอแนะ 3.5) ด้านการให้บริการ - ไม่มีข้อเสนอแนะ แสดงตามภาพที่ 9 ภาพที่ 9 : จำนวนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


56 3.4 กลุ่มตรวจสอบภายใน 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของกลุ่มตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.53คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.60 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับคะแนนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยภาพรวม ของหน่วยงานสนับสนุน ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.40 ประกอบด้วย ผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.52 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 90.40 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.53 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.60 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้านมากที่สุด ไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านการให้บริการ และด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.55 4.55 4.54 4.51 และ 4.49 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.00 91.00 90.80 90.20 และ 89.80 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 10 และตารางที่ 4 ภาพที่ 10 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของกลุ่มตรวจสอบภายใน จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


57 ตารางที่ 4 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกลุ่มตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คะแนน ร้อยละ ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.47 89.40 ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของกลมุ่ตรวจสอบภายใน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.53 90.60 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการภาพรวมของกลมุ่ตรวจสอบภายใน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.52 90.40 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการ 5 ดา้นของกลมุ่ตรวจสอบภายใน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.53 90.60 ดา้นเจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.55 91.00 1) ผู้ตรวจสอบภายในมคีวามรู้/ทักษะ/ความเชี่ยวชาญในงานตรวจสอบ 4.54 90.80 2) ผู้ตรวจสอบภายในมคีวามรู้/ความเชี่ยวชาญในเรื่องทใี่ห้ค าปรึกษา/ตอบข้อหารือ 4.54 90.80 3) ผู้ตรวจสอบภายในใช้กิริยาและวาจาทสีุ่ภาพในการให้บริการ 4.56 91.20 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.54 90.80 1) ก่อนการตรวจสอบผู้ตรวจสอบภายในมกีารชี้แจงวัตถุประสงค์ขอบเขต ระยะเวลาการปฏิบัตงิาน กระบวนการตรวจสอบและบทบาทหน้าทใี่นการตรวจสอบให้เข้าใจอย่างชัดเจน 4.51 90.20 2) การปฏิบัตงิานตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบครอบคลุมกิจกรรมทมี่ปีระเดน็ความส าคญั และสอดคล้องกับความเสี่ยงของหน่วยรับตรวจ 4.56 91.20 3) ข้อผิดพลาดทหี่น่วยรับตรวจไมส่ามารถแก้ไขได้ผู้ตรวจสอบไดป้ระสานกับหน่วยงานทเี่กี่ยวข้อง เพอื่หาข้อยุติและวิธีการแก้ไข 4.54 90.80 4) รายงานผลการตรวจสอบมคีวามถูกตอ้งตามข้อเท็จจริง ใช้ภาษาทเี่ข้าใจงา่ย กระชับ ชัดเจน และเป็นเหตเุป็นผล 4.56 91.20 5) ผู้ตรวจสอบภายในมกีระบวนการตดิตามผลการด าเนินงานตามข้อเสนอแนะอย่างเหมาะสม 4.56 91.20 6) ระยะเวลาในการให้บริการมคีวามเหมาะสม 4.53 90.60 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.55 91.00 1) ช่องทางในการรับบริการสามารถตดิตอ่ ไดง้า่ย 4.54 90.80 2) มกีารปรับปรุงวิธีการตรวจสอบให้เหมาะสมกับสถานการณก์ารแพร่ระบาด ของโรคตดิเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 1 9) 4.55 91.00 ดา้นสถานทแี่ละเครื่องมือในการให้บริการ 4.49 89.80 1) มสีิ่งอ านวยความสะดวกเพยีงพอตอ่การให้บริการ เช่น มทีนี่ั่งคอยรับบริการ เป็นตน้ 4.43 88.60 2) สถานทใี่ห้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.55 91.00 ดา้นการให้บริการ 4.51 90.20 1) การตอบข้อหารือ/การให้ค าปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจนเข้าใจงา่ยและเชื่อมนั่ทจี่ะน าไปปฏิบัตงิาน 4.51 90.20 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


58 คะแนน ร้อยละ ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.47 89.40 ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของกลมุ่ตรวจสอบภายใน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.53 90.60 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการภาพรวมของกลมุ่ตรวจสอบภายใน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.52 90.40 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการ 5 ดา้นของกลมุ่ตรวจสอบภายใน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.54 90.80 งานให้ความเชื่อมั่น (งานตรวจสอบ) 4.54 90.80 ดา้นเจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.54 90.80 1) ผู้ตรวจสอบภายในมคีวามรู้/ทักษะ/ความเชี่ยวชาญในงานตรวจสอบ 4.54 90.80 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.55 91.00 1) ก่อนการตรวจสอบผู้ตรวจสอบภายในมกีารชี้แจงวัตถุประสงค์ขอบเขต ระยะเวลาการปฏิบัตงิาน กระบวนการตรวจสอบและบทบาทหน้าทใี่นการตรวจสอบให้เข้าใจอย่างชัดเจน 4.51 90.20 2) การปฏิบัตงิานตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบครอบคลุมกิจกรรมทมี่ปีระเดน็ความส าคญั และสอดคล้องกับความเสี่ยงของหน่วยรับตรวจ 4.56 91.20 3) ข้อผิดพลาดทหี่น่วยรับตรวจไมส่ามารถแก้ไขได้ผู้ตรวจสอบไดป้ระสานกับหน่วยงานทเี่กี่ยวข้อง เพอื่หาข้อยุติและวิธีการแก้ไข 4.54 90.80 4) รายงานผลการตรวจสอบมคีวามถูกตอ้งตามข้อเท็จจริง ใช้ภาษาทเี่ข้าใจงา่ย กระชับ ชัดเจน และเป็นเหตเุป็นผล 4.56 91.20 5) ผู้ตรวจสอบภายในมกีระบวนการตดิตามผลการด าเนินงานตามข้อเสนอแนะอย่างเหมาะสม 4.56 91.20 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.53 90.60 1) ช่องทางในการรับบริการสามารถตดิตอ่ ไดง้า่ย 4.51 90.20 2) มกีารปรับปรุงวิธีการตรวจสอบให้เหมาะสมกับสถานการณก์ารแพร่ระบาด ของโรคตดิเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 1 9) 4.55 91.00 งานให้คา ปรึกษา 4.53 90.60 ดา้นเจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.55 91.00 1) ผู้ตรวจสอบภายในมคีวามรู้/ความเชี่ยวชาญในเรื่องทใี่ห้ค าปรึกษา/ตอบข้อหารือ 4.54 90.80 2) ผู้ตรวจสอบภายในใช้กิริยาและวาจาทสีุ่ภาพในการให้บริการ 4.56 91.20 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.53 90.60 1) ระยะเวลาในการให้บริการมคีวามเหมาะสม 4.53 90.60 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.56 91.20 1) ช่องทางในการรับบริการสามารถตดิตอ่ ไดง้า่ย 4.56 91.20 2) มกีารปรับปรุงวิธีการตรวจสอบให้เหมาะสมกับสถานการณก์ารแพร่ระบาด ของโรคตดิเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 1 9) 4.55 91.00 ดา้นสถานทแี่ละเครื่องมือในการให้บริการ 4.49 89.80 1) มสีิ่งอ านวยความสะดวกเพยีงพอตอ่การให้บริการ เช่น มทีนี่ั่งคอยรับบริการ เป็นตน้ 4.43 88.60 2) สถานทใี่ห้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.55 91.00 ดา้นการให้บริการ 4.51 90.20 1) การตอบข้อหารือ/การให้ค าปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจนเข้าใจงา่ยและเชื่อมนั่ทจี่ะน าไปปฏิบัตงิาน 4.51 90.20 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


59 จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกลุ่มตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถสรุปผลการสำรวจ ดังนี้ • ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดับแรก 1) ผู้ตรวจสอบภายในใช้กิริยา วาจาที่สุภาพในการให้บริการ การปฏิบัติงานตรวจสอบและรายงานผล การตรวจสอบครอบคลุมกิจกรรมที่มีประเด็นความสำคัญและสอดคล้องกับความเสี่ยงของหน่วยรับตรวจ รายงานผลการตรวจสอบมีความถูกต้องตามข้อเท็จจริง ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ ชัดเจนและเป็นเหตุเป็นผล และผู้ตรวจสอบภายในมีกระบวนการติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะอย่างเหมาะสม คะแนนเฉลี่ย 4.56 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.20 2) มีการปรับปรุงวิธีการตรวจสอบให้เหมาะสมกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID - 19) และสถานที่ให้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย คะแนนเฉลี่ย 4.55 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.00 3) ผู้ตรวจสอบภายในมีความรู้/ทักษะ/ความเชี่ยวชาญในงานตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายในมีความรู้/ ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่ให้คำปรึกษา/ตอบข้อหารือ ข้อผิดพลาดที่หน่วยรับตรวจไม่สามารถแก้ไขได้ ผู้ตรวจสอบ ได้ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหาข้อยุติและวิธีการแก้ไข และช่องทางในการรับบริการสามารถติดต่อได้ง่าย คะแนนเฉลี่ย 4.54 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.80 • ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อันดับแรก 1) มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอต่อการให้บริการ เช่น มีที่นั่งคอยรับบริการ เป็นต้น คะแนนเฉลี่ย 4.43 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.60 2) ก่อนการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายในมีการชี้แจงวัตถุประสงค์ ขอบเขต ระยะเวลา การปฏิบัติงาน กระบวนการตรวจสอบและบทบาทหน้าที่ในการตรวจสอบให้เข้าใจอย่างชัดเจน และการตอบ ข้อหารือ/การให้คำปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจนเข้าใจง่ายและเชื่อมั่นที่จะนำไปปฏิบัติงาน คะแนนเฉลี่ย 4.51 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.20 3) ระยะเวลาในการให้บริการมีความเหมาะสม คะแนนเฉลี่ย 4.53 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.60 2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกลุ่มตรวจสอบภายใน ย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566) พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 2.28 3.22 3.12 2.56 และ 2.72 ตามลำดับ โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านขั้นตอน การปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร และด้านการให้บริการ และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ของกลุ่มตรวจสอบภายใน มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้น แสดงตามภาพที่ 11


60 ภาพที่ 11 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของกลุ่มตรวจสอบภายใน ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566 3) ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของกลุ่มตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 141 คน มีข้อเสนอแนะ จำนวน 3 คน โดยสามารถสรุป ตามประเด็นการสำรวจได้ดังนี้ 3.1) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33) - เจ้าหน้าที่ควรตอบคำถามให้ชัดเจน และอธิบายให้เข้าใจง่าย 3.2) ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน - ไม่มีข้อเสนอแนะ 3.3) ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร - ไม่มีข้อเสนอแนะ 3.4) ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ - ไม่มีข้อเสนอแนะ 3.5) ด้านการให้บริการ (จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67) - ควรมีคู่มือขั้นตอนการปฏิบัติสำหรับการตรวจสอบภายในของหน่วยงานให้ชัดเจน - การให้บริการแต่ละครั้งใช้ระยะเวลานาน ควรปรับปรุงให้เกิดความรวดเร็วขึ้น แสดงตามภาพที่ 12


61 ภาพที่ 12 : จำนวนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของกลุ่มตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


62 3.5 กองการเงินการคลังภาครัฐ (กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหารเศรษฐกิจการคลังจังหวัด (CFO) และกลุ่มงานด้านนโยบายการคลังและเศรษฐกิจการคลังจังหวัด) 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของกองการเงินการคลังภาครัฐ (กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหารเศรษฐกิจการคลังจังหวัด (CFO) และกลุ่มงานด้านนโยบายการคลังและเศรษฐกิจการคลังจังหวัด) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.58 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.60 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับ คะแนนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.40 ประกอบด้วยผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.59 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 91.80 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.56 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.20 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้านมากที่สุด ไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านการให้บริการ และด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.61 4.59 4.57 4.53 และ 4.48 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.20 91.80 91.40 90.60 และ 89.60 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 13 และตารางที่ 5 ภาพที่ 13 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของกองการเงินการคลังภาครัฐ (กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหารเศรษฐกิจการคลังจังหวัด (CFO) และกลุ่มงานด้านนโยบายการคลังและเศรษฐกิจการคลังจังหวัด) จำแนกตามประเด็น การสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


63 ตารางที่ 5 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกองการเงินการคลังภาครัฐ (กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหารเศรษฐกิจ การคลังจังหวัด (CFO) และกลุ่มงานด้านนโยบายการคลังและเศรษฐกิจการคลังจังหวัด) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คะแนน ร้อยละ ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.47 89.40 ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของกองการเงินการคลงัภาครัฐ (กลมุ่งานพัฒนาระบบบริหารเศรษฐกจิการคลงัจงัหวัด (CFO) และกลมุ่งานดา้นนโยบายการคลงัและเศรษฐกจิการคลงัจงัหวัด) (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.58 91.60 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการภาพรวมของกองการเงินการคลงัภาครัฐ (กลมุ่งานพัฒนาระบบบริหารเศรษฐกจิการคลงัจงัหวัด (CFO) และกลมุ่งานดา้นนโยบายการคลงัและเศรษฐกจิการคลงัจงัหวัด)(คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.59 91.80 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการ 5 ดา้นของกองการเงินการคลงัภาครัฐ (กลมุ่งานพัฒนาระบบบริหารเศรษฐกจิการคลงัจงัหวัด (CFO) และกลมุ่งานดา้นนโยบายการคลงัและเศรษฐกจิการคลงัจงัหวัด)(คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.56 91.20 ดา้นเจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.59 91.80 1) เจ้าหน้าทมี่คีวามรู้/ความเชี่ยวชาญในงานทรี่ับผิดชอบ 4.58 91.60 2) เจ้าหน้าทใี่ห้บริการดว้ยความรวดเร็วและตรงความตอ้งการ 4.59 91.80 3) เจ้าหน้าทใี่ช้ค าพดูและกิริยาทสีุ่ภาพ 4.58 91.60 4) เจ้าหน้าทปี่ฏิบัตงิานดว้ยความเตม็ ใจ ไมเ่ลือกปฏิบัติ 4.62 92.40 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.61 92.20 1) ไดร้ับความสะดวกในการให้บริการ 4.62 92.40 2) ระยะเวลาในการให้บริการมคีวามเหมาะสม 4.63 92.60 3) มกีารปรับปรุงวิธีการและขั้นตอนการให้บริการตามมาตรการเว้นระยะห่างและลดการสัมผัส เช่น การให้ผู้มาตดิตอ่ยื่นเอกสารโดยการวางในจุดทกี่ าหนด 4.59 91.80 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.57 91.40 1) เจ้าหน้าทรี่ับโทรศพัท์รวดเร็วและให้บริการจบในสายเดยีว 4.59 91.80 2) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิตอ่กลับอย่างรวดเร็ว 4.59 91.80 3) การรับ - ส่งหนังสือราชการ/หนังสือเวียนรวดเร็ว 4.56 91.20 4) มชี่องทางในการให้บริการทหี่ลากหลาย เช่น Facebook Line เป็นตน้ 4.56 91.20 5) การตดิตอ่ ประสานงานทางกลุ่มไลน์มคีวามสะดวก 4.58 91.60 6) มกีาร Update ข้อมลูข่าวสารทาง Intranet เป็นปัจจุบัน 4.55 91.00 ดา้นสถานทแี่ละเครื่องมือในการให้บริการ 4.48 89.60 1) มสีิ่งอ านวยความสะดวกเพยีงพอตอ่การให้บริการ เช่น มทีนี่ั่งคอยรับบริการ เป็นตน้ 4.43 88.60 2) สถานทใี่ห้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.53 90.60 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


64 จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกองการเงินการคลังภาครัฐ (กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหารเศรษฐกิจการคลังจังหวัด (CFO) และกลุ่มงานด้านนโยบายการคลังและเศรษฐกิจการคลังจังหวัด) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถสรุปผลการสำรวจ ดังนี้ • ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดับแรก 1) ระยะเวลาในการให้บริการมีความเหมาะสม คะแนนเฉลี่ย 4.63 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.60 2) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ ไม่เลือกปฏิบัติและได้รับความสะดวกในการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.62 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.40 3) การตอบข้อหารือ/การให้คำปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจนมีมาตรฐาน เข้าใจง่าย คะแนนเฉลี่ย 4.60 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.00 คะแนน ร้อยละ ดา้นการให้บริการ 4.53 90.60 1) การตอบข้อหารือ/การให้ค าปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจนมมีาตรฐาน เข้าใจงา่ย 4.60 92.00 2) มกีารจัดประชุม/อบรมหรือให้ความรู้อย่างทวั่ถึง และเพยีงพอตอ่ความตอ้งการของผู้รับบริการ 4.54 90.80 3) การให้ความช่วยเหลือและการสนับสนุนการจัดท ารายงาน ดา้นเศรษฐกิจจังหวัด 4.57 91.40 4) แนวทางการจัดท ารายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัด มคีวามชัดเจน เข้าใจงา่ย และน าไปใช้ประโยชน์ได้ 4.52 90.40 5) แนวทางการจัดท ารายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัด มคีวามชัดเจน เข้าใจงา่ย และน าไปใช้ประโยชน์ได้ 4.57 91.40 6) แนวทางการจัดท าดชันีชี้ภาวะเศรษฐกิจจังหวัด โดยใช้แบบสอบถาม (ดชันีความเชื่อมนั่ ) มคีวามชัดเจน เข้าใจงา่ย 4.51 90.20 7) ความถี่ของการจัดท ารายงานดา้นเศรษฐกิจจังหวัด 4.51 90.20 8) รูปแบบและเนื้อหาของรายงานดา้นเศรษฐกิจจังหวัด 4.50 90.00 9) แนวทางการด าเนินนโยบายของคณะผู้บริหารการคลังจังหวัด (คบจ.) สอดคล้อง และเป็นไปตามนโยบาย กระทรวงการคลัง 4.51 90.20 1 0) เกณฑ์การพจิารณา คบจ.ดเีดน่มคีวามชัดเจน เข้าใจงา่ย 4.47 89.40 1 1) แบบรายงานผลการด าเนินงานสะดวกและสามารถแสดงผล 4.54 90.80 1 2) แบบรายงานผลการใช้จ่ายเงนิสามารถใช้ตดิตาม ความคบืหน้าการใช้จ่ายได้ 4.56 91.20 1 3) การก ากับดแูลและตรวจสอบ/ตดิตามประเมนิผล มปีระสิทธิภาพ น่าเชื่อถือ 4.54 90.80 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


65 • ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อันดับแรก 1) มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอต่อการให้บริการ เช่น มีที่นั่งคอยรับบริการ เป็นต้น คะแนนเฉลี่ย 4.43 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.60 2) เกณฑ์การพิจารณาคณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัดดีเด่น มีความชัดเจน เข้าใจง่าย คะแนนเฉลี่ย 4.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.40 3) รูปแบบและเนื้อหาของรายงานด้านเศรษฐกิจจังหวัด คะแนนเฉลี่ย 4.50คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.00 2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของกองการเงินการคลังภาครัฐ (กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหารเศรษฐกิจการคลังจังหวัด (CFO) และกลุ่มงานด้านนโยบายการคลังและเศรษฐกิจการคลังจังหวัด) ย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 -2566) พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 -2566 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 2.81 4.48 3.33 2.76 และ 2.24 ตามลำดับ โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และด้านขั้นตอนปฏิบัติงาน และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของกองการเงินการคลังภาครัฐ (กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหารเศรษฐกิจการคลังจังหวัด (CFO) และกลุ่มงานด้านนโยบายการคลังและเศรษฐกิจ การคลังจังหวัด) มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้น แสดงตามภาพที่ 14 ภาพที่ 14 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของกองการเงินการคลังภาครัฐ (กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหารเศรษฐกิจ การคลังจังหวัด (CFO) และกลุ่มงานด้านนโยบายการคลังและเศรษฐกิจการคลังจังหวัด) ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566


66 3) ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของกองการเงินการคลังภาครัฐ (กลุ่มงานพัฒนาระบบ บริหารเศรษฐกิจการคลังจังหวัด (CFO) และกลุ่มงานด้านนโยบายการคลังและเศรษฐกิจการคลังจังหวัด) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 192 คน มีข้อเสนอแนะ จำนวน 2 คน โดยสามารถสรุป ตามประเด็นการสำรวจได้ดังนี้ 3.1) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน - ไม่มีข้อเสนอแนะ 3.2) ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน - ไม่มีข้อเสนอแนะ 3.3) ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร (จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00) - ควรเพิ่มเบอร์โทรศัพท์ในการติดต่อ -ควรเพิ่มช่องทางการให้บริการข้อมูลแจ้งเตือนแบบ Real time เช่น ข้อความทางโทรศัพท์ e-mail เป็นต้น 3.4) ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ - ไม่มีข้อเสนอแนะ 3.5) ด้านการให้บริการ - ไม่มีข้อเสนอแนะ แสดงตามภาพที่ 15 ภาพที่ 15 : จำนวนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของกองการเงินการคลังภาครัฐ (กลุ่มงานพัฒนา ระบบบริหารเศรษฐกิจการคลังจังหวัด (CFO) และกลุ่มงานด้านนโยบายการคลังและเศรษฐกิจ การคลังจังหวัด) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


67 3.6 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.54 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.80 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับ คะแนนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.40 ประกอบด้วยผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.56 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 91.20 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.52 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.40 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้านมากที่สุด ไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ และด้านการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.58 4.56 4.54 4.46 และ 4.46 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.60 91.20 90.80 89.20 และ 89.20 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 16 และตารางที่ 6 ภาพที่ 16 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


68 ตารางที่ 6 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คะแนน ร้อยละ ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.47 89.40 ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของศนูย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่สาร (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.54 90.80 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการภาพรวมของศนูย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่สาร (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.56 91.20 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการ 5 ดา้นของศนูย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่สาร (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.52 90.40 ดา้นเจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.58 91.60 1) เจ้าหน้าทมี่คีวามรู้/ความเชี่ยวชาญในงานทรี่ับผิดชอบ 4.60 92.00 2) เจ้าหน้าทใี่ห้บริการดว้ยความรวดเร็วและตรงความตอ้งการ 4.58 91.60 3) เจ้าหน้าทใี่ช้ค าพดูและกิริยาทสีุ่ภาพ 4.57 91.40 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.56 91.20 1) ไดร้ับความสะดวกในการให้บริการ 4.57 91.40 2) ระยะเวลาในการให้บริการมคีวามเหมาะสม 4.54 90.80 3) มกีารปรับปรุงวิธีการและขั้นตอนการให้บริการตามมาตรการเว้นระยะห่างและลดการสัมผัส เช่น การให้ผู้มาตดิตอ่ยื่นเอกสารโดยการวางในภาชนะทกี่ าหนด 4.56 91.20 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.54 90.80 1) เจ้าหน้าทรี่ับโทรศพัท์รวดเร็วและให้บริการจบในสายเดยีว 4.54 90.80 2) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิตอ่กลับอย่างรวดเร็ว 4.54 90.80 3) Intranet ของศนูย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารข้อมลูเป็นปัจจุบัน และสืบคน้ ไดง้า่ย 4.52 90.40 4) การเผยแพร่ข้อมลูข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ง รวดเร็ว และทันตอ่เหตกุารณ์ 4.56 91.20 ดา้นสถานทแี่ละเครื่องมือในการให้บริการ 4.46 89.20 1) มสีิ่งอ านวยความสะดวกเพยีงพอตอ่การให้บริการ เช่น มทีนี่ั่งคอยรับบริการ เป็นตน้ 4.44 88.80 2) สถานทใี่ห้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.48 89.60 3) มอีุปกรณว์ ัดอุณหภูมแิละแอลกอฮอล์ล้างมอืให้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่อย่างเพยีงพอ 4.47 89.40 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


69 จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถสรุปผลการสำรวจ ดังนี้ • ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดับแรก 1) เจ้าหน้าที่มีความรู้/ความเชี่ยวชาญในงานที่รับผิดชอบ คะแนนเฉลี่ย 4.60 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 92.00 2) เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความรวดเร็วและตรงความต้องการ คะแนนเฉลี่ย 4.58 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.60 3) เจ้าหน้าที่ใช้คำพูดและกิริยาที่สุภาพ และได้รับความสะดวกในการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.57 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.40 • ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อันดับแรก 1) ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ใช้งานได้ง่าย และมีประสิทธิภาพคะแนน เฉลี่ย 4.19 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.80 2) ระบบบำเหน็จบำนาญและสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลใช้งานได้ง่าย และมีประสิทธิภาพ คะแนนเฉลี่ย 4.37 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.40 3) มีการจัดประชุม/อบรมให้ความรู้ทั่วถึง และเพียงพอต่อความต้องการ คะแนนเฉลี่ย 4.40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.00 คะแนน ร้อยละ ดา้นการให้บริการ 4.46 89.20 1) การตอบข้อหารือ/การให้ค าปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจนมมีาตรฐาน เข้าใจงา่ย และเชื่อมนั่ทจี่ะน าไปปฏิบัตงิาน 4.56 91.20 2) มกีารจัดประชุม/อบรมให้ความรู้ทวั่ถึง และเพยีงพอตอ่ความตอ้งการ 4.40 88.00 3) ระบบ Internet ใช้งานคล่องตวัสะดวก รวดเร็ว สืบคน้ ได้ 4.51 90.20 4) ระบบ Intranet ใช้งานคล่องตวัสะดวก รวดเร็ว สืบคน้ ได้ 4.48 89.60 5) CGD Mail ใช้งานไดง้า่ยและมปีระสิทธิภาพ 4.55 91.00 6) ระบบบริการข้อมลูของระบบจ่ายตรงเงนิเดอืนและคา่จ้างประจ าใช้งานไดง้า่ย และมปีระสิทธิภาพ 4.47 89.40 7) ระบบบ าเหน็จบ านาญและสวัสดกิารคา่รักษาพยาบาลใช้งานไดง้า่ย และมปีระสิทธิภาพ 4.37 87.40 8) ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐดว้ยอิเล็กทรอนิกส์(e-GP) ใช้งานไดง้า่ย และมปีระสิทธิภาพ 4.19 83.80 9) Help Desk ให้บริการดว้ยความสะดวก รวดเร็ว และมปีระสิทธิภาพ 4.52 90.40 1 0) มาตรการป้องกัน ดแูลรักษาคอมพวิเตอร์มปีระสิทธิภาพ และมกีารจัดหาเทคโนโลยีทที่ันสมยั มาพฒันางาน 4.54 90.80 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


70 2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 -2566) พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 -2564และปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย ภาพรวมเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 3.79 3.41 3.06 และ 3.20 ตามลำดับ โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมไม่เปลี่ยนแปลง และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้น แสดงตามภาพที่ 17 ภาพที่ 17 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 -2566 3) ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 267 คน มีข้อเสนอแนะ จำนวน 20 คน โดยสามารถสรุป ตามประเด็นการสำรวจได้ดังนี้ 3.1) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00) - ควรเพิ่มเจ้าหน้าที่ในการให้บริการติดต่อสอบถามทางโทรศัพท์ - เจ้าหน้าที่ควรใช้วาจาที่สุภาพในการตอบคำถามทางโทรศัพท์ 3.2) ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน (จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 5.00) - ควรกำหนดระยะเวลาในการซ่อมแซมอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ชัดเจน และมีเครื่องสำรอง มาทดแทนให้หน่วยงานระหว่างการซ่อมแซม 3.3) ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร (จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00) - ควรเพิ่มคู่สายโทรศัพท์ให้มากขึ้น 3.4) ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ (จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00) - ควรจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่อง Printer ที่มีประสิทธิภาพต่อการปฏิบัติงาน - ควรปรับปรุงสัญญาณ Internet ให้มีความเร็วและเสถียร


71 3.5) ด้านการให้บริการ (จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00) -ควรปรับปรุงระยะเวลาการบริการให้มีความรวดเร็ว เนื่องจากการแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่อง Printer ในแต่ละครั้งใช้ระยะเวลานาน แสดงตามภาพที่ 18 ภาพที่ 18 : จำนวนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


72 3.7 สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.54 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.80 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับคะแนนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.40 ประกอบด้วยผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.55 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 91.00 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.52 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.40 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้านมากที่สุด ไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านการให้บริการ ด้านสถานที่ และเครื่องมือในการให้บริการ และด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน คะแนนเฉลี่ย 4.56 4.54 4.51 4.49 และ 4.48 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.20 90.80 90.20 89.80 และ 89.60 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 19 และตารางที่ 7 ภาพที่ 19 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


73 ตารางที่ 7 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คะแนน ร้อยละ ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.47 89.40 ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของสถาบนัพัฒนาบคุลากรดา้นการคลงัและบญัชีภาครัฐ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.54 90.80 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการภาพรวมของสถาบนัพัฒนาบคุลากรดา้นการคลงัและบญัชีภาครัฐ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.55 91.00 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการ 5 ดา้นของสถาบนัพัฒนาบคุลากรดา้นการคลงัและบญัชีภาครัฐ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.52 90.40 ดา้นเจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.56 91.20 1) เจ้าหน้าทใี่ห้บริการดว้ยความรวดเร็วและตรงความตอ้งการ 4.55 91.00 2) เจ้าหน้าทใี่ช้ค าพดูและกิริยาทสีุ่ภาพ 4.56 91.20 3) เจ้าหน้าทปี่ฏิบัตงิานดว้ยความเตม็ ใจ ไมเ่ลือกปฏิบัติ 4.58 91.60 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.48 89.60 1) ขั้นตอนการให้บริการดา้นฝึกอบรมไมยุ่่งยาก ซับซ้อน 4.52 90.40 2) ระยะเวลาในการให้บริการดา้นการขอสนับสนุนวิทยากร มคีวามเหมาะสม 4.44 88.80 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.54 90.80 1) เจ้าหน้าทรี่ับโทรศพัท์รวดเร็วและให้ข้อมลูครบถ้วน 4.54 90.80 2) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิตอ่กลับอย่างรวดเร็ว 4.53 90.60 3) Intranet ของสถาบันพฒันาบุคลากรดา้นการคลังและบัญชีภาครัฐข้อมลูเป็นปัจจุบัน 4.52 90.40 4) การเผยแพร่ข้อมลู /ประชาสัมพนัธ์ข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ง รวดเร็ว และทันตอ่เหตกุารณ์ 4.55 91.00 ดา้นสถานทแี่ละเครื่องมือในการให้บริการ 4.49 89.80 1) สถานทใี่นการจัดฝึกอบรมมคีวามเหมาะสม สะอาด เพยีงพอ ตอ่การจัดฝึกอบรม 4.38 87.60 2) โสตทัศนูปกรณม์ ปีระสิทธิภาพ เหมาะสม เพยีงพอ 4.57 91.40 3) สิ่งอ านวยความสะดวกทใี่ช้ในการจัดฝึกอบรม เช่น คอมพวิเตอร์แท็บเล็ต และอุปกรณใ์นการฝึกอบรม มปีระสิทธิภาพและเพยีงพอตอ่การให้บริการ 4.53 90.60 4) มแีอลกอฮอล์ให้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่อย่างเพยีงพอ 4.49 89.80 ดา้นการให้บริการ 4.51 90.20 1) การให้ค าแนะน าการเข้ารับการฝึกอบรมชัดเจน 4.57 91.40 2) มกีารจัดอบรมให้ความรู้ดา้นกฎหมาย ระเบียบ และสามารถน าไปปฏิบัตงิานได้ 4.56 91.20 3) การวางแผนหลักสูตรการฝึกอบรมทงั้ระยะเวลา และงบประมาณเป็นไปอย่างมปีระสิทธิภาพ 4.53 90.60 4) หลักสูตรการอบรม ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย 4.52 90.40 5) หลักสูตรการฝึกอบรมมกีารพฒันาปรับปรุงให้ทันสมยัมปีระสิทธิภาพ และใช้งานไดจ้ริง 4.54 90.80 6) การตดิตามประเมนิผลภายหลังการฝึกอบรมมปีระสิทธิภาพ 4.51 90.20 7) การส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดหลักสูตร/ความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ 4.51 90.20 8) ห้องสมดุมหีนังสือ/วารสาร ทเี่ป็นปัจจุบัน เป็นประโยชน์ตอ่การปฏิบัตงิาน และสะดวกในการคน้หา 4.36 87.20 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


74 จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถสรุปผลการสำรวจ ดังนี้ • ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดับแรก 1) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ ไม่เลือกปฏิบัติ คะแนนเฉลี่ย 4.58 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 91.60 2) โสตทัศนูปกรณ์มีประสิทธิภาพ เหมาะสม เพียงพอ และการให้คำแนะนำการเข้ารับ การฝึกอบรมชัดเจน คะแนนเฉลี่ย 4.57 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.40 3) เจ้าหน้าที่ใช้คำพูดและกิริยาที่สุภาพ และมีการจัดอบรมให้ความรู้ ด้านกฎหมาย ระเบียบ และสามารถนำไปปฏิบัติงานได้คะแนนเฉลี่ย 4.56 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.20 • ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อันดับแรก 1) ห้องสมุดมีหนังสือ/วารสาร ที่เป็นปัจจุบัน เป็นประโยชน์ ต่อการปฏิบัติงาน และสะดวก ในการค้นหา มีคะแนนเฉลี่ย 4.36 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.20 2) สถานที่ในการจัดฝึกอบรมมีความเหมาะสม สะอาด เพียงพอ ต่อการจัดฝึกอบรม คะแนนเฉลี่ย 4.38 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.60 3) ระยะเวลาในการให้บริการด้านการขอสนับสนุนวิทยากร มีความเหมาะสม คะแนนเฉลี่ย 4.44 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.20 2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ ย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 -2566) พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 -2564และปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย ภาพรวมเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 2.76 3.42 4.96 และ 2.03 ตามลำดับ โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมลดลง คิดเป็น ร้อยละ 0.23 โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจต่ำสุด คือ ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ และคาดว่า ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ มีแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้น แสดงตามภาพที่ 20 ภาพที่ 20 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566


75 3) ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 209 คน มีข้อเสนอแนะ จำนวน 5 คน โดยสามารถสรุป ตามประเด็นการสำรวจได้ดังนี้ 3.1) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน - ไม่มีข้อเสนอแนะ 3.2) ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน - ไม่มีข้อเสนอแนะ 3.3) ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร (จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00) - ควรเพิ่มช่องทางการติดต่อโดยเฉพาะทางโทรศัพท์ให้มีคู่สายเพิ่มขึ้น 3.4) ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ (จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00) - ควรกำหนดช่วงเวลาในการฝึกอบรมบุคลากร ผ่านระบบ Online ไม่ซ้ำซ้อนกับช่วงเวลา การปฏิบัติงานของบุคลากร เพื่อให้การอบรมเกิดประสิทธิภาพ 3.5) ด้านการให้บริการ (จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00) - ควรปรับปรุงระยะเวลาในการรอรับบริการให้มีความรวดเร็ว แสดงตามภาพที่ 21 ภาพที่ 21 : จำนวนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลัง และบัญชีภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


76 3.8 สำนักงานเลขานุการกรม 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของสำนักงานเลขานุการกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.14 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 82.80 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก และมีระดับคะแนนต่ำกว่า คะแนนเฉลี่ยภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.40 ประกอบด้วยผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.11 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 82.20 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.17 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.40 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้านมากที่สุด ไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านขั้นตอน การปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร และด้านการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.27 4.17 4.16 4.13 และ 4.13 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 85.40 83.40 83.20 82.60 และ 82.60 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 22 และตารางที่ 8 ภาพที่ 22 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของสำนักงานเลขานุการกรม จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


77 ตารางที่ 8 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานเลขานุการกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คะแนน ร้อยละ ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของหน่วยงานสนับสนุน (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.47 89.40 ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของส านักงานเลขานุการกรม (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.14 82.80 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการภาพรวมของส านักงานเลขานุการกรม (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.11 82.20 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการ 5 ดา้นของส านักงานเลขานุการกรม (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.17 83.40 ดา้นจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.17 83.40 1) เจ้าหน้าทมี่คีวามรู้/ความเชี่ยวชาญในงานทรี่ับผิดชอบ 4.20 84.00 2) เจ้าหน้าทใี่ห้บริการดว้ยความรวดเร็วและตรงความตอ้งการ 4.07 81.40 3) เจ้าหน้าทใี่ช้ค าพดูและกิริยาทสีุ่ภาพ 4.24 84.80 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.16 83.20 1) ไดร้ับความสะดวกในการให้บริการ 4.18 83.60 2) ระยะเวลาในการให้บริการมคีวามเหมาะสม 4.08 81.60 3) มกีารปรับปรุงวิธีการและขั้นตอนการให้บริการตามมาตรการเว้นระยะห่างและลดการสัมผัส เช่น การให้ผู้มาตดิตอ่ยื่นเอกสาร โดยการวางในภาชนะทกี่ าหนด 4.23 84.60 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.13 82.60 1) เจ้าหน้าทรี่ับโทรศพัท์รวดเร็วและให้บริการจบในสายเดยีว 4.12 82.40 2) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิตอ่กลับอย่างรวดเร็ว 4.08 81.60 3) Intranet ของส านักงานเลขานุการกรม ข้อมลูเป็นปัจจุบัน 4.16 83.20 4) การเผยแพร่ข้อมลูข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ง รวดเร็ว และทันตอ่เหตกุารณ์ 4.17 83.40 ดา้นสถานทแี่ละเครื่องมือในการให้บริการ 4.27 85.40 1) มสีิ่งอ านวยความสะดวกเพยีงพอตอ่การให้บริการ เช่น มทีนี่ั่งคอยรับบริการ เป็นตน้ 4.48 89.60 2) สถานทใี่ห้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.18 83.60 3) มกีารปรับปรุงสถานทใี่ห้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่ตามมาตรการเว้นระยะห่าง 4.15 83.00 4) มอีุปกรณว์ ัดอุณหภูมแิละแอลกอฮอล์ล้างมอืให้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่อย่างเพยีงพอ 4.28 85.60 ดา้นการให้บริการ 4.13 82.60 1) การให้ค าปรึกษา/ข้อเสนอแนะ มคีวามชัดเจน เข้าใจงา่ย และสามารถน าไปปฏิบัตงิานไดจ้ริง 4.20 84.00 2) การเบิกจ่ายเงนิงบประมาณ/สวัสดกิารคา่รักษาพยาบาล/คา่การศกึษาบุตรสะดวก และรวดเร็ว 3.97 79.40 3) การจัดสรรงบประมาณ ช่วยให้หน่วยงานภายในสามารถเบิกจ่ายงบประมาณทไี่ดร้ับจัดสรร ไดต้ามระยะเวลาทกี่ าหนด 4.01 80.20 4) การจัดซื้อจัดหาวัสดอุ ุปกรณส์ านักงานทันการใช้งาน 3.94 78.80 5) ประชาสัมพนัธ์เผยแพร่กิจกรรมของกรมไดอ้ย่างรวดเร็วทวั่ถึง สร้างภาพลักษณท์ดี่ตีอ่องคก์ร 4.22 84.40 6) การรับ - ส่งเอกสารทางราชการไดร้ับความสะดวก รวดเร็ว 4.26 85.20 7) งานดา้นยานพาหนะสะดวกและปลอดภัย 4.12 82.40 8) การให้บริการจัดประชุมชั้น ๓ ไดร้ับความสะดวก 4.11 82.20 9) มกีารบ ารุงรักษาให้พร้อมใช้งานอย่างสม่ าเสมอ เช่น ลิฟต์แอร์เป็นตน้ 4.19 83.80 1 0) ดา้นอาคารสถานที่มคีวามสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.23 84.60 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


78 จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานเลขานุการกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถสรุปผลการสำรวจ ดังนี้ • ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดับแรก 1) มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอต่อการให้บริการ เช่น มีที่นั่งคอยรับบริการ เป็นต้น คะแนนเฉลี่ย 4.48 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.60 2) มีอุปกรณ์วัดอุณหภูมิและแอลกอฮอล์ล้างมือให้บริการแก่ผู้มาติดต่ออย่างเพียงพอ คะแนนเฉลี่ย 4.28 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 85.60 3) การรับ - ส่งเอกสารทางราชการได้รับความสะดวก รวดเร็ว คะแนนเฉลี่ย 4.26 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 85.20 • ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อันดับแรก 1) การจัดซื้อจัดหาวัสดุอุปกรณ์สำนักงานทันการใช้งาน มีคะแนนเฉลี่ย 3.94 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 78.80 2) การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ/สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล/ค่าการศึกษาบุตรสะดวก และรวดเร็ว คะแนนเฉลี่ย 3.97 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 79.40 3) การจัดสรรงบประมาณ ช่วยให้หน่วยงานภายในสามารถเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ได้ตามระยะเวลาที่กำหนด คะแนนเฉลี่ย 4.01 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 80.20 2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานเลขานุการกรม ย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566) พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2565 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 2.89 4.59 4.88 และ 0.47 ตามลำดับ โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และด้านการให้บริการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมลดขึ้น คิดเป็นร้อยละ 3.47 โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจ ต่ำสุด คือ ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร และด้านการให้บริการ และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ของสำนักงานเลขานุการกรม มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่ลดลง แสดงตามภาพที่ 23 ภาพที่ 23 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของสำนักงานเลขานุการกรม ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566


79 3) ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของสำนักงานเลขานุการกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 245 คน มีข้อเสนอแนะ จำนวน 60 คน โดยสามารถสรุป ตามประเด็นการสำรวจได้ดังนี้ 3.1) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 31.67) - เจ้าหน้าที่ควรให้บริการด้วยความเต็มใจ มีกิริยา และวาจาที่สุภาพ - เจ้าหน้าที่ควรศึกษาหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ให้มีความรู้ เพื่อให้การตอบคำถามถูกต้องชัดเจน - ควรเพิ่มความเชี่ยวชาญให้เจ้าหน้าที่ทุกท่าน เพื่อให้สามารถตอบคำถาม หรือให้คำปรึกษา แทนกันได้ - ควรเพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่ให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน 3.2) ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน (จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00) - ควรปรับปรุงขั้นตอนการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าการศึกษาบุตร ให้มีความรวดเร็วขึ้น 3.3) ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร (จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33) - ควรเพิ่มหมายเลขโทรศัพท์ในการติดต่อสอบถาม - ควรเพิ่มช่องทางการติดต่อที่หลากหลาย เช่น Line เป็นต้น 3.4) ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ (จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00) - ควรจัดซื้ออุปกรณ์สำนักงานที่จำเป็นให้เพียงพอ ครบถ้วนต่อการใช้งาน เช่น ปากกา ปากกาลบคำผิด หมึกเครื่อง Printer - ควรจัดสรรพื้นที่ให้บริการให้เป็นสัดส่วน เพียงพอต่อจำนวนผู้รับบริการ เนื่องจากสถานที่ ให้บริการคับแคบ 3.5) ด้านการให้บริการ (จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00) - ควรปรับปรุงการให้บริการด้านงบประมาณ สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล ค่าการศึกษาบุตร ให้รวดเร็ว - ควรให้บริการด้วยความรวดเร็ว แสดงตามภาพที่ 24


80 ภาพที่ 24 : จำนวนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของสำนักงานเลขานุการกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


81 4. ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 -9 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 - 9 จะแสดงรายละเอียด 2 ส่วน ได้แก่ ผลสำรวจความพึงพอใจจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก และผลสำรวจความพึงพอใจจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน 4.1 สำนักงานคลังเขต 1 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของสำนักงานคลังเขต 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.67 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.40 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับคะแนนต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยภาพรวม ของสำนักงานคลังเขต 1 - 9 ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.68 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.60 ประกอบด้วย ผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.68 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 93.60 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.65 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.00 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้านมากที่สุด ไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านสถานที่ และเครื่องมือในการให้บริการ และด้านการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.67 4.65 4.64 4.64 และ 4.63 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.40 93.00 92.80 92.80 และ 92.60 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 25 ภาพที่ 25 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของสำนักงานคลังเขต 1 จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


82 2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 ย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566) พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - 2566 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย ภาพรวมเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 6.62 3.10 3.62 และ 1.75 ตามลำดับ โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย ภาพรวมลดลง คิดเป็นร้อยละ 4.95 โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจต่ำสุด คือ ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของสำนักงานคลังเขต 1 มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้น แสดงตามภาพที่ 26 ภาพที่ 26 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566


83 4.1.1 ผลสำรวจความพึงพอใจจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ภายนอก) 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 (ภายนอก) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.71 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 94.20 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับคะแนน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยภาพรวมของสำนักงานคลังเขต 1 - 9(ภายนอก) ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.67 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.40 ประกอบด้วย ผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.76 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 95.20 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.66 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.20 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน มากที่สุดไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านการให้บริการ ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ และด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร คะแนนเฉลี่ย 4.74 4.67 4.64 4.63 และ 4.62 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 94.80 93.40 92.80 92.60 และ 92.40 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 27 และตารางที่ 9 ภาพที่ 27 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของสำนักงานคลังเขต 1 (ภายนอก) จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


84 ตารางที่ 9 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 (ภายนอก) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คะแนน ร้อยละ ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของส านักงานคลงัเขต 1 - 9 (ภายนอก) (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.67 93.40 ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของส านักงานคลงัเขต 1 (ภายนอก) (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.71 94.20 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการภาพรวมของส านักงานคลงัเขต 1 (ภายนอก) (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.76 95.20 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการ 5 ดา้นของส านักงานคลงัเขต 1 (ภายนอก) (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.66 93.20 ดา้นเจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.74 94.80 1) เจ้าหน้าทมี่คีวามรู้/ความเชี่ยวชาญในงาน ให้ค าแนะน า และความรู้ทเี่ป็นประโยชน์ 4.72 94.40 2) เจ้าหน้าทใี่ห้บริการดว้ยความรวดเร็วและตรงความตอ้งการ 4.73 94.60 3) เจ้าหน้าทใี่ช้ค าพดูและกิริยาทสีุ่ภาพ 4.77 95.40 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.64 92.80 1) ขั้นตอนการให้บริการไมยุ่่งยากซับซ้อน 4.65 93.00 2) ระยะเวลาในการให้บริการมคีวามเหมาะสม 4.63 92.60 3) มวีิธีการและขั้นตอนการให้บริการตามมาตรการเว้นระยะห่างและลดการสัมผัส เช่น การให้ผู้มาตดิตอ่ ยื่นเอกสารโดยการวางในจุดทกี่ าหนด 4.65 93.00 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.62 92.40 1) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิตอ่กลับอย่างรวดเร็ว 4.65 93.00 2) Website ของส านักงานคลังเขต ข้อมลูเป็นปัจจุบัน และสืบคน้ ไดง้า่ย 4.61 92.20 3) การเผยแพร่ข้อมลูข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ง รวดเร็ว และทันตอ่เหตกุารณ์ 4.57 91.40 4) มชี่องทางในการให้บริการทนี่อกเหนือจากช่องทางหลักของกรมบัญชีกลาง เช่น Facebook Line e-mail เป็นตน้ 4.63 92.60 ดา้นสถานทแี่ละเครื่องมือในการให้บริการ 4.63 92.60 1) มจีุดตอ้นรับ/ประชาสัมพนัธ์จุดรอ ป้ายข้อความบอกจุดให้บริการชัดเจน 4.61 92.20 2) มสีิ่งอ านวยความสะดวกเพยีงพอตอ่การให้บริการ เช่น มทีนี่ั่งคอยรับบริการ เป็นตน้ 4.62 92.40 3) สถานทใี่ห้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.66 93.20 4) มสีถานทใี่ห้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่ตามมาตรการเว้นระยะห่าง 4.63 92.60 5) มแีอลกอฮอล์ล้างมอืให้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่อย่างเพยีงพอ 4.65 93.00 ดา้นการให้บริการ 4.67 93.40 1) การตอบข้อหารือ/การให้ค าปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจน มมีาตรฐาน เข้าใจงา่ย และเชื่อมนั่ทจี่ะน าไป ปฏิบัตงิาน 4.73 94.60 2) มกีารจัดประชุม/อบรมหรือให้ความรู้อย่างทวั่ถึง และเพยีงพอตอ่ความตอ้งการของผู้รับบริการ 4.62 92.40 3) วิทยากรมคีวามเชี่ยวชาญในการถ่ายทอดความรู้ 4.66 93.20 4) การตรวจสอบข้อมลูผู้รับเบี้ยหวัดบ าเหน็จบ านาญมคีวามรวดเร็วและถูกตอ้ง 4.66 93.20 5) การอนุมตัสิั่งจ่ายบ าเหน็จบ านาญมคีวามสะดวก รวดเร็ว และถูกตอ้ง 4.66 93.20 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


85 จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 (ภายนอก) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถสรุปผลการสำรวจ ดังนี้ • ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดับแรก 1) เจ้าหน้าที่ใช้คำพูดและกิริยาที่สุภาพ คะแนนเฉลี่ย 4.77 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 95.40 2) เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความรวดเร็วและตรงความต้องการ และการตอบข้อหารือ/การให้ คำปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจน มีมาตรฐาน เข้าใจง่าย และเชื่อมั่นที่จะนำไปปฏิบัติงาน คะแนนเฉลี่ย 4.73 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 94.60 3) เจ้าหน้าที่มีความรู้/ความเชี่ยวชาญในงาน ให้คำแนะนำ และความรู้ที่เป็นประโยชน์ คะแนนเฉลี่ย 4.72 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 94.40 • ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อันดับแรก 1) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารครบถ้วน ถูกต้อง รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ คะแนนเฉลี่ย 4.57 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.40 2) Website ของสำนักงานคลังเขต ข้อมูลเป็นปัจจุบัน และสืบค้นได้ง่าย และมีจุดต้อนรับ/ ประชาสัมพันธ์ จุดรอ ป้ายข้อความบอกจุดให้บริการชัดเจน คะแนนเฉลี่ย 4.61 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.20 3) มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอต่อการให้บริการ เช่น มีที่นั่งคอยรับบริการ เป็นต้น และมีการจัดประชุม/อบรมหรือให้ความรู้อย่างทั่วถึง และเพียงพอต่อความต้องการของผู้รับบริการ คะแนนเฉลี่ย 4.62 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.40 2) ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 (ภายนอก) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 82 คน - ไม่มีข้อเสนอแนะ


86 4.1.2 ผลสำรวจความพึงพอใจจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ภายใน) 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 (ภายใน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.62 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.40 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับคะแนน ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยภาพรวมของสำนักงานคลังเขต 1 - 9 (ภายใน) ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.68 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.60 ประกอบด้วย ผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.59 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.80 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.64 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.80 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน มากที่สุดไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านการให้บริการ และด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน คะแนนเฉลี่ย 4.68 4.65 4.63 4.62 และ 4.60 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.60 93.00 92.60 92.40 และ 92.00 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 28 และตารางที่ 10 ภาพที่ 28 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของสำนักงานคลังเขต 1 (ภายใน) จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


87 ตารางที่ 10: รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 (ภายใน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คะแนน ร้อยละ ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของส านักงานคลงัเขต 1 - 9 (ภายใน) (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.68 93.60 ระดบัความพึงพอใจเฉลยี่ภาพรวมของส านักงานคลงัเขต 1 (ภายใน) (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.62 92.40 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการภาพรวมของส านักงานคลงัเขต 1 (ภายใน) (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.59 91.80 ความพึงพอใจทมี่ีตอ่การให้บริการ 5 ดา้นของส านักงานคลงัเขต 1 (ภายใน) (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.64 92.80 ดา้นเจา้หน้าทผี่ปู้ฏิบตังิาน 4.60 92.00 1) เจ้าหน้าทมี่คีวามรู้/ความเชี่ยวชาญในงาน ให้ค าแนะน า และความรู้ทเี่ป็นประโยชน์ 4.58 91.60 2) เจ้าหน้าทใี่ห้บริการดว้ยความรวดเร็วและตรงความตอ้งการ 4.58 91.60 3) เจ้าหน้าทใี่ช้ค าพดูและกิริยาทสีุ่ภาพ 4.65 93.00 ดา้นขั้นตอนการปฏิบตังิาน 4.63 92.60 1) ขั้นตอนการให้บริการไมยุ่่งยากซับซ้อน 4.63 92.60 2) ระยะเวลาในการให้บริการมคีวามเหมาะสม 4.61 92.20 3) มวีิธีการและขั้นตอนการให้บริการตามมาตรการเว้นระยะห่างและลดการสัมผัส เช่น การให้ผู้มาตดิตอ่ ยื่นเอกสารโดยการวางในจุดทกี่ าหนด 4.65 93.00 ดา้นช่องทางตดิตอ่สอื่สาร 4.68 93.60 1) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิตอ่กลับอย่างรวดเร็ว 4.69 93.80 2) Website ของส านักงานคลังเขต ข้อมลูเป็นปัจจุบัน และสืบคน้ ไดง้า่ย 4.67 93.40 3) การเผยแพร่ข้อมลูข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ง รวดเร็ว และทันตอ่เหตกุารณ์ 4.68 93.60 ดา้นสถานทแี่ละเครื่องมือในการให้บริการ 4.65 93.00 1) มสีิ่งอ านวยความสะดวกเพยีงพอตอ่การให้บริการ เช่น มทีนี่ั่งคอยรับบริการ เป็นตน้ 4.68 93.60 2) สถานทใี่ห้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.62 92.40 3) มสีถานทใี่ห้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่ตามมาตรการเว้นระยะห่าง 4.63 92.60 4) มแีอลกอฮอล์ล้างมอืให้บริการแก่ผู้มาตดิตอ่อย่างเพยีงพอ 4.68 93.60 ดา้นการให้บริการ 4.62 92.40 1) การตอบข้อหารือ/การให้ค าปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจน มมีาตรฐาน เข้าใจงา่ย และเชื่อมนั่ทจี่ะน าไป ปฏิบัตงิาน 4.61 92.20 2) มกีารจัดประชุม/อบรมให้ความรู้ทวั่ถึง และเพยีงพอตอ่ความตอ้งการ 4.55 91.00 3) การก ากับดแูล/ตรวจสอบ/ตดิตามประเมนิผลส านักงานคลังจังหวัดในเขตพนื้ทมี่ปีระสิทธิภาพ และน่าเชื่อถือ 4.63 92.60 4) ก ากับดแูลและผลักดนัการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล กระทรวง กรม ไดอ้ย่างเหมาะสมและชัดเจน 4.64 92.80 5) การตดิตามและเร่งรัดการใช้จ่ายเงนิของส านักงานคลังจังหวัดในเขตพนื้ทมี่คีวามสม่ าเสมอ มแีนวทางทชี่ัดเจน และมปีระสิทธิภาพ 4.64 92.80 6) นโยบายการพฒันางานของส านักงานคลังจังหวัดในพนื้ทมี่ทีิศทางทชี่ัดเจน 4.65 93.00 ประเดน็การส ารวจ ระดบัความพึงพอใจ


88 จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 (ภายใน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถสรุปผลการสำรวจ ดังนี้ • ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดับแรก 1) การรับเรื่อง ประสานงาน และติดต่อกลับอย่างรวดเร็ว คะแนนเฉลี่ย 4.69 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 93.80 2) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารครบถ้วน ถูกต้อง รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์มีสิ่งอำนวยความสะดวก เพียงพอต่อการให้บริการ เช่น มีที่นั่งคอยรับบริการ เป็นต้น และมีแอลกอฮอล์ล้างมือให้บริการแก่ผู้มาติดต่อ อย่างเพียงพอ คะแนนเฉลี่ย 4.68 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.60 3) Website ของสำนักงานคลังเขต ข้อมูลเป็นปัจจุบัน และสืบค้นได้ง่าย คะแนนเฉลี่ย 4.67 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.40 • ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อันดับแรก 1) มีการจัดประชุม/อบรมให้ความรู้ทั่วถึง และเพียงพอต่อความต้องการ คะแนนเฉลี่ย4.55 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.00 2) เจ้าหน้าที่มีความรู้/ความเชี่ยวชาญในงาน ให้คำแนะนำความรู้ที่เป็นประโยชน์ และเจ้าหน้าที่ ให้บริการด้วยความรวดเร็วและตรงความต้องการ คะแนนเฉลี่ย 4.58 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.60 3) ระยะเวลาในการให้บริการมีความเหมาะสม และการตอบข้อหารือ/การให้คำปรึกษา/ ข้อเสนอแนะชัดเจน มีมาตรฐาน เข้าใจง่าย และเชื่อมั่นที่จะนำไปปฏิบัติงาน คะแนนเฉลี่ย 4.61 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.20 2) ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 1 (ภายใน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 88 คน - ไม่มีข้อเสนอแนะ


89 4.2 สำนักงานคลังเขต 2 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของสำนักงานคลังเขต 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.83 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 96.60 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับคะแนนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยภาพรวม ของสำนักงานคลังเขต 1 - 9 ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.68 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.60 ประกอบด้วย ผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.86 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 97.20 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.79 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 95.80 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้านมากที่สุด ไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านการให้บริการ ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านช่องทาง ติดต่อสื่อสาร และด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.81 4.81 4.79 4.79 และ 4.76คะแนน คิดเป็นร้อยละ 96.20 96.20 95.80 95.80 และ 95.20 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 29 ภาพที่ 29 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ชองสำนักงานคลังเขต 2 จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


90 2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังเขต 2 ย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566) พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ลดลง คิดเป็นร้อยละ 0.92 และ 3.21 ตามลำดับ โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจต่ำสุด คือ ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน และด้านการให้บริการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย ภาพรวมเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 8.39 0.65 และ 5.74 ตามลำดับ โดยด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ และด้านการให้บริการ และคาดว่า ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของสำนักงานคลังเขต 2 มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้น แสดงตามภาพที่ 30 ภาพที่ 30 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของสำนักงานคลังเขต 2 ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566


91 4.2.1 ผลสำรวจความพึงพอใจจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ภายนอก) 1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ การให้บริการของสำนักงานคลังเขต 2 (ภายนอก) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.77 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 95.40 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และมีระดับคะแนน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยภาพรวมของสำนักงานคลังเขต 1 - 9(ภายนอก) ซึ่งอยู่ในระดับคะแนน 4.67 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 93.40 ประกอบด้วย ผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1) การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.78 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 95.60 1.2) การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.75 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 95.00 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน มากที่สุดไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านการให้บริการ และด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.82 4.76 4.75 4.75 และ 4.69 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 96.40 95.20 95.00 95.00 และ 93.80 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 31 และตารางที่ 11 ภาพที่ 31 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของสำนักงานคลังเขต 2 (ภายนอก) จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


Click to View FlipBook Version