The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by beam.maliwan3, 2019-06-19 23:17:35

Unit 3

Unit 3

บทท่ี 3 ครคู ัธรยี า มะลวิ ลั ย์

การจดั การ แผนกวชิ าสตั วศาสตร์
สง่ิ แวดล้อม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา
ในฟารม์ สตั วเ์ ล้ียง

การจัดการส่ิงแวดล้อมในฟารม์ สตั ว์เลี้ยง 24

บทที่ 3

การจัดการส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลย้ี ง

หัวขอ้ เรื่อง
1. หลักปฏบิ ัตใิ นการจัดการสงิ่ แวดลอ้ มในฟาร์มสตั วเ์ ล้ยี ง
2. การจัดการส่งิ แวดล้อมตามมาตรฐานฟารม์ สตั ว์เลี้ยง
3. การปรับสภาพแวดลอ้ มในฟารม์ สตั ว์เลีย้ ง

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้(นาทาง)
1. เพอื่ ให้มีความรู้และเข้าใจเกยี่ วกับมาตรฐานสงิ่ แวดล้อมในฟารม์ สตั ว์เลยี้ ง
2. เพ่อื ใหม้ คี วามรแู้ ละเขา้ ใจเก่ียวกบั หลักปฏบิ ตั ใิ นการจัดการส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสตั ว์เลี้ยง
3. เพอื่ ใหม้ คี วามรแู้ ละเข้าใจเกีย่ วกบั การปรับสภาพแวดล้อมในฟาร์มสตั วเ์ ลี้ยง

จุดประสงค์การเรียนรู้(ปลายทาง)
1. อธิบายมาตรฐานสิ่งแวดลอ้ มในฟารม์ สตั ว์เลยี้ งได้
2. อธบิ ายหลักปฏบิ ตั ใิ นการจัดการส่ิงแวดล้อมในฟารม์ สัตว์เลีย้ งได้
3. บอกวิธีการปรับสภาพแวดล้อมในฟารม์ สัตว์เลี้ยงได้

เนอ้ื หาสาระ
ในการเล้ียงสัตว์สภาพแวดล้อมเป็นปัจจัยท่ีมีผลต่อสภาพความเป็นอยู่ของสตั ว์เป็นอยา่ งมาก

เนื่องจากสัตว์จะสามารถรบั รู้ถึงความเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อยา่ งรวดเร็วและจะส่งผลต่อ
ตัวสัตว์ เช่น สภาพอากาศร้อน สัตว์จะเกิดความเครียด กินอาหารน้อยลง กินน้าเพิ่มมากขึ้นเพ่ือ
ช่วยระบายความรอ้ นในรา่ งกาย นอกจากนี้สัตวบ์ างตัวท่ไี ม่สามารถปรับตัวได้ก็จะเกิดอาการช็อคและ
ตายไปในทส่ี ุด

ดังน้นั ในการเลย้ี งสัตว์ผ้เู ล้ยี งหรือเจ้าของฟาร์มจงึ ควรใหค้ วามสนใจและมกี ารดแู ลในเรอื่ งของ
การจัดสภาพแวดล้อมภายในฟาร์มให้เหมาะสมกับสัตว์ เพ่ือช่วยให้สัตว์อยู่ได้สบายและไม่ก่อให้เกิด
โรคแกส่ ัตว์ ท้าใหไ้ ดผ้ ลผลติ เป็นทีน่ ่าพอใจส้าหรับผ้ปู ระกอบการ

1. หลักปฏบิ ตั ใิ นการจดั การส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสัตวเ์ ล้ียง
ในการเล้ียงสตั วส์ ภาพแวดล้อมเป็นปัจจยั ท่มี ีผลต่อสภาพความเปน็ อยขู่ องสตั วเ์ ปน็ อยา่ งมาก

เน่ืองจากสัตว์จะสามารถรับรู้ถึงความเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอ้ มไดอ้ ย่างรวดเร็วและจะสง่ ผลตอ่
ตัวสตั ว์ เช่น สภาพอากาศร้อน สัตว์จะเกดิ ความเครยี ด กนิ อาหารน้อยลง กนิ น้าเพิ่มมากขึ้นเพ่ือช่วย
ระบายความรอ้ นในรา่ งกาย นอกจากนส้ี ตั วบ์ างตวั ท่ีไม่สามารถปรบั ตัวได้กจ็ ะเกดิ อาการช็อคและตาย
ไปในที่สุด

การจัดการส่งิ แวดล้อมในฟารม์ สัตว์เลยี้ ง 25

ดังน้นั ในการเลยี้ งสัตว์ผ้เู ลยี้ งหรือเจ้าของฟาร์มจึงควรให้ความสนใจและมีการดแู ลในเรือ่ งของ
การจัดสภาพแวดล้อมภายในฟาร์มให้เหมาะสมกับสัตว์ เพ่ือช่วยให้สัตว์อยู่ได้สบายและไม่ก่อให้เกิด
โรคแก่สัตว์ ท้าให้ได้ผลผลิตเป็นที่น่าพอใจส้าหรับผู้ประกอบการ ซึ่งหลักในการปฏิบัติเกี่ยวกับการ
จดั การสงิ่ แวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลย้ี งมดี งั ตอ่ ไปนี้

1.1 การวเิ คราะห์หาสาเหตุท่ีต้องปรับปรงุ
ในการวิเคราะห์หาสาเหตทุ ่ีตอ้ งปรับปรุงสภาพแวดลอ้ มภายในฟารม์ น้ัน ตอ้ งมีความรู้ในเรื่อง
การเล้ียงสัตว์พอสมควร เพราะว่าจะต้องทราบว่าสภาพแวดล้อมแบบไหนท่ีสัตว์อยู่แล้วสบาย และ
สภาพแวดล้อมแบบไหนท่ีสมควรได้รับการปรับปรุงส้าหรับการวิเคราะห์หาสาเหตุที่ต้องปรับปรุง
สภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมกับการเลี้ยงสตั วน์ นั้ มจี ุดประสงค์ ดงั นี้

(1) เพื่อหาสาเหตุที่ต้องแก้ไขปรับปรุงให้สภาพแวดล้อมภายในฟาร์มมีความ
เหมาะสมและเออื้ ประโยชน์ต่อการเลีย้ งสัตว์มากทีส่ ุด

(2) เพอ่ื ให้สตั ว์อย่สู บายและใหผ้ ลผลติ ดี สาเหตุของสภาพแวดลอ้ มในฟาร์มเลย้ี งสตั ว์
ท่ีไม่เหมาะสมที่ส้าคัญที่สุดก็คือในเรื่องของสภาพอากาศ โดยเฉพาะอากาศร้อนจัดของประเทศไทย
ส่งผลท้าให้สตั ว์อยู่ไม่สบายและใหผ้ ลผลติ น้อย

1.2 การหาแนวทางในการปรับสภาพแวดล้อมในฟาร์มเลยี้ งสัตว์
อิทธิพลของภูมิอากาศแบบร้อนชื้น โดยเฉพาะช่วงฤดูร้อนและฤดูฝนจะมีสภาพแวดล้อม
อากาศร้อนและความชื้นสูง ส่งผลต่ออุณหภูมิของร่างกายสัตว์ ซึ่งจะต้องพยายามระบายความร้อนท่ี
เกดิ ขึน้ จากกระบวนการทา้ งานของรา่ งกายออกมาสู่ภายนอกดว้ ยวิธตี ่างๆ เช่น การน้าการพา และการ
แผ่รังสี เพ่ือรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงท่ี เพื่อปรับสภาพร่างกายให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
จงึ มีผลกระทบตอ่ การผลติ
1.3 การประเมนิ ผลการปรบั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมกบั การเลยี้ งสัตว์
ในการประเมินผลการปรับสภาพแวดล้อมสามารถท้าได้โดยการสังเกตพฤติกรรมของสัตว์
หลังจากมีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมแล้ว ถ้าสัตว์อยู่สบาย กินอาหารและน้าเป็นปกติ อัตราการ
เจริญเติบโตดี นน้ั กแ็ สดงวา่ แนวทางใช้ในการปรับปรงุ สภาพแวดล้อมนน้ั ได้ผล

2. การจัดการสิ่งแวดลอ้ มตามมาตรฐานฟารม์ สัตวเ์ ลย้ี ง

2.1 การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มตามมาตรฐานฟารม์ สัตวเ์ ลี้ยงของประเทศไทย
เพ่ือเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลี้ยง ในท่ีน้ีจะ
กล่าวถึงการก้าจัดของเสีย สิ่งปฏิกูลต่าง ๆ ตามมาตรฐานฟาร์มไก่ไข่ ฟาร์มสุกร และฟาร์มเป็ด
ซ่ึงจะต้องผ่านการก้าจัดอย่างเหมาะสม เพ่ือไม่ให้เกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมในกรณีที่มีน้าท้ิงจาก
ฟารม์ ออกสแู่ หลง่ น้าสาธารณะ ดังน้ี

การจัดการสง่ิ แวดลอ้ มในฟารม์ สตั ว์เล้ยี ง 26

1) การจดั การสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานฟารม์ ไกไ่ ข่ ฟาร์มจะต้องมีระบบการก้าจัดของเสีย
สิง่ ปฏกิ ูลต่างๆ ต้องผ่านการก้าจัดอย่างเหมาะสม เพ่ือไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในกรณีที่มีน้า
ทิง้ จากฟารม์ ออกส่แู หล่งนา้ สาธารณะจะต้องมกี ารบา้ บัดก่อน

(1) เกบ็ ซากไกอ่ อกจากเล้าทนั ทที ุกครั้งทม่ี ีการตรวจพบ โดยใสถ่ ุงพลาสติกกันน้า และ
ปดิ ปากถงุ ใหม้ ดิ ชดิ เพ่อื ป้องกันสัตวพ์ าหะนา้ โรคแลว้ น้าไปท้าลาย โดยการฝังหรือเผา

(2) การทา้ ลายสัตว์พาหะน้าโรค ให้ทา้ ลายโดยการฝังหรอื เผา
(3) วัสดุรองพืน้ ทเี่ ปียก หรอื จบั เป็นกอ้ น ให้ตักออกจากโรงเรือนทนั ที
(4) มูลไก่ควรมีการจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุของเช้ือโรค
และสัตว์พาหะน้าโรค
(5) กรณีปลดไก่ วัสดุรองพื้นควรได้รับการบ้าบัดด้วยยาฆ่าเชื้อโรค เพื่อป้องกัน
การฟงุ้ กระจายก่อนเคล่ือนยา้ ยรถท่บี รรทุกตอ้ งมีผา้ ใบคลุมป้องกนั การตกหล่นและห้ามนา้ กลับมาใช้อีก
(6) น้าท่ีใช้ในการล้างโรงเรือนและอุปกรณ์ในช่วงเตรียมโรงเรือน จะต้องมีการบ้าบัด
ก่อนท่ีจะปล่อยลงในแหล่งนา้ สาธารณะ
(7) พืน้ ท่ีรอบโรงเรือนรัศมอี ยา่ งนอ้ ย 3 เมตร ควรสะอาด

2) การจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานฟาร์มสุกร ของเสียจากฟาร์มสุกรมี 2 ประเภทหลัก
คือ ส่วนที่เป็นมูลสุกรและเศษอาหารท่ีตกค้างในคอก อีกส่วนหนึ่งเกิดจากการล้างคอกด้วยน้า และ
ปัสสาวะสุกรซ่ึงจะกลายเป็นน้าเสีย ดังนั้นฟาร์มจะต้องจัดให้มีระบบก้าจัดหรือบ้าบัดของเสียที่
เหมาะสมเพ่อื ไม่ให้เกดิ ผลกระทบต่อผูอ้ ยู่อาศยั ขา้ งเคียงหรือสง่ิ แวดลอ้ ม ดงั น้ี

(1) การก้าจัดของเสีย

ก. ขยะมูลฝอยต้องท้าการเก็บรวบรวมในภาชนะที่มิดชิด และน้าไปก้าจัด
ทิ้งในบริเวณที่ทงิ้ ของเทศบาล สุขาภบิ าล หรือองค์การบริหารสว่ นท้องถิ่น หรือรวบรวมและก้าจัดในท่ี
ก้าจัดขยะซ่ึงจดั ไว้เป็นสัดสว่ นแยกออกจากบริเวณทีเ่ ลย้ี งสกุ ร

ข. ซากสุกร ก้าจัดได้ 2 วิธี คือ กา้ จดั โดยการฝงั หรอื โดยการเผา
ค. มูลสุกร มีการกวาดเก็บและก้าจัดมูลสุกรที่เหมาะสมตามมาตรฐานของ
ทางราชการ เพ่ือไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลง และก่อให้เกิดกล่ินเหม็นเป็นที่ร้าคาญต่อผู้อยู่
อาศัยข้างเคียง รวบรวมมูลสุกรในที่เฉพาะ เพ่ือให้ง่ายต่อการจัดการและการขนถ่ายไปท้าประโยชน์
ตอ่ ไป เชน่ ใช้เป็นอาหารปลา ตากแหง้ หรอื หมักทา้ ปุ๋ย หรือนา้ ไปผลติ ก๊าซชีวภาพ
ง. น้าเสยี น้าเสียท่ีเกิดจากกิจกรรมตา่ งๆ ของการเลยี้ งสุกร ต้องมีการกา้ จัด
ที่จะไม่ก่อให้เกิดปญั หาต่อส่ิงแวดล้อมได้ โดยมีระบบระบายน้าเสยี ทร่ี ะบายไดค้ ล่อง ไมเ่ กดิ การอุดตัน
ระบายลง กักเกบ็ ในบ่อพัก เพอ่ื ท้าการบา้ บัดต่อไป จ้านวนและขนาดของบ่อต้องเพียงพอที่จะกักเก็บ
น้าเสียจากฟาร์มได้

การจัดการสงิ่ แวดล้อมในฟาร์มสตั ว์เลี้ยง 27

(2) การบ้าบัดนา้ เสยี

น้าเสียต้องได้รับการบ้าบัดก่อนที่จะระบายออกสู่ภายนอก น้าเสียท่ีผ่านการบ้าบัด
แล้ว ต้องมีการตรวจสอบคุณภาพน้าท้ิง โดยการตรวจสอบวิเคราะห์ค่า BOD, COD, pH, SS และ
TKN ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานควบคุมการระบายน้าท้ิง หากมีการน้าน้าทิ้งกลับมาใช้ในฟาร์มอีก
ต้องมกี ารทา้ ลายเช้ือโรค

มาตรฐานนา้ ท้ิงจากฟาร์มสุกร (ตารางที่ 3.1) ตามพระราชบัญญัติส่งเสรมิ และรักษา
คณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 เรื่องก้าหนดให้การเล้ียงสุกรเป็นแหลง่ กา้ เนิดมลพิษท่ีจะต้อง
ถกู ควบคมุ การปล่อยน้าเสียลงสู่แหล่งน้าสาธารณะหรอื ออกสู่ส่ิงแวดล้อม ได้กา้ หนดมาตรฐานควบคุม
การระบายน้าท้ิงจากแหล่งก้าเนิดมลพิษประเภทการเลี้ยงสุกร ซึ่งถ้ามีการปล่อยน้าเสียลงสู่แหล่งน้า
สาธารณะ หรือ ออกสู่ส่ิงแวดล้อม จะต้องมีมาตรฐานของน้าทิ้งเป็นไปตามประกาศของ
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ท้ังน้ีตามประกาศของกรมควบคุมมลพิษน้ีจะมีผล
เริม่ ใช้ในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ 2545 เป็นต้นไป ซง่ึ มคี ่ามาตรฐานน้าท้ิงของฟาร์มสกุ ร ดังนี้

ตารางท่ี 3.1 คา่ มาตรฐานน้าทิง้ ของฟารม์ สกุ ร

คุณสมบตั ิทางเคมขี องนา้ ท้ิง หนว่ ย ขนาดของฟาร์มสกุ ร
(มากวา่ 5,000 ตวั ) (500-5,000 ตัว) (50-500 ตวั )

pH 5.5-9 5.5-9 5.5-9

BOD (Biochemical Oxygen Demand) มก./ลติ ร 60 100 100

COD (Chemical Oxygen Demand) มก./ลิตร 300 400 400

TSS (Total suspended solids) มก./ลติ ร 150 200 200

TKN (Total Kjeldahl Nitrogen) มก./ลติ ร 120 200 200

ที่มา : รุง่ นภา (2544)

หมายเหตุ : หลักเกณฑ์การใช้นา้ หนกั หนว่ ยปศุสัตว์ เมื่อน้าหนกั หน่วยปศุสัตว์ 1 หน่วย เท่ากบั

น้าหนักสุกรรวม 500 กิโลกรมั โดย

น้าหนกั เฉล่ยี สกุ รพ่อ-แม่พันธุ์ เทา่ กบั 170 กโิ ลกรมั

นา้ หนกั เฉลย่ี สกุ รขุน เท่ากบั 60 กโิ ลกรมั

นา้ หนักเฉล่ยี ลกู สกุ ร เท่ากับ 12 กโิ ลกรัม

การจัดการสงิ่ แวดล้อมในฟารม์ สตั วเ์ ลี้ยง 28

3) การจดั การส่ิงแวดลอ้ มตามมาตรฐานฟารม์ เปด็ การกา้ จัดของเสยี สง่ิ ปฏิกูลตา่ งๆ ต้องผา่ น
การก้าจัดอย่างเหมาะสม เพ่ือไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในกรณีที่มีน้าท้ิงจากฟาร์มออกสู่
แหล่งน้าสาธารณะจะตอ้ งมกี ารบ้าบัดกอ่ น

(1) เก็บซากเป็ดออกจากเล้าทันทีทุกคร้ังท่ีมีการตรวจพบ โดยใส่ถุงพลาสติกกันน้า
และปดิ ปากถุงใหม้ ดิ ชดิ เพือ่ ปอ้ งกนั สตั ว์พาหะน้าโรคแล้วน้าไปทา้ ลายโดยการฝงั หรอื เผา

(2) การท้าลายสัตว์พาหะน้าโรค ให้ท้าลายโดยการฝังหรือเผา การท้าลายซากเป็ด
ต้องมีบริเวณเฉพาะส้าหรับท้าลายซากเป็ดท่ีตาย พื้นท่ีต้องห่างจากบริเวณโรงเรือนอ่ืน และสามารถ
ควบคมุ ได้ การทา้ ลายซากมี 2 วธิ ี ดังนี้

ก. การท้าลายโดยการฝัง ต้องมีเน้ือที่เพียงพอ และอยู่ในบริเวณน้าท่วมไม่
ถึง ฝังซากใต้ระดับผิวดินไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร ใช้น้ายาฆ่าเช้ือโรคที่เหมาะสมราด หรือโรยบน
สว่ นต่างๆ ของซากเป็ดจนท่ัว กลบหลมุ เหนือระดับผวิ ดนิ และปอ้ งกันไมใ่ หส้ ตั ว์ไปคุย้ เข่ยี

ข. การท้าลายโดยการเผา มีสถานท่ีเผาหรือเตาเผา อยู่ในบริเวณที่
เหมาะสมใช้ไฟเผาซากจนหมด

(3) กรณีปลดเป็ด วัสดุรองพ้ืนควรได้รับการบ้าบัดด้วยยาฆ่าเชื้อโรค เพื่อป้องกันการ
ฟุ้งกระจายก่อนเคล่ือนย้าย รถที่บรรทุกต้องมีผ้าใบคลุมป้องกันการตกหล่น และห้ามน้ากลับมาใช้อีก

(4) น้าทีใ่ ช้ในการลา้ งโรงเรือนและอุปกรณใ์ นช่วงเตรยี มโรงเรือน จะต้องมีการบ้าบัด
ก่อนที่จะปล่อยลงในแหลง่ น้าสาธารณะ

(5) พ้นื ที่รอบโรงเรือนรศั มีอย่างนอ้ ย 3 เมตร ควรสะอาด

4) การจัดการส่งิ แวดล้อมตามมาตรฐานฟาร์มโคนม สง่ิ ปฏกิ ลู ตา่ งๆ รวมถึงขยะ ต้องผา่ นการ
กา้ จดั อยา่ งเหมาะสม เพอ่ื ไมใ่ ห้เกดิ ผลกระทบตอ่ ผู้อยอู่ าศยั ขา้ งเคยี งหรอื ส่งิ แวดล้อม ในกรณีท่ีมนี า้ ทง้ิ
จากฟารม์ ออกส่แู หล่งน้าสาธารณะ จะต้องมกี ารบ้าบดั ก่อน

(1) ขยะมูลฝอย ต้องมีภาชนะรองรับขยะมูลฝอย ซึ่งมีฝาปิดมิดชิด แล้วท้าการเก็บ
รวบรวมน้าไปทิ้งในบริเวณท่ีทง้ิ ของเทศบาล สุขาภิบาล หรือองค์การบริหารราชการส่วนท้องถ่ิน หรือ
รวบรวมและกา้ จัดในท่ที ิง้ ขยะซ่ึงแยกไว้เป็นสัดส่วนและแยกออกจากบรเิ วณทเี่ ล้ียงโค

(2) ซากสัตว์ กรณีสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มแนะน้าให้ท้าลายซาก ให้ฝังซากสัตว์ใต้
ระดบั ผวิ ดิน ไมน่ อ้ ยกว่า 50 เซนตเิ มตร ใช้ยาฆา่ เช้ือโรคที่เหมาะสมราด หรือ โรยไปบนซากสัตวน์ นั้ จน
ท่วั แล้วกลบดนิ ปดิ ปากหลุมและพนู ดนิ กลบหลุมเหนือระดับผิวดนิ ไม่นอ้ ยกวา่ 50 เซนติเมตร

(3) มูลสัตว์ เก็บกวาดไม่ให้เกดิ การหมกั หมมภายในโรงเรือน หรอื ที่อยูข่ องโค จนเกิด
กลิน่ อนั ก่อใหเ้ กิดความรา้ คาญแก่ผูอ้ ยอู่ าศัยข้างเคียง

(4) น้าเสีย ในกรณีปล่อยลงแหล่งน้าสาธารณะ ฟาร์มจะต้องจัดให้มีระบบบ้าบัดน้า
เสียให้เหมาะสม และมีคณุ ภาพน้าตามมาตรฐานคุณภาพน้าทงิ้ ท่รี าชการกา้ หนด

การจัดการสิง่ แวดลอ้ มในฟาร์มสตั ว์เล้ียง 29

3. การปรบั สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเล้ียงสัตว์
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ้านวยต่อความเป็นอยู่ท่ีสุขสบายของสัตว์เลี้ยงแล้ว จะท้า

ให้สัตว์เล้ียงสามารถแสดงผลผลติ ได้เต็มศักยภาพทางพนั ธุกรรมท่ีมีอยู่สูงขึ้นดังน้ันแนวทางในการปรับ
สภาพแวดล้อมในฟารม์ เล้ยี งสัตว์แต่ละประเภทสามารถทา้ ได้ดงั น้ี

3.1 การป้องกันและแกไ้ ขปัญหาสภาพอากาศรอ้ นของโคนม
1) ปรับสภาพแวดล้อมเพ่ือให้บรรยากาศรอบตัวสัตว์เย็นลง หรือช่วยให้สัตว์ระบาย

ความร้อนได้ดีขึ้น ซ่ึงกระท้าได้หลายวิธีได้แก่ การจัดหาร่มเงาให้แก่สัตว์ อาจเป็นร่มเงาธรรมชาติคือ
ต้นไม้ใหญ่ หรือสร้างโรงเรือนเพิงพักให้แก่สัตว์ โคนมท่ีเลี้ยงในคอกตลอดเวลาควรจัดให้มีการระบาย
ลมภายในคอกโดยใช้พัดลม และน้าช่วย การใช้น้าพ่นหลังคาจะช่วยลดอุณหภูมิได้โดยเฉพาะในช่วง
กลางวัน นอกจากนี้ในเขตท่ีมีอากาศร้อนแห้ง อาจใช้วิธีพ่นละอองน้าภายในคอก เพ่ือให้ละอองน้าดูด
ซับเอาความร้อนจากบรรยากาศแล้วระเหยกลายเป็นไอ แต่ไม่ควรใช้วิธนี ้ีในเขตร้อนชื้น เน่ืองจากเป็น
การเพมิ่ ความช้ืนสัมพัทธใ์ นบรรยากาศ สตั ว์จะระบายความรอ้ นภายในตัวไดย้ าก

2) การจัดการดา้ นอาหารที่ใชเ้ ล้ียง เน่อื งจากโคนมจะมีการกินอาหารลดลงในสภาพ
อากาศร้อนจึงควรให้อาหารท่ีมีคุณค่าทางโภชนะสูงขึ้น ทั้งอาหารหยาบและอาหารข้น เพ่ือที่สัตว์จะ
ได้รบั สารอาหารอย่างเพียงพอแมว้ ่าปรมิ าณอาหารทีก่ นิ จะลดลงกต็ าม

3.2 การปอ้ งกันแกไ้ ขปัญหาสภาพอากาศรอ้ นของสกุ ร
1) โรงเรือนควรสร้างในทิศตะวันออก-ตะวันตก เพื่อลดปริมาณแสงแดดที่สุกรจะ

ไดร้ ับ โดยเฉพาะในชว่ งบ่าย
2) ควรปลูกตน้ ไมใ้ หญใ่ กล้โรงเรือน เพ่ือใหร้ ่มเงา
3) การลดอุณหภูมิภายในโรงเรือนลง โดยการติดต้ังพัดลมเพ่ือให้อากาศถ่ายเทดีข้ึน

หรือติดตั้งสปรงิ เกอร์เพื่อพ่นน้าบนหลังคา หรือพ่นละอองน้าในโรงเรือนในช่วงบ่าย แต่วิธีน้ีต้องระวัง
เร่ืองความชื้นสัมพัทธ์สูง จึงควรใช้พัดลมช่วยด้วย ส้าหรับแม่สุกรเลี้ยงลูก อาจใช้ระบบน้าหยดที่
บริเวณหวั หรอื ไหลข่ องแมส่ กุ ร

3.3 การป้องกนั แก้ไขปัญหาสภาพอากาศรอ้ นของไก่
1) โรงเรือนที่สร้างควรพิจารณาเรื่องทิศทางของแสงแดด และลม และควรมีร่มเงา

จากตน้ ไมจ้ ะช่วยลดอณุ หภูมไิ ดม้ าก
2. การใช้สปริงเกอร์พ่นน้าบนหลังคาช่วงบ่ายที่อากาศร้อนจัด ท้าให้อุณหภูมิใน

โรงเรอื นลดลง
3) ในการเลี้ยงไก่โดยทั่วไปนิยมติดต้ังพัดลมภายในโรงเรือน เพื่อช่วยให้เกิดการ

หมุนเวียนของอากาศตลอดเวลา และควรใช้ตั้งแต่ระยะไก่รุ่นก่อนเริ่มไข่เพ่ือให้ไก่คุ้นเคยกับเสียงที่ดัง
ของพดั ลม มฉิ ะนั้นอาจจะมีผลตอ่ การให้ผลผลติ ไข่

การจดั การสง่ิ แวดล้อมในฟารม์ สตั วเ์ ลย้ี ง 30

4) การทา้ ใหก้ ารระบายอากาศดขี ้ึน
(1) เลือกสถานทีต่ ้ังและทา้ เลตลอดจนทศิ ทางของโรงเรอื นใหเ้ หมาะสม

เพอ่ื ให้ลมพดั ผา่ นได้สะดวก ไมค่ วรให้โรงเรอื นอย่ใู นมมุ อบั หรอื ใกล้แหลง่ ท่ีมีมลภาวะ
(2) ใช้พัดลมชว่ ย ซึ่งมลี ักษณะการตดิ ตั้งได้ 2 ลักษณะคือ
- พัดใหล้ มผา่ นตัวสัตว์โดยตรง
- ดูดอากาศเสียออกไปจากโรงเรือน และให้อากาศทีด่ ีพดั เขา้ มา

แทนท่ี
(3) เลือกแบบของโรงเรือนใหม้ ลี กั ษณะหลังคาแบบจวั่ 2 ชน้ั

5) การให้อาหารน้อย ๆ แต่ให้บ่อยครง้ั จะท้าให้ไก่อยากกินอาหารมากขนึ้ และควร
ใช้อาหารเม็ด มากกว่าอาหารแบบผง เนื่องจากอาหารเม็ดมีปริมาณอาหารอัดแน่นมากกว่า ไก่ที่กิน
อาหารเมด็ ปริมาตรเท่ากับอาหารผง จะได้รับสารอาหารต่าง ๆ สงู กว่า

6) เสริมแร่ธาตุและวิตามินแก่ไก่เช่น การเสริมไวตามินซี จะช่วยลดปัญหา
ความเครียดได้โดยพบว่าสามารถลดอัตราการตายของไกไ่ ด้ถึง 55- 70 % นอกจากน้ีการเสริมเปลือก
หอยป่นในอาหารจะชว่ ยลดปญั หาคุณภาพเปลือกไขบ่ างได้

7) จัดหาน้ากินให้เพียงพอ เพราะในสภาพอากาศร้อนไก่ต้องการน้ากินเพ่ิมข้ึน ไก่ท่ี
อดน้าหรอื ได้รับน้าไม่เพียงพอ จะกระทบถึงผลผลิตอยา่ งมากถึงข้ันผลัดขน ซง่ึ จะท้าให้ไก่หยุดไข่ทันที
นอกจากนคี้ วรตรวจสอบอณุ หภูมิของน้ากินด้วย หากอุณหภมู ขิ องน้าสูงไก่จะกนิ นา้ น้อยลง

การจดั การสงิ่ แวดล้อมในฟารม์ สตั วเ์ ลย้ี ง 31

เอกสารอา้ งองิ

เกษม จนั ทร์แกว้ . 2547. การจดั การส่งิ แวดลอ้ มแบบผสมผสาน. พิมพค์ รั้งที่ 2. กรงุ เทพฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เกษม จนั ทรแ์ กว้ . 2553 .วิทยาศาสตร์ส่ิงแวดลอ้ ม พิมพ์ครัง้ ที่ 8. กรงุ เทพฯ :
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.

จักรกรศิ น์ เนือ่ งจา้ นง. 2559. สุขศาสตรป์ ศสุ ัตว์. พิมพค์ รัง้ ที่ 2 กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

ธวัชชยั ศภุ ดิษฐ์. 2551. การจดั การอนามัยสงิ่ แวดล้อมในภาคปศสุ ัตว์. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 2.
กรุงเทพมหานคร

นิภาดา สองเมอื งสขุ . 2548. การจดั การสง่ิ แวดล้อมในฟาร์มสัตวเ์ ลี้ยง. แพร่.
แผนกวชิ าสัตวศาสตร์ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยแี พร่. เอกสารค้าสอน.

แผนกเศรษฐกิจการเกษตร .2548. การเล้ยี งไกไ่ ขใ่ นระบบโรงเรอื นแบบปิด. กรุงเทพฯ :
กองวชิ าการ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. (อดั ส้าเนา)

พรสวรรค์ ดิษยบตุ ร. 2544 .ชีวติ กับสิง่ แวดล้อม. [ออนไลน์]. สืบค้นได้จาก :
http://www.tistr.or.th/t/publication/index.asp. 20 เมษายน 2552.

ภาณี คูสุวรรณ์ และศจีพร สมบูรณท์ รพั ย์ .2546 .ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม .กรงุ เทพฯ :
เอมพนั ธ์ จ้ากัด.

รุ่งนภา รัตนราชชาตกิ ลุ . 2544. “การจัดการของเสียในฟาร์มสุกร” วารสารสัตวแพทย์.
11 (2): 40-47.

ศิรลิ กั ษณ์ วงสพ์ เิ ชษฐ. 2543. “ส่งิ แวดลอ้ มกับสุขอนามัยของสตั ว์เลีย้ ง”. วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพสตั ว.์
นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. หน้า 39-85.

สกี ุน นุชชา. มปป. การจัดการสิ่งแวดลอ้ มในฟาร์มสตั วเ์ ลีย้ ง. ตรัง. แผนกวิชาสตั วศาสตร์
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยแี พร่. เอกสารคา้ สอน. [ออนไลน์]. สืบค้นได้จาก :
www.seekun.net/e-env-all.htm. 20 เมษายน 2553.

สรสิชฐ์ ชา้ นาญแทน. มปป. การจัดการสิ่งแวดลอ้ มในฟาร์มสัตวเ์ ลยี้ ง. เชียงใหม่.
แผนกวชิ าสตั วศาสตร์ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่. เอกสารคา้ สอน.


Click to View FlipBook Version