The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทเรียนมอดูล นฤนาท ประชุมสุข วิทยาลัยสารพัดช่างจันทบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pepsiammy30, 2021-09-20 03:31:38

เรื่องระบบส่งกำลังรถยนต์ รหัส ๒๐๑๐๑-๒๐๐๔

บทเรียนมอดูล นฤนาท ประชุมสุข วิทยาลัยสารพัดช่างจันทบุรี

ทบเรยี นมอดูล

วชิ า งานสง กาํ ลังรถยนต รหสั วชิ า 20200 - 1014
ผูจ ดั ทาํ

นายนฤนาท ประชมุ สขุ
ตาํ เหนง พนกั งานราชการ

วิทยาลยั สารพดั ชา งจันทบรุ ี
สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

คํานาํ

บาทเรยี นมอดลู ชุดท่ี ๑ เร่อื งระบบสง กาํ ลังรถยนต ขา พเจา เรยี บเรียงขน้ึ เพอ่ื ใช
ประกอบการเรียนรู รายวิชา งานสงกําลงั รถยนต รหสั รายวชิ า ๒๐๑๐๑ระดบั ชั้น ๒๐๐๔-
ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ โดยพยายามเขียนใหนักเรียนนกั ศกึ ษาไดศึกษาแบบเขาใจไดด ว ยตนเอง
เพอื่ ใหม คี วามรเู กีย่ วกบั ระบบสง กาํ ลงั รถยนต นอกจากนยี้ งั ใชเพ่ือเพมิ่ ประสบการณ เรียนรูได
ยิ่งขนึ้

บทเรยี นมอดลู ชดุ นี้จุดประสงคเพอื่ ใหน กั เรยี น ไดศ ึกษาเกย่ี วกบั ระบบสง กาํ ลังเปน กลไก
การสง กาํ ลงั จากเครอ่ื งยนต เพอื่ ขับเคล่ือนลอ ของรถยนตใ หเ คลือ่ นทโ่ี ดยการถายทอดแรงบิดจาก
เครื่องยนตผ านคลัตช บทเรียนโมดูล ประกอบดว ยคําแนะนาํ ในการเรยี นบทเรียนมอดูล
ประกอบดวยจดุ ประสงคก ารเรียนรู ใบเนอ้ื หาแบบทดสอบหลังเรียน แบบเฉลยแบบทดสอบ
แบบศูนยการเรยี นรู เพ่อื ใหนักเรยี นมคี วามรสู ามารถคน ควา ดว ยตนเองได

ผูจ ดั ทาํ หวงั เปน อยางยง่ิ วาบทเรียนมอดูลชดุ นจ้ี ะชวยใหนักเรยี น ไดร ับความรคู วาม
เขา ใจเกยี่ วกบั ระบบสง กําลงั รถยนตและสง ผลใหผ ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นนกั เรียนสงู ขนึ้ อยางไรก็
ตามบทเรียนมอดูลชุดนอ้ี าจมขี อ บกพรองผิดพลาด ขอใหผ อู า นโปรดแจง มาใหข า พเจาทราบดว ย
จักขอขอบคุณเปนอยา งยงิ่ ยินดรี บั ฟง ความคดิ เหน็ ขอ บกพรอ งจากทา นพรอ มปรับปรงุ บทเรียน
มอดลู เลม น้ีใหส มบรูณถูกตอง

สารบญั หนา

คาํ นาํ ข
สารบญั ๑
คาํ ชแี้ จงในการใชม อดลู สาํ หรบั นกั เรียน ๒
หลกั การและเหตผุ ล ๒
จุดประสงคการเรียนรู ๓
การประเมินผลหลงั เรียน ๓
การสอนเสรมิ ๔
ขอบขายเนื้อหา ๖
แบบทดสอบกอนเรยี น ๗
เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น ๘
ใบความรู ๑๒
แบบทดสอบหลงั เรยี น ๑๕
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น ๑๖
แนวทางในการวดั ผลและประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู

คําชแ้ี จงในการใชม อดูลสาํ หรบั นกั เรยี น

การใชบทเรยี นมอดูลใหเ กดิ ประสิทธิภาพตอการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนไดอยาง
สงู สุดนกั เรียนควรปฏิบัติดงั น้ี

๑. การเตรยี มตวั ของนักเรยี น
๑.๑ ศึกษาบทเรียนมอดูลลวงหนา กอ นทจี่ ะปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมเพื่อใหม คี วามรูความ
เขาใจเกยี่ วกบั จดุ ประสงคข อ ปฏบิ ตั ิ
๑.๒ การวางแผนการเตรยี มอปุ กรณการเรียนรู
๒. ดําเนนิ การจัดกจิ กรรมการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมใหมีความรคู วามเขาใจ
๒.๑ ศึกษาแนวทางการปฏบิ ัติกจิ กรรมใหมีความเขาใจ
๒.๒ ปฏิบตั กิ ิจกรรมลําดบั ข้ันตอนท่กี ําหนด

หลกั การและเหตุผล
ระบบสง กาํ ลงั เปน กลไกการสงกาํ ลงั จากเครอ่ื งยนต เพือ่ ขบั เคลื่อนลอ ของรถยนตให
เคลอื่ นทโ่ี ดยการถา ยทอดแรงบดิ จากเครอ่ื งยนตผานคลตั ช กระปกุ เกยี ร เพลากลาง เฟอ งทา ย
และเพลาขับลอ นกั เรียนจงึ ตอ งมีความรู ความเขา ใจโครงสรางและสวนประกอบของระบบสง
กําลงั รถยนต ชอื่ คาํ ศพั ทเ ทคนิคภาษาอังกฤษของสวนประกอบระบบสงกาํ ลงั รถยนต ชนดิ ของ
ระบบสง กําลงั รถยนต และขอ เปรยี บเทยี บการขับเคล่อื นลอ หนา และลอหลงั ดวยการบูรณา
การหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

จุดประสงคการเรียนรู
ดา นความรู )k(

1. เพอ่ื ใหม ีความรู ความเขา ใจเกี่ยวกบั โครงสรา งและสวนประกอบของระบบสง กาํ ลัง
รถยนต ชนิดของระบบรถยนต ขอเปรียบเทยี บของการขบั เคลื่อนลอ หนาและลอ หลัก

2. เพือ่ ใหม ีทกั ษะเกยี่ วกบั การฟง พูด อา น เขียน ชือ่ คําศพั ทเ ทคนิคภาษาอังกฤษของ
สวนประกอบระบบสงกาํ ลงั รถยนต การเปรยี บเทยี บขอ ดี ขอ เสียของการขบั เคลื่อนลอ หนาและ
ลอหลัง จัดหาตวั อยา งรูปภาพรถยนต 1 ภาพ พรอมอธิบายขอ ดี ขอ เสยี ตามประเภทของการ
ขบั เคล่ือนรถยนต และเขียนในดา นหลงั ของกระดาษท่ใี ชแ ลว

3. เพอ่ื ใหม คี วามรบั ผดิ ชอบ สนใจใฝร ู ความมมี นุษยส มั พนั ธ ความสะอาด การรกั ษา
ส่ิงแวดลอม ความเปน ประชาธปิ ไตย และหางไกลยาเสพตดิ

ดา นทกั ษะ )P(
1. บอกชื่อและหนา ทส่ี วนประกอบของระบบสง กําลังได
2 อธิบายชนดิ ของระบบสง กาํ ลงั ได

3. อธบิ ายขอ เปรยี บเทียบของการขบั เคลอ่ื นลอ หนา และลอ หลงั ได

ดานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค(A)
1. นักศึกษาสามารถชือ่ และหนาทสี่ ว นประกอบของระบบสง กําลงั ได
2. นกั ศกึ ษาสามารถอธบิ ายชนิดของระบบสงกาํ ลังไดแ ละอธบิ ายขอ เปรียบเทียบของการขบั เคลอื่ นลอ

หนา และลอหลงั ได

การประเมนิ ผลหลังเรียน
นักเรียนผานเกณฑก ารประเมนิ ผลรอยละ ๗๕ สามารถเรียนบทเรียนมอดลู ตอ ไปไดถา
ไมผานเกณฑร อยละ ๗๕ นักเรยี นตอ งเรยี นเสรมิ

การสอนเสรมิ

ถา นกั เรียนไมผ า นเกณฑ การประเมินผลทรี่ ะบไุ วใ หน กั เรียนเรยี นตามจุดประสงคท่ไี ม
ผา นแลว ทําแบบทดสอบหลงั ภาคเรียน ความรหู ลงั เรยี นใหผ า นเกณฑท่กี าํ หนดไว
การเรียนเสรมิ ใหนกั เรียนปฏิบตั ดิ งั น้ี

๑. ใชเ วลามากกวาเดมิ
๒. ใหเ พื่อนชว ยเหลอื

๓. ครชู วยอธบิ ายเพ่ิม

ขอบขา ยเนือ้ หา
-ระบบสง กําลัง

-การขบั เคล่ือนลอ หนาและลอ หลงั

แบบทดสอบกอนเรียน
1. ขอ ใดไมใ ชโ ครงสรางและสวนประกอบของระบบสงกําลังรถยนต

ก. เครอื่ งยนต
ข. กระปกุ เกยี ร
ค. แหนบ

ง. เฟอ งทา ย
2. ขอใดคอื โครงสรา งและสว นประกอบของระบบสงกาํ ลงั รถยนต

ก. ขอตอ ออ น

ข. แหนบ
ค. สปริง
ง. โชกอัพ

3. การขับเคลื่อนของรถยนตแ บบใดทอี่ อกแบบใหกระปกุ เกียรแ ละเฟอ งทา ยรวมในชดุ เดยี วกนั
ก. การขบั เคลอื่ นลอหลัง
ข. การขบั เคล่อื น 4 ลอ

ค. การขบั เคลอื่ นลอ หนา
ง. การขับเคลอ่ื น 2 ลอ หลงั
4. ระบบสง กําลงั สําหรบั รถยนตน่ังและบรรทกุ มีการออกแบบอัตราทดเกยี รธรรมดาอยางไร

ก. 4 เกียรเ ดินหนา ,1 เกยี รถอยหลัง
ข. 5 เกยี รเ ดนิ หนา ,1 เกยี รถ อยหลงั
ค. 5 เกียรเ ดนิ หนา ,1 เกยี รถอยหลงั ,1 เกียรวา ง

ง. 4 เกียรเ ดนิ หนา ,1 เกียรถ อยหลัง ,1 เกยี รวา ง
5. การขบั เคลอ่ื นรถยนตม ีกีช่ นดิ

ก. 2 ชนิด

ข. 3 ชนิด
ค. 4 ชนิด
ง. 5 ชนดิ

เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น
1ค
2ก
3ค
4ค
5ข

ใบความรู
งานสง กาํ ลังรถยนต

โครงสรางและสวนประกอบของระบบสง กําลงั รถยนตร ะบบสง กําลังเปน กลไก
การสง กาํ ลงั จากเครอ่ื งยนตเ พอื่ ขับลอ ของรถยนต ใหเ คลื่อนท่ีโดยการถายทอดแรงบิดจาก
เครอื่ งยนตผ า นคลตั ชกระปกเุ กยรี เพลากลางเฟอ งทายและเพลาขบั ลอดว ยอัตราทดของเฟอ ง
โดยทัว่ ไปเกยี รธ รรมดาจะออกแบบอตั ราทดเกยี รเดินหนา 1 อัตราทดเกยี รถอยหลงั 6 หรอื 5
อัตราทดและ ตําแหนง เกยี รว างนอกเหนอื จากทกี่ ลา วมาอาจมกี ารออกแบบอตั ราทดเกียรใ น
รูปแบบอ่ืนเพือ่ ใหม คี วาม

ระบบสง กําลงั รถยนตม ีการพฒั นาอยา งตอ เนอ่ื งตงั้ แตกอนป พ 2520 .ศ.โดย
ระยะแรกบรษิ ัทผผู ลติ จะออกแบบรถยนตน่ังและรถยนตกระบะบรรทุกใหติดตงั้ ระบบสง กาํ ลงั
ของรถยนตไวด า นหนา ตามความยาวของตวั รถขับเคลือ่ นลอ หลงั ตอ มาพฒั นาการออกแบบระบบ
สง กําลังของรถยนตนงั่ เปน
แบบขับเคลอ่ื นลอ หนา โดยตดิ ต้งั เครื่องยนตวางอยูด า นหนา ตามขวางของตัวรถยนตตอมา
บรษิ ัทผผู ลติ ไดอ อกแบบรถยนตเ ปน ลกั ษณะขับเคลอ่ื น ลอ 4

การขบั เคลือ่ นลอหลังเปน ชนดิ ทีน่ ยิ มมากโดยเฉพาะรถยนต
กระบะบรรทุกรถบรรทกุ ลอ 6, รถบรรทกุ ลอ เปนตน เพราะใชบ รรทุกสง่ิ ของตาง ๆ 10
รวมถึงสินคาทางการเกษตร และอตสุ าหกรรม

จึงมีการออกแบบเครือ่ งยนตใ หต ิดตั้งอยดู า นหนาและวางตามความยาวของตวั รถยนต
เนือ่ งจากมคี ณุ สมบัติในการระบายความรอนไดดรี วมท้ังสามารถกระจายน้ําหนกั รถและนา้ํ หนกั
บรรทุกลงที่ตาํ แหนงทุกลอ เทากัน

หนาท่ีของสวนประกอบการขับเคลือ่ นลอ หลัง

.1เคร่อื งยนตขับเคล่อื นลอหลงั ทําหนา ที่ เปนตัวตน กาํ ลงั ในการสง ถายแรงบดิ จากเครอื่ งยนต

ไป ขบั เคลอื่ นลอหลงั

.2คลัตช ทาํ หนา ที่ ตัดและตอ กาํ ลงั ระหวางเคร่ืองยนตก บั กระปุกเกียร

.3กระปกุ เกียร ทาํ หนา ท่ี เปลย่ี นอัตราทดความเรว็ ของรถยนต

.4ขอตอเลอ่ื น ทําหนาที่ ปรับระยะความยาวหรือความสน้ั ของเพลากลางในขณะลอ หลงั เคลื่อนท่ีขนึ้ ลง-

.5ขอตอ ออนแบบกากบาท ทําหนาที่ ปรับการเปลย่ี นแปลงการหกั เหเชิงมมุ ของเพลากลาง

.6เพลากลาง ทาํ หนาท่ี สงกําลงั จากกระปกุ เกยี รไปยงั เฟอ งทาย

.7ตกุ ตาเพลากลางหรอื ลกู ปนรองรบั เพลากลาง ทาํ หนาท่ี รองรบั เพลากลางไมใ หส ั่นสะเทือน

.8เฟองทาย ทําหนาท่ี ปรบั ความเรว็ ของลอดานขวาและดา นซา ยทแ่ี ตกตา งกนั ใหมคี วามสมดลุ

ขณะเลยี้ วโคง และปรับความเร็วของลอ ใหเ ทา กนั ในขณะขบั ทางตรง

.9เพลาขา ง ทาํ หนา ท่ี รบั กําลังจากเฟอ งทา ยสงไปยงั ลอรถยนต

.10เพลาทา ย ทําหนา ท่ี รองรับนํ้าหนกั ของรถยนตแ ละเปน ที่ตดิ ต้ังสวนประกอบตางๆ ของ

รถยนต

ขอเปรียบเทยี บการขบั เคลื่อนลอ หนา และการขบั เคลอื่ นลอหลัง

การขับเคลอ่ื นลอหนา การขับเคล่อื นลอหลัง

.1ควบคมุ ทิศทางการเล้ยี วโคง ไดแ มนยาํ ในขณะขบั ขี่ .1มีพื้นทบี่ รรทกุ มากวารถ

บนถนนล่นื หรือ ทางลาดชัน ขบั เคลอ่ื นลอหนา

.2มนี าํ้ หนักกดลงท่ีตาํ แหนง ลอ หนามากกวาการขบั เคลอ่ื นลอ .2การบาํ รงุ รักษาสะดวก เพราะ

หลงั ทาํ ใหม ีความปลอดภัยดีกวา เฟองทาย

.3มพี ื้นทใ่ี นหอ งโดยสารเพม่ิ ข้นึ เน่อื งจากไมม ีเพลา และกระปุกเกียรติดตั้งใหแ ยกกัน

กลาง .3การควบคุมทศิ ทางการเลย้ี ว

.4เฟองทา ยและกระปกุ เกยี รร วมอยูใ นชดุ เดยี วกนั โคง ไม

ขนาดเลก็ กะทัดรัดทําใหน ้ําหนกั รถเบา แมนยาํ ขณะขับขี่บนถนนลืน่ หรอื

.5นา้ํ หนกั เบาและประหยดั นา้ํ มันเชอ้ื เพลงิ ทางลาดชัน

เพราะไมมี เพลาทา ย และ เพลากลาง .4ในขณะเล้ยี วโคงดว ยความเร็วสงู ทาํ ให

.6ขับขี่สบายกวา รถขบั ลอ หลังเนื่องจากไมม อี าการ ลอหลังลืน่ ไถลออกนอกโคง

สน่ั ของเพลากลาง .5หอ งโดยสารมีพ้นื ท่นี อ ยเนอื่ งจากมี

.7 เพลาขบั ลอ หนา ชาํ รดุ สึกหรอเรว็ โดยเฉพาะ โพรงของเพลากลาง

ขอตอ ความเร็วคงทแี่ ละยางหมุ ขอตอ

เนื่องจากเพลาขบั ลอทาํ หนาท่ีขบั ลอและ

เลีย้ วไปพรอ มกนั

.8การบํารงุ รักษาและการตรวจซอมไมส ะดวก

เพราะเครื่องยนตก ระปกุ เกยี รร ะบบบงั คบั

เลย้ี วรวมอยูดา นหนา รถ

ภาพสวนประกอบของระบบสง กําลงั

หมายเลข ขอ ตอ ออนแบบกากบาท 1 )Universal joint( หมายเลข 2 ขอตอออนแบบกากบาท )Universal joint(

หมายเลข 3 เฟอ งทา ย )Rear Differential หมายเลข (4 เคร่อื งยนต )Engine(

หมายเลข 5 เพลากลาง )Propeller shaft หมายเลข (6 กระปกุ เกยี ร )Transmission(

หมายเลข 7 ลูกยางเพลากลาง )Rubber หมายเลข (8 ขอตอ เลอื่ น )Slip joint(

หมายเลข 9 คลัตช )Clutch( หมายเลข 10 เพลากลาง )Propeller

shaft หมายเลข(11 เพลาทา ย )Rear axle12 หมายเลข ( ขอตอ ออนแบบ

กากบาท )Universal joint(

แบบทดสอบหลงั เรยี น

๑. ขอใดไมใ ชโ ครงสรางและสว นประกอบของระบบสงกําลงั รถยนต
จ. เคร่อื งยนต
ฉ. กระปกุ เกยี ร
ช. แหนบ
ซ. เฟองทา ย

๒. ขอ ใดคือโครงสรางและสวนประกอบของระบบสง กาํ ลงั รถยนต
จ. ขอ ตอออน
ฉ. แหนบ
ช. สปรงิ
ซ. โชกอพั

๓. การขบั เคลือ่ นของรถยนตแ บบใดทอ่ี อกแบบใหกระปกุ เกยี รและเฟอ งทา ยรวมในชดุ เดียวกนั
จ. การขบั เคลื่อนลอหลงั
ฉ. การขับเคลื่อน 4 ลอ
ช. การขบั เคลอื่ นลอ หนา
ซ. การขับเคล่อื น 2 ลอหลงั

๔. ระบบสง กาํ ลงั สําหรบั รถยนตนง่ั และบรรทกุ มกี ารออกแบบอตั ราทดเกียรธรรมดาอยางไร
จ. 4 เกยี รเดินหนา ,1 เกยี รถ อยหลัง
ฉ. 5 เกยี รเ ดินหนา ,1 เกียรถอยหลงั
ช. 5 เกยี รเ ดินหนา ,1 เกยี รถ อยหลัง ,1 เกยี รวาง
ซ. 4 เกียรเดนิ หนา ,1 เกยี รถอยหลัง ,1 เกียรวาง

๕. การขับเคล่อื นรถยนตม ีก่ชี นดิ
จ. 2 ชนดิ
ฉ. 3 ชนิด
ช. 4 ชนิด
ซ. 5 ชนิด

work shop ๑

จงเตมิ ขอความเกี่ยวกบั ขอเปรยี บเทียบการขับเคลอื่ นลอหนา และการขบั เคลื่อนลอ หลงั

ลงในตารางตอไปน้ี

การขับเคลื่อนลอ หนา การขบั เคลือ่ นลอหลัง

.1ควบคุมทศิ ทางการเลย้ี วโคง ไดแมนยํา .1มพี ้นื ที่บรรทกุ มากวารถ...................

ในขณะขบั ข่บี นถนน...................หรอื .2การบาํ รงุ รกั ษาสะดวก เพราะ

................... ...................

.2มนี า้ํ หนกั กดลงทตี่ าํ แหนง ................... และ...................ติดตั้งใหแยกกนั

มากกวา การขบั เคลอื่ น................... .3การควบคมุ ทศิ ทางการ...................ไม

ทาํ ใหม.ี ..................ดีกวา แมนยาํ ขณะขับขี่บน...................หรอื

.3มพี ้นื ทีใ่ นหอ งโดยสารเพม่ิ ขึ้นเน่ืองจากไมม ี ...................

................... .4ในขณะเล้ียวโคง ดว ยความเรว็ สงู ทาํ ให

.4เฟอ งทา ยและ...................รวมอยูใ น ...................ไถลออก...................

ชดุ เดียวกนั ขนาดเลก็ กะทัดรดั ทําใหน าํ้ หนัก .5หอ งโดยสารม.ี ..................เน่ืองจากมี

รถเบา โพรงของ...................

.5นํา้ หนกั เบาและประหยดั ...................

เพราะไมมี ...................และ ...................

.6ขบั ขีส่ บายกวารถขบั ...................

เนอ่ื งจากไมมีอาการสัน่ ของ...................

.7เพลาขับลอหนาชาํ รุดสึกหรอเรว็ โดยเฉพาะ

...................และ...................ขอตอ

เนอ่ื งจาก...................ทาํ หนา ท่ีขบั ลอ และ

...................ไปพรอมกัน

.8การบํารงุ รกั ษาและการตรวจซอ มไมส ะดวก

เพราะเครื่องยนต. ..................ระบบบังคบั

เลยี้ วรวมอย.ู ..................

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
1ค
2ก
3ค
4ค
5ข

แนวทางในการวดั ผลและประเมินผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู

ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรูระบบสง กาํ ลงั รถยนตผ เู รียน ชัน้ ประกาศนยี บตั ร ในกรอบ

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู ดงั นี้

สมรรถนะ จดุ ประสงค ระดับการวัด / วิธกี ารวดั และ เครอ่ื งมือวดั

พฤติกรรม ประเมินผล และประเมนิ ผล

แสดง เพ่อื ใหนกั เรียน เขาใจ/อธิบาย การทดสอบ แบบทดสอบ
ความรู ความรเู กีย่ วกับ
โครงสรา งและ
เกีย่ วกบั
โครงสราง สวนประกอบของ
และ ระบบสง กําลงั
รถยนต ชนิดของ
สว นประก
อบของ ระบบสง กําลัง
ระบบสง รถยนต
สว นประกอบของ
กําลัง
รถยนต คลัตชร ถยนต

ชนิดของ

ระบบสง

กําลงั

รถยนต

สวนประก

อบของ

คลตั ช

รถยนต

โครงสรา งและ เพอื่ ใหนกั เรียนบอก ความถูกตองความ การประเมนิ ความ แบบประเมนิ

สว นประกอบของ โครงสรา งและ เขา ใจอธบิ าย เขา ใจในการอธบิ าย แบบทดสอบ

ระบบสง กําลงั สวนประกอบของ

รถยนต ชนดิ ของ ระบบสง กําลัง

ระบบสง กาํ ลงั รถยนต ชนดิ ของ

รถยนต ระบบสง กําลัง

สวนประกอบของ รถยนต

คลัตชร ถยนต สว นประกอบของ

คลัตชรถยนต


Click to View FlipBook Version