The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออ่านเพิ่มเติม การย้อมฝ้ายโดยใช้สีจากธรรมชาติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lnpwcpp191247, 2022-04-04 10:31:53

หนังสืออ่านเพิ่มเติม การย้อมฝ้ายโดยใช้สีจากธรรมชาติ

หนังสืออ่านเพิ่มเติม การย้อมฝ้ายโดยใช้สีจากธรรมชาติ

Keywords: หนังสือ,ท้องถิ่น,ฝ้าย

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

การย้อมฝ้ายโดยใช้สีจากธรรมชาติ



คำนิยม

ก า ร ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง ร า ว ข อ ง ก า ร ย้ อ ม สี เ ส้ น ฝ้ า ย จ า ก ธ ร ร ม ช า ติ
โ ด ย เ ชื่ อ ม โ ย ง กั บ ผ้ า ท อ ล า ย โ บ ร า ณ ด อ ย เ ต่ า ที มี ค ว า ม ล ะ เ อี ย ด
ป ร ะ ณี ต แ ล ะ ส ว ย ง า ม มี ค ว า ม เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ ง อำ เ ภ อ ด อ ย เ ต่ า
ทำให้ผู้เรียน มีความสนใจและเห็นคุณค่าของงานผ้าทอมือ

ง า น ท อ ผ้ า ถื อ เ ป็ น ง า น ศิ ล ป ะ อ ย่ า ง ห นึ่ ง ที่ แ ส ด ง ถึ ง วิ ถี ชี วิ ต
ชุมชนความละเอียดอ่อน ลวดลาย สะท้อนให้เห็นจิตใจที่
งดงามของผู้ผลิตชิ้นงาน ขอชื่นชม นักเรียนทุกคน ที่ได้
รวบรวมเรื่องราว และได้ปฏิบัติเรียนรู้ร่วมกับภูมิปัญญาท้อง
ถิ่ น เ กี่ ย ว กั บ เ รื่ อ ง ขั้ น ต อ น ใ น ก า ร ย้ อ ม เ ส้ น ฝ้ า ย จ า ก สี ธ ร ร ม ช า ติ ที่
ใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น ทำให้นักเรียได้เรียนรู้และสร้างองค์ความ
รู้ และถ่ายทอดให้กับรุ่นน้องต่อไป

​ว่าที่ร้อยตรีหญิงเอื้อมพร หาญสนามยุทธ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิ เศษ



คำนำ

หนังสืออ่านเพิ่ มเติม เรื่อง การย้อมผ้าโดยใช้สีจาก

ธรรมชาติ มีจุดมุ่งหมายเพื่ อให้นักเรียนหรือผู้ที่ต้องการที่

จะศึกษาและสนใจในลายผ้าทอโบราณของ อำเภอดอยเต่า

จังหวัดเชียงใหม่ซึ่งใช้วิธีการย้อมสีเส้นฝ้ายจากสีของพื ช

ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ โดยมีการฝึกปฏิบัติจริง ณ ศูนย์

เรียนรู้ผ้าทอมือบ้านชั่ง ตำบลท่าเดื่อ อำเภอดอยเต่า

จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่ เพื่ อให้ผู้ที่ต้องการจะศึกษาได้เห็น

คุ ณ ค่ า ข อ ง ง า น ผ้ า ท อ มื อ แ ล ะ ร่ ว ม อ นุ รั ก ษ์ สื บ ท อ ด ก า ร ท อ ผ้ า

ซึ่งจะเป็นพื้ นฐานให้ผู้ศึกษาสามารถนำไปใช้ในการประกอบ

เ ป็ น อ า ชี พ ธุ ร กิ จ ไ ด้

สารบัญ หน้า

เรื่อง ก
คำนิยม

คํานํา ข
จุดประสงค์

ประโยชน์ที่จะได้รับ ค
การย้อมฝ้ายโดยใช้สีจากธรรมชาติ

ผู้ให้ข้อมูล ง
ประวัติผู้เรียบเรียง







ช-ฌ

สารบัญภาพประกอบ

ภาพที่ 1 เส้นฝ้ ายที่เตรียมนำมาทอ หน้า
ภาพที่ 2 การทอผ้าทอมือ
ภาพที่ 3 ขุดขมิ้น 1
ภาพที่ 4 ขมิ้น

ภาพที่ 5 นำขมิ้นมาล้างทำความสะอาด 1
ภาพที่ 6 ตำขมิ้นพอหยาบ

ภาพที่ 7 ก่อไฟ 2
ภาพที่ 8 ภาชนะสำหรับต้มฝ้ าย

ภาพที่ 9 การมัดเส้นฝ้ าย 2
ภาพที่ 10 เส้นฝ้ ายที่มัดสำเร็จเตรียมนำไปต้ม

ภาพที่ 11 นำเส้นฝ้ ายลงไปต้มในน้ำขมิ้น 3
ภาพที่ 12 เส้นฝ้ ายขณะต้ม

ภาพที่ 13 นำเส้นฝ้ ายออกมาล้างน้ำสะอาด 3
ภาพที่ 14 การซักฝ้ ายรอบที่ 3

4


4


5


5


6


6


7


7

ภาพที่ 15 แกะเชือกฟางที่มัดออก หน้า
ภาพที่ 16 การตากฝ้าย
ภาพที่ 17 ฝานเอาเปลือกต้นมะริดไม้ 8
ภาพที่ 18 เปลือกต้นมะริดไม้

ภาพที่ 19 เปลือกมะริดไม้แช่น้ำ 1 คืน 8
ภาพที่ 20 ต้มเปลือกมะริดไม้

ภาพที่ 21 นำเปลือกมะริดไม้ลงไปต้ม 9
ภาพที่ 22 เตรียมนำฝ้ายไปซักและตาก

ภาพที่ 23 แช่เปลือกต้นลำไย 9
ภาพที่ 24 ต้มน้ำเปลือกต้นลำไย

ภาพที่ 25 โรยเกลือลงบนน้ำต้มเปลือกลำไย 10
ภาพที่ 26 นำฝ้ายลงไปต้มในน้ำเปลือกต้นลำไย

ภาพที่ 27 เขี่ยฝ้ายเพื่อให้น้ำสีซึมเข้าได้ดี 10
ภาพที่ 28 นำฝ้ายขึ้นซักและตากให้แห้ง

ภาพที่ 29 ต้มน้ำแช่เปลือกผักเฮือด 11
ภาพที่ 30 แช่ฝ้าย

11


12


12


13


13


14


14


15


15

ภาพที่ 31 ต้มฝ้ายในน้ำสีเปลือกผักเฮือด หน้า
ภาพที่ 32 เตรียมนำฝ้ายขึ้นซักทำความสะอาด
ภาพที่ 33 การซักทำความสะอาดฝ้าย 16
ภาพที่ 34 แกะเส้นฝ้ายที่พันกันออก

ภาพที่ 35 แกะเชือกฟางออก
ภาพที่ 36 การตากฝ้าย 16
ภาพที่ 37 เส้นฝ้าย

ภาพที่ 38 เส้นฝ้าย
ภาพที่ 39 เส้นฝ้าย 17
ภาพที่ 40เส้นฝ้าย

ภาพที่ 41 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือโบราณดอยเต่าจาก
สีธรรมชาติ 17
ภาพที่ 42 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือโบราณดอยเต่าจาก

สีธรรมชาติ
ภาพที่ 43 ชาวบ้านที่มีใจรักในการทอผ้า 18
ภาพที่ 44 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือโบราณดอยเต่าจาก

สีธรรมชาติ
18



19



19



20



20



21





21





22



22

ภาพที่ 45 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือโบราณดอยเต่าจากสี หน้า
ธรรมชาติ
23
ภาพที่ 46 ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มทอผ้าบ้านชั่ง




23



จุดประสงค์

1 เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าเป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติมใน
เรื่อง การย้อมฝ้ายโดยใช้สีจากธรรมชาติ

2 นักเรียนรู้และเข้าใจถึงเรื่องเอกลักษณ์และลวดลายผ้าทอ
ดอยเต่า



ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเอกลักษณ์และ
ลวดลายผ้าทอมีความภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ผ้าทอ
ดอยเต่าและอนุรักษ์สืบทอดลวดลายผ้าทอดอยเต่าได้

2 นักเรียนมีความสุขในการทำกิจกรรม
3 นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพนำความรู้และทักษะการ

ทำงานไปใช้เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ



การย้อมฝ้ายโดยใช้
สีจากธรรมชาติ

ผ้าทอมือดอยเต่าเป็นศิลปะวัฒนธรรมที่นับว่าเป็นกันมาจากรุ่นแม่สู่ลูก
ดังนั้นผ้าทอจึงมีความเป็นเอกลักษณ์ที่สื่อความเป็นกลุ่มชนเผ่าของแต่ละ
ท้องถิ่นที่สะท้อนให้เห็นความคิดความเชื่ออุดมการณ์ทางสังคมอันผูกพัน
กับธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตอีกทั้งยังเป็นสิ่งที่แสดงถึงคุณสมบัติ
ของสตรีที่จะออกไปมีครอบครัวความเป็นแม่บ้านแม่เรือนซึ่งเป็นสาเหตุ
หนึ่งที่ผู้หญิงสมัยก่อนต้องฝึกหัดและแข่งขันกันผลิตผ้าทอที่แสดงถึง
ความสามารถความอดทความพยายามและแข่งขันเพื่อจะได้ผ้าทอที่มีความ
สวยงามและประณีตที่สุด

ในสมัยก่อนการที่จะนำฝ้ายมาทอเป็นผืนได้นั้นจะต้องมีการย้อมฝ้าย
ก่อนเพื่อให้ได้สีที่สวยงามแต่ในสมัยนั้นยังไม่มีสีเคมีเหมือนในปัจจุบัน จึงมี
การนำสีจากธรรมชาติมาเป็นสีย้อมโดยได้สีมาจากต้นไม้ชนิดต่างๆ เช่น สี
แดงจากผักเฮือด สีน้ำตาลจากต้นลำไย สีเขียวขี้ม้าจากมะริดไม้ และสี
เหลืองจากขมิ้น กว่าจะได้ผ้าทอมือ 1 ผืนต้องผ่านกรรมวิธีหลายขั้นตอน
เพราะฉะนั้นผ้าทอมือโบราณจึงถือเป็นงานศิลปะที่มีคุณค่าควรอนุรักษ์และ
สืบทอดต่อไป

1

ภาพที่ 1 เส้นฝ้ายที่เตรียมนำมาทอ
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

ภาพที่ 2 การทอผ้าทอมือ
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

2

การย้อมสีฝ้ายจากสีธรรมชาติ

ขั้นตอนที่ 1 หาพืชที่ต้องการนำมาต้มเพื่อให้ได้สีที่ต้องการ

ภาพที่ 3 ขุดขมิ้น
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

ภาพที่ 4 ขมิ้น
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

3

ขั้นตอนที่2 นำขมิ้นไปล้างน้ำเพื่อไล่ดินที่ติดอยู่และมาตำพอหยาบเพื่อให้ขณะ
ต้มขมิ้นจะได้ออกสีมากขึ้นกว่าเดิม

ภาพที่ 5 นำขมิ้นมาล้างทำความสะอาด
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

ภาพที่ 6 ตำขมิ้นพอหยาบ
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

4

ขั้นตอนที่ 3 ก่อไฟและรองน้ำใส่ภาชนะที่ใช้จะใช้ต้มปริมาณน้ำ 2 ส่วน 4 ของภาชนะ
และนำขมิ้นลงไปต้ม

ภาพที่ 7 ก่อไฟ
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

ภาพที่ 8 ภาชนะสำหรับต้มฝ้าย
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

5

ขั้นตอนที่ 4 มัดฝ้ายด้วยเชือกฟางให้แน่นโดยมัดให้มีลักษณะเป็นปล่อง
เพราะขณะนำไปต้มในน้ำขมิ้นจะได้เกิดการเล่นสีบนเส้นฝ้าย

ภาพที่ 9 การมัดเส้นฝ้าย
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

ภาพที่ 10 เส้นฝ้ายที่มัดสำเร็จเตรียมนำไปต้ม
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

6

ขั้นตอนที่ 5 เมื่อน้ำขมิ้นเดือดแล้วนำฝ้ายลงไปต้มในน้ำขมิ้นเป็นเวลา 1 ชั่วโมง

ภาพที่ 11 นำเส้นฝ้ายลงไปต้มในน้ำขมิ้น
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

ภาพที่ 12 เส้นฝ้ายขณะต้ม
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

7

ขั้นตอนที่ 6 นำฝ้ายที่ต้มแล้วไปล้างด้วยน้ำสะอาด 3 น้ำ

ภาพที่ 13 นำเส้นฝ้ายออกมาล้างน้ำสะอาด
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

ภาพที่ 14 การซักฝ้ายรอบที่ 3
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

8

ขั้นตอนที่ 7 นำฝ้ายที่ล้างทำความสะอาดแล้วแกะเชือกฟางออกและนำไป
ตากให้แห้ง

ภาพที่ 15 แกะเชือกฟางที่มัดออก
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

ภาพที่ 16 การตากฝ้าย
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

9

- ภาพขั้นตอนการย้อมฝ้ายจากสีของต้นมะริดไม้ -

ภาพที่ 17 ฝานเอาเปลือกต้นมะริดไม้
ที่มา : ชโลทร ฤกษ์นิยม

ภาพที่ 18 เปลือกต้นมะริดไม้
ที่มา : ชโลทร ฤกษ์นิยม

10

ภาพที่ 19 เปลือกมะริดไม้แช่น้ำ 1 คืน
ที่มา : ชโลทร ฤกษ์นิยม

ภาพที่ 20 ต้มเปลือกมะริดไม้
ที่มา : ชโลทร ฤกษ์นิยม

11

ภาพที่ 21 นำเปลือกมะริดไม้ลงไปต้ม
ที่มา : ชโลทร ฤกษ์นิยม



ภาพที่ 22 เตรียมนำฝ้ายไปซักและตาก
ที่มา : ชโลทร ฤกษ์นิยม

12

- ภาพขั้นตอนการย้อมฝ้ายจากสีของเปลือกต้นลำไย -

ภาพที่ 23 แช่เปลือกลำไย
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

ภาพที่ 24 ต้มน้ำเปลือกต้นลำไย
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

13

ภาพที่ 25 โรยเกลือลงบนน้ำต้มเปลือกลำไย
ที่มา : ลัลนาพร วิชัยประภา

ภาพที่ 26 นำฝ้ายลงไปต้มในน้ำเปลือกต้นลำไย
ที่มา : ลัลนาพร วิชัยประภา

14

ภาพที่ 27 เขี่ยฝ้ายเพื่อให้น้ำสีซึมเข้าได้ดี
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

ภาพที่ 28 นำฝ้ายขึ้นซักและตากให้แห้ง
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

15

- ภาพขั้นตอนการย้อมฝ้ายจากสีของเปลือกต้นผักเลือด -

ภาพที่ 29 ต้มน้ำแช่เปลือกผักเฮือด
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

ภาพที่ 30 แช่ฝ้าย
ที่มา : ลัลนาพร วิชัยประภา

16

ภาพที่ 31 ต้มฝ้ายในน้ำสีเปลือกผักเฮือด
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์



ภาพที่ 32 เตรียมนำฝ้ายขึ้นซักทำความสะอาด
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

17

ภาพที่ 33 การซักทำความสะอาดฝ้าย
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์



ภาพที่ 34 แกะเส้นฝ้ายที่พันกันออก
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

18

ภาพที่ 35 แกะเชือกฟางออก
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์



ภาพที่ 36 การตากฝ้าย
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

19

ฝ้ายที่แห้งสนิทและสามารถนำไปทอได้

ภาพที่ 37 เส้นฝ้าย
ที่มา : ศราวุทธ เพาะเจาะ




ภาพที่ 38 เส้นฝ้าย
ที่มา : ศราวุทธ เพาะเจาะ

20

ภาพที่ 39 เส้นฝ้าย
ที่มา : ศราวุทธ เพาะเจาะ




ภาพที่ 40 เส้นฝ้าย
ที่มา : ขวัญชีวา ใจเฉียง

21

รู ป ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ า ก ศู น ย์ ก า ร
เ รี ย น รู้ ก ลุ่ ม ท อ ผ้ า บ้ า น ชั่ง

กว่าจะได้ผ้าทอมือแต่ละผืนมันถูกถักทอจากจิตวิญญาณของผู้ทอและ
ต้องทุ่มทั้งกายและใจ เป็นอาชีพที่ต้องมีใจรักจริงๆจึงจะสามารถทำได้นาน
เราในฐานะคนรุ่นใหม่จึงควรสืบสารวัฒนธรรมอันมีค่าของท้องถิ่นของตน
เพื่อไม่ให้มันสูญหายไป

22

ภาพที่ 41 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือโบราณดอยเต่าจากสีธรรมชาติ
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์



ภาพที่ 42 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือโบราณดอยเต่าจากสีธรรมชาติ
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

24

ภาพที่ 43 ชาวบ้านที่มีใจรักในการทอผ้า
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์



ภาพที่ 44 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือโบราณดอยเต่าจากสีธรรมชาติ
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

25

ภาพที่ 45 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือโบราณดอยเต่าจากสีธรรมชาติ
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์



ภาพที่ 46 ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มทอผ้าบ้านชั่ง
ที่มา : ดุสิตา ทองจันทร์

งฉ

ผู้ให้ข้อมูล



ป ร ะ วั ติ

ผู้ เ รี ย บ เ รี ย ง

นางสาวลัลนาพร วิชัยประภา

ชื่อเล่น แพร์ อายุ 17 เกิดวันที่19 ธันวาคม 2547
เกิดที่โรงพยาบาลตะโหมด ตำบลแม่ขรี อำเภอ
ระโนด จังหวัดพัทลุง ปัจจุบันอาศัยอยู่หมู่บ้าน
ห้วยส้ม ตำบลท่าเดื่อ อำเภอดอยเต่า จังหวัด
เชียงใหม่ กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ศึกษาอยู่ที่โรงเรียนดอยเต่าวิทยาคม เคยผ่าน
การแข่งขัน business model ได้รับรางวัลรอง
ชนะเลิศอันดับ 2 จากมหาลัยราชภัฏเชียงใหม่



ป ร ะ วั ติ

ผู้ เ รี ย บ เ รี ย ง

นางสาวชโลทร ฤกษ์นิยม

ชื่อเล่น แฟง อายุ 17 ปี เกิดที่จังหวัดอุบลราชธานี
ย้ายมาอาศัยที่กรุงเทพมหานครเมื่ออายุ 4 ปี และ
ย้ายมาอาศัยที่หมู่บ้านแปลง 3 อำเภอดอยเต่า
จังหวัดเชียงใหม่เมื่ออายุ 10 ปี จนถึงปัจจุบัน เข้า
รับการศึกษาที่โรงเรียนดอยเต่าวิทยาคม ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 มีตำแหน่งเป็นนักร้องของ
โรงเรียนผ่านการแข่งขันรายการ omkoi fest ปี
2565 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศลำดับที่1




ป ร ะ วั ติ

ผู้ เ รี ย บ เ รี ย ง

นางสาวดุสิตา ทองจันทร์

ชื่อเล่น บูม อายุ 17 ปี เกิดที่อำเภอดอยเต่า
จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่หมู่บ้านฉิมพลี
อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ เข้ารับการศึกษา
ที่โรงเรียนดอยเต่าวิทยาคม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เคยผ่านการแข่งขัน business model ได้รับ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากมหาลัยราชภัฏ
เชียงใหม่


Click to View FlipBook Version