The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by beam.maliwan3, 2019-06-19 23:25:35

Unit 4

Unit 4

บทท่ี 4 ครูคัธรยี า มะลิวัลย์

การจัดการของเสยี แผนกวิชาสตั วศาสตร์
ในฟารม์ สตั วเ์ ล้ียง วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชิงเทรา

การจดั การของเสยี ในฟารม์ สัตวเ์ ลยี้ ง 32

บทท่ี 4

การจดั การของเสยี ในฟารม์ สตั วเ์ ลี้ยง

หวั ข้อเร่อื ง
1. ของเสียทเี่ กดิ จากฟารม์ สตั ว์เล้ยี ง
2. มลพิษจากฟารม์ สัตว์เลย้ี ง
3. การจัดการของเสียในฟารม์ สัตวเ์ ลีย้ ง

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้(นาทาง)
1. เพื่อใหม้ คี วามรูแ้ ละเข้าใจเก่ียวกบั ของเสยี ท่เี กิดจากฟารม์ สตั วเ์ ลีย้ ง
2. เพือ่ ให้มคี วามรู้และเข้าใจเกี่ยวกบั มลพิษในฟาร์มสัตวเ์ ลีย้ ง
3. เพือ่ ใหม้ คี วามรู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั การจัดการของเสียในฟารม์ สัตวเ์ ลี้ยง

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้(ปลายทาง)
1. บอกของเสยี ท่เี กดิ จากฟารม์ สตั วเ์ ล้ยี งได้
2. อธิบายมลพษิ ฟารม์ สัตว์เล้ียงได้
3. บอกวธิ ีการจัดการของเสยี ในฟารม์ สัตวเ์ ล้ยี งได้

เนอ้ื หาสาระ
ปัจจุบนั ฟาร์มเล้ยี งสกุ รมักจะประสพปัญหาทางด้านการสุขาภิบาล ก่อให้เกิดมลภาวะเป็นพิษ

ต่อสภาพแวดล้อม บริเวณรอบ ๆ ฟาร์ม ไมว่าจะเป็นน้าเสีย มูลสุกร และกล่ิน ไมเพียงแต่จะรบกวน
ชุมชนท่ีอยู่ใกล้ๆ แลว ยังเป็นแหล่งเพาะเช้ือโรคแมลงวันและยุง ซ่ึงจะเป็นอันตรายต่อทั้งสุกรเองและ
คนด้วย ดังน้ันผู้ที่จะก่อตั้งฟาร์มสุกรนอกจากจะต้องเลือกท้าเลที่จะตั้งฟาร์มให้เหมาะสม ยังจะต้อง
กา้ หนดแผนและนโยบายการจัดการเกี่ยวกบั ของเสียต่างๆ จากฟาร์มสัตวเ์ ล้ยี งให้เหมาะสมด้วย เพื่อไม
ให้เกิดปญั หากบั สภาพแวดล้อมรอบๆ ฟาร์ม

ของเสยี คอื ของเหลอื จากกระบวนการเลี้ยงสตั ว์ซึ่งไม่สามารถนา้ กลบั มาใช้ในฟารม์ ได้อกี หาก
ไมผ่ า่ นขบวนการบา้ บดั จัดการท่เี หมาะสม สามารถแบ่งออกได้ เป็น 2 สว่ น ไดแ้ ก่

1. ส่วนที่เป็นของแข็ง ได้แก่ มลู สตั ว์ ซากสัตว์ เศษอาหาร วัสดุรองพน้ื และเศษขยะ
2. ส่วนท่เี ปน็ ของเหลว ได้แก่ ปัสสาวะ น้าลา้ งคอกโรงเรือนหรือลา้ งตัวสัตว์ และน้าทิง้

การจดั การของเสยี ในฟารม์ สัตว์เลี้ยง 33

ภาพที่ 4.1 ลักษณะของเสยี ทเ่ี กดิ จากฟารม์ สตั ว์เล้ยี ง
1. ลกั ษณะของเสียที่เกดิ จากฟารม์ สตั วเ์ ล้ยี ง

ของเสีย (waste) คือ ส่ิงที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตใดๆ ก็ตาม อันเป็นผลมาจากความไม่
สามารถ เปลี่ยนปัจจัยการผลิตเป็นผลผลิตท่ีต้องการได้ ส้าหรับกระบวนการผลิตสัตว์น้ัน ของเสียที่
เกิดจากกระบวนการ ผลิตท่ีส้าคัญ ได้แก่ มูลและปัสสาวะสัตว์ น้าเสีย ซากสัตว์ ก๊าซ และขยะ
เน่ืองจากของเสียเหล่าน้ีมีหลากหลาย ชนิดทั้งในรูปของแข็ง ของเหลวและก๊าซท่ีสัตว์ขับถ่ายออกมา
และที่เกิดจากการหมักเน่าของของเสียอื่นท่ีมีการจัดการก้าจัดที่ไม่ถูกต้อง ดังน้ันการมีความรู้และ
เข้าใจถึงชนิดของของเสียที่เกิดข้ึนจากการผลิตสัตว์ จะช่วยให้ฟาร์มมีการจัดการก้าจดั ได้อย่างถูกต้อง
และเหมาะสม

ปริมาณและลักษณะของส่ิงขับถ่ายของสัตว์เล้ียงจะมีปริมาณและลักษณะแตกต่างกันออกไป
ข้ึนอยู่กับขนาด และชนิดของสัตว์ คุณภาพและปริมาณของอาหารที่กิน ชนิดของอาหารเป็น
อาหารแห้งหรือเปียก และยังขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมด้วย ของเสียท่ีสัตว์ถ่ายออกมาจะมีทั้งอุจจาระ
และปัสสาวะ เช่น สุกรขุนในระยะก้าลังเจริญเติบโตจะถ่ายมูลเปียกประมาณวันละ 5-6 เปอร์เซ็นต์
ของน้าหนักตัว การขับถ่ายของสุกรน้ันสิ่งท่ีขับถ่ายออกมาจากร่างกายจะมีท้ังท่ีอยู่ในรูปของก๊าซ
ของแข็ง และของเหลว ซง่ึ จะมีส่วนประกอบแตกต่างกันไป

การจัดการของเสียในฟารม์ สตั ว์เลีย้ ง 34

1) มลู และปสั สาวะสัตว์ เปน็ สิ่งท่ีสตั ว์ขบั ถ่ายออกมา เปน็ ส่วนของกากอาหารหรืออาหารท่ีไม่
ถูกย่อย และอาหารบางส่วนที่ถูกย่อยแล้วแต่ร่างกายสัตว์ไม่สามารถดูดซึมไปใช้ รวมทั้งเซลล์ของ
จุลินทรีย์และเศษ เน้ือเยื่อบุผนังล้าไส้ในระบบทางเดินอาหารที่หลุดปะปนออกมาด้วย ท้ังน้ีปริมาณ
และลักษณะของมูลสตั ว์ จะ ขนึ้ อยู่กบั ปัจจัยหลายประการ ไดแ้ ก่ ชนิด ขนาดและอายขุ องสตั ว์ อาหาร
ทีส่ ตั วก์ ิน สภาพแวดล้อมและการ จัดการเลีย้ งดู เป็นต้น

2) น้าเสีย หมายถงึ น้าท้ิงจากกิจกรรมต่างๆ ของการเล้ียงสัตว์ เช่น นา้ ล้างคอกและท้าความ
สะอาดตัว สัตว์ น้าล้างอุปกรณ์และเคร่ืองมือต่างๆ น้าท่ีใช้ในการระบายความร้อนให้แก่สัตว์ เป็นต้น
ซ่ึงจะมีปัสสาวะและ เศษมูลสัตว์ปะปนมาด้วย น้าเสียท่ีเกิดข้ึนในฟาร์มจะข้ึนอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น
ชนิด จ้านวน และขนาดของสัตว์ ลักษณะอาหาร และวิธีการให้อาหาร ลักษณะโรงเรือนและระบบ
จัดการของเสีย วธิ ีการท้าความสะอาดคอกและปริมาณนา้ ท่ี ใช้ล้างหรอื ทา้ ความสะอาด

ปัญหาด้านปริมาณน้าเสียของฟาร์มสัตว์แต่ละประเภทมีระดับความรุนแรงของปัญหา
แตกต่างกัน โดยฟาร์มสัตว์ปีก มีปัญหาด้านน้าเสียน้อยกว่าฟาร์มสัตว์ชนิดอื่นๆ เนื่องจากวัสดุรองพ้ืน
คอก เช่น ข้ีเลื่อย หรือ แกลบ ได้ช่วยดูดซับส่ิงขับถ่ายจากสัตว์ รวมทั้งการท้าความสะอาดจะไม่ใช้น้า
จึงมีน้าเสียในปริมาณน้อย ส่วนฟาร์มสุกรจะมีการใช้น้าปริมาณมากท้าให้มีน้าเสียจ้านวนมาก
ในท้านองเดียวกับฟาร์มโคนม

(1) ลกั ษณะของนา้ เสยี ทางกายภาพ (Physical Waste Water) สงั เกตไดจ้ าก
- อุณหภูมิ (Temperature) อุณหภูมิของน้าท่ีส่ิงมีชีวิตจะอยู่ได้อย่างปกติในน้าจะ

ขึ้นอยู่กับความสามารถในการทนได้ของสิ่งมีชีวิตน้ันๆ สัตว์น้าในประเทศไทยจะอยู่ในน้าได้ระหว่าง
อุณหภมู ิ 20-35 องศาเซลเซียส ถ้ารอ้ นหรือเย็นกวา่ น้อี าจทา้ ใหต้ ายได้

- สีและความขุ่น (Color and Turbidity) น้าเสียจะมีสีของน้าเปลี่ยนแปลงไปจาก
ธรรมชาติจนมสี ีด้า สีแดง สีเขียว หรอื สีอน่ื ๆ เนอ่ื งจากสารแขวนลอยและสารละลายรวมทั้งสารอนิ ทรยี ์ท่ี
ละลายในน้า

- กล่ิน (Odor) น้าที่มีกล่ินมักเป็นน้าเสีย ซ่ึงอาจจะมีสารเคมีหรือส่ิงเน่าเปื่อยปะปน
อยู่จนทา้ ใหม้ กี ลิน่ กล่นิ ของน้าขึน้ อยกู่ ับปริมาณสงิ่ ปฏกิ ูลทลี่ ะลายอยู่ในน้า

- การน้าไฟฟ้า (Electrical Conductivity) หมายถึง ความสามารถของน้าในการ
เป็นสื่อน้าไฟฟา้ การวัดการน้าไฟฟ้าสามารถอธิบายถึงความเข้มข้นของแร่ธาตุหรือสารประกอบตา่ งๆ
ถา้ สารละลายปนอยมู่ ากจะทา้ ให้คา่ การนา้ ไฟฟ้ามากดว้ ย

- ของแข็งในน้า (Total Solids) หมายถึง ของแข็งท่ีอยู่ในรูปสารที่ละลายและสาร
แขวนลอยในน้า ถ้าน้าน้าท่ีมีของแข็งเกินกว่า 1,000 มิลลิกรัม/ลิตร ไปใช้ผลิตน้าประปาแล้ว จะเสีย
คา่ ใชจ้ า่ ยสงู มาก

การจัดการของเสยี ในฟารม์ สตั วเ์ ล้ียง 35

- ลักษณะทางกายภาพอื่นๆ เช่น ความหนาแน่น และความหนืด ซึ่งจะเปลี่ยนไป
ตามอุณหภูมิ ความกดดนั ของบรรยากาศ ความลกึ ความเขม้ ข้นของสารแขวนลอย หรือความเค็มของ
น้า

(2) ลกั ษณะของน้าเสยี ทางเคมี สังเกตหรือตรวจสอบได้จาก
- ความกระดา้ ง (Hardness) เป็นสภาพทไี่ มเ่ กดิ ฟองกบั สบู่
- ความเป็นกรดด่างของน้า (pH value of water) ค่าท่ีเหมาะสมส้าหรับน้าด่ืมจะ

อยู่ระหว่าง 6-8 ถา้ น้อยหรือมากกว่า 5.0-9.0 แลว้ ส่ิงมีชวี ิตในนา้ นน้ั จะได้รับอันตราย
- ปริมาณออกซิเจนละลาย (Dissolved Oxygen หรือ DO) ออกซิเจนท่ีละลายน้า

เป็นแหล่งออกซิเจนส้าหรับจุลินทรีย์ในน้าในการหายใจและย่อยสารอินทรีย์ในน้า ดังนั้นออกซิเจนท่ี
ละลายในน้าจึงช่วยลดปริมาณสารอินทรีย์และแบคทีเรียบางชนิดได้ และยังช่วยท้าให้ น้ามีรสดีขึ้นด้วย
น้าธรรมชาติที่มีคุณภาพดีมี DO อยู่ประมาณ 5-7 มิลลิกรัม/ลิตร หากน้าเสียจะมี DO น้อยกว่า
3 มิลลิกรัม/ลิตร แต่มาตรฐานคุณภาพน้าท้าให้ปลาและสัตว์น้ามีชีวิตอยู่ได้ต้องไม่น้อยกว่า
2 มิลลิกรัม/ลิตร ความต้องการออกซเิ จนมี 2 กรณี คอื

ก. ความตอ้ งการออกซเิ จนทางชวี เคมี (Biochemical Oxygen Demand :
BOD) เป็นค่าท่ีใช้วัดปริมาณออกซิเจนท่ีใช้โดยแบคทีเรีย ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้า สามารถ
บอกความสกปรกของน้าได้ ซ่ึงพระราชบัญญัติน้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมก้าหนดไว้ว่า น้าทิ้งก่อน
ปล่อยลงส่แู มน่ า้ ล้าคลองต้องมี BOD ไมเ่ กิน 20 มิลลกิ รมั /ลิตร

ข. ความต้องการออกซิเจนทางเคมี (Chemical Oxygen Demand :
COD) เป็นปริมาณออกซิเจนท้ังหมดที่ต้องการเพื่อใช้ในการออกซิไดซ์สารอินทรีย์ในน้าให้กลายเป็น
คาร์บอนไดออกไซด์และน้า โดยอาศัยหลกั ว่า สารอนิ ทรีย์เกือบท้ังหมดสามารถท่ีจะถูกออกซิไดซ์ โดย
ตวั เติมออกซเิ จนอย่างแรงภายใตส้ ภาวะทเ่ี ปน็ กรด ปกติค่า COD จะสูงกว่าค่า BOD

- โลหะหนัก (Heavy Metals) โลหะหนกั ท่ีมบี ทบาทต่อสง่ิ แวดล้อมมากท่ีสุดคือ ปรอท
ตะกัว่ แคดเมยี ม สารหนู ลกั ษณะของการเปน็ พิษ เกิดเนื่องจากโลหะหนกั มกั สะสมอยใู่ นหว่ งโซอ่ าหาร
และในกระบวนการทางชีวภาพ

(3) ลักษณะของน้าเสียทางชีววิทยา (Biological Wastewater) สภาพน้าเสียทางชีววิทยา
หมายถึง น้ามีส่ิงท่ีมีชีวิตเป็นพิษเป็นภัยต่อมนุษย์ สัตว์ และพืช การตรวจวัดความสกปรกของน้า
ทางด้านชีววิทยา จะตรวจโดยการหาปริมาณของโคลิฟอร์ม แบคทีเรีย ซ่ึงเป็นจุลินทรีย์ที่อยู่ในล้าไส้
ของสตั ว์เลอื ดอุ่น สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี มีอยูใ่ นอุจจาระประมาณ 95% และตามแหล่งน้า
ธรรมชาติ 5%

3) ก๊าซและกล่ิน ก๊าซท่ีเป็นของเสียจากการผลิตสัตว์ มีทั้งที่เกิดจากการขับถ่ายของสัตว์
โดยตรง และเกิดจากการ ตกคา้ งของเศษอาหาร มลู และปัสสาวะที่สตั ว์ขับถ่ายออกมาในคอกหรือราง
ระบายน้า หรือกองไว้เพื่อรอการ ก้าจัดออกจากฟาร์ม ได้เกิดการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์หรือมีการ

การจดั การของเสียในฟารม์ สตั ว์เลยี้ ง 36

สลายตัวท้าให้มีก๊าซเกิดขึ้น ก๊าซท่ีเกิดขึ้นจากการผลิตสัตว์บางชนิดไม่มีกลิ่น เช่น มีเทน
คาร์บอนไดออกไซด์ และหลายชนิดมีกลิ่นเหม็น เช่น แอมโมเนีย ไฮโดรเจนซัลไฟด์หรือก๊าซไข่เน่า
ถ้าฟาร์มมีการจดั การระบายอากาศท่ีดภี ายในโรงเรือน ก๊าซท่ี เกิดข้ึนโดยท่ัวไปจะไม่ถึงขัน้ ท้าอันตราย
ต่อตวั สตั ว์ แต่จะรบกวนสุขภาพและประสทิ ธภิ าพทางการผลิตของสัตว์

(1) คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นก๊าซไม่มีรส ไม่มีกล่ิน หนักกว่าอากาศและละลายน้าได้
ในปรมิ าณทีม่ ีอากาศดจี ะมีอยู่ในระดับ 300 ppm ส่วนในคอกสัตว์ที่มอี ากาศถ่ายเทดจี ะมคี ่าประมาณ
2,000 ppm ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถูกปล่อยจากลมหายใจของสัตว์และเกิดจากการย่อยสลายของ
มูลสตั ว์ กา๊ ซส่วนใหญ่จะเกดิ จากมูลสตั ว์ในบ่อพักซึ่งอยใู่ นรูปของเปยี ก ตัวกา๊ ซเองไม่กอ่ ให้เกิดอนั ตราย
ต่อสุขภาพสัตว์ แต่ปริมาณที่เพิ่มข้ึนจึงท้าให้สัตว์ขาดออกซิเจน ดังน้ันอาการของสัตว์ท่ีได้รับ
คาร์บอนไดออกไซด์มากๆ จงึ เป็นอาการของการขาดออกซเิ จน เชน่ วงิ เวียนศีรษะ เดินโซเซ และหมดสติ

(2) แอมโมเนีย เป็นก๊าซไม่มีสี มีกลนิ่ ฉุนแสบจมูก มีน้าหนักมากกวา่ อากาศ ปกติไม่ติดไฟ แต่
ถ้ามีปริมาณมากๆ เช่น ที่ความเข้มข้น 16-25 % โดยปริมาตร หรืออุณหภูมิ 650 ° C สามารถลุกติด
ไฟได้ และอาจท้าให้เกิดระเบิดได้ แอมโมเนียส่วนมากเกิดจากมูลสด โดยเฉพาะในที่อับช้ืนและมี
อณุ หภมู สิ ูงถึง 100-200 ° C สตั วท์ ่ีไดร้ ับแอมโมเนยี มากๆ จะท้าใหส้ ตั วจ์ าม นา้ ลายยดื และการกนิ อาหาร
ลดลง ในไกพ่ บว่าจะทา้ ให้อตั ราการเจริญเติบโตลดลง และท้าให้เกิดเยอ่ื ตาขาวอักเสบ

(3) ไฮโดรเจน เป็นก๊าซท่ีมีกล่ินคล้ายไข่เน่า เกิดจากการหมักหมมของมูลสัตว์ ในสภาพไม่มี
อากาศในโรงเรือนที่มีการระบายอากาศไม่ดี ก๊าซน้ีจะมีปริมาณเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว และพบว่ามี
ปรมิ าณสูงขณะท่ีมีการขนย้ายมูลสัตว์ พบว่าในปริมาณ 20 ppm. จะท้าให้สตั ว์เกิดความผิดปกติของ
ระบบประสาท กลัวแสง ในสุกรท้าให้อาเจียน และท้องร่วงได้ ถ้าปริมาณก๊าซเพิ่มสูงถึง 800 ppm.
จะทา้ ให้หมดสติ และเสียชวี ิต เนอ่ื งจากระบบหายใจเป็นอมั พาต

(4) คาร์บอนมอน็อกไซด์ เป็นก๊าซที่เกิดจากการเผาไหม้จากการท้างานของเครื่องจักร เช่น
เคร่ืองป่ันไฟ หรืออุปกรณ์ท้าความร้อนท่ีใช้ก๊าซหรือน้ามันเป็นเช้ือเพลิง โดยเฉพาะในปริมาณที่มี
ออกซิเจนตา้่

(5) มีเทน เป็นก๊าซท่ีมีกล่ิน และติดไฟได้ พบมากในมูลสัตว์ท่ีถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ใน
สภาพท่ีมีอากาศ สัตว์ท่ีต้องสูดดมก๊าซน้ีเป็นประจ้า จะท้าให้เกิดความผิดปกติ หรือโรคในระบบ
ทางเดินหายใจ สตั วอ์ อ่ นแอ อตั ราการเจริญเติบโตต่้า และติดโรคได้ง่าย

แหล่งก้าเนิดกลิ่นที่ส้าคัญภายในฟาร์มสัตว์ ประกอบด้วย โรงเรือนสัตว์ ลานตากมูล ระบบ
บ้าบัดน้าเสยี และบรเิ วณโดยรอบของฟารม์ มดี งั นี้

(1) ภายในโรงเรอื นสัตว์ แหล่งก้าเนิดกล่ินทีอ่ ยภู่ ายในโรงเรอื นสตั ว์ ไดแ้ ก่
- พน้ื และผนังของโรงเรอื นท่เี ปียกชน้ื และเปรอะเป้อื นด้วยมูลสัตว์
- ตัวสัตว์ท่เี ปรอะเปื้อนดว้ ยมูลสตั ว์
- อาหารท่เี สียหรอื ขน้ึ ราแล้ว

การจัดการของเสียในฟาร์มสัตว์เล้ียง 37

- ฝนุ่ จากอาหารและตัวสัตว์
- ซากสัตว์ทีต่ ายแลว้
(2) ระบบบ้าบัดน้าเสีย ระบบบ้าบัดน้าเสียของฟาร์มส่วนใหญ่เป็นระบบบ่อหมักซึ่งเป็นระบบบ่อ
เปดิ ซง่ึ ในกระบวนการยอ่ ยสลายสารอินทรียข์ องจุลินทรยี ์ในบ่อจะเปน็ ปฏกิ ริ ิยาที่ไม่ใช้ออกซิเจน กา๊ ซที่
เป็นผลลัพธ์จากปฏิกิริยาน้ีจะเป็นก๊าซมีเทน และก๊าซท่ีไม่มีกลิ่นอื่นๆ เป็นส่วนใหญ่ แต่หากขาดการดูแล
ควบคุมระบบให้มีประสิทธิภาพแล้ว ปฏิกิริยาท่ีเกิดขึ้นภายในบ่อจะเป็นไปอย่างไม่สมบูรณ์ ซ่ึงก๊าซที่
เกดิ ขึน้ จะเปน็ กา๊ ซท่ีมีกลิน่ เชน่ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ หรอื ก๊าซไข่เน่าขน้ึ แทน ดังนัน้ ในกรณีของฟาร์ม
ท่ใี ช้วิธเี ก็บกักน้าเสยี ไว้ในบ่อ โดยไมด่ ูแลรกั ษาจะท้าใหบ้ อ่ น้าเสยี กลายเปน็ แหลง่ กา้ เนดิ กลิ่นท่ีส้าคัญ
(3) ลานตากมูลสัตว์ ฟาร์มสัตว์ส่วนใหญ่จะใช้วิธีเก็บกวาดมูลสัตว์ออกจากพ้ืนคอกแล้วน้าไป
ตากแดดให้แห้งบนลานตากมลู ของฟาร์ม ซ่ึงมักเป็นลานพื้นคอนกรีต แต่ในระหวา่ งการตากแห้งน้ีจะมี
การปลดปลอ่ ยกา๊ ซท่ีมกี ลิ่นหลายชนิด
(4) บริเวณโดยรอบฟาร์ม นอกจากการจัดการท่ีแหล่งก้าเนิดกลิ่นแล้ว การจัดการบริเวณ
โดยรอบฟารม์ เพ่ือชว่ ยใหม้ ีการกระจายของกล่นิ อยา่ งรวดเร็ว และชว่ ยลดระดับความรุนแรงของกลิ่นก่อน
ระบายออกสู่ภายนอกฟาร์ม ยงั มบี ทบาทส้าคญั เปน็ อย่างยิง่ ตอ่ การควบคมุ ความเขม้ ข้นของกลน่ิ ทีร่ มิ รว้ั
4) ซากสัตว์ หมายถึง ร่างกายสตั ว์ท่ีตาย ซึ่งมีสาเหตุมาจากเชื้อโรคและสาเหตุอ่ืนท่ีไมใ่ ชเ่ ช้ือ
โรค นอกจากนี้สัตว์พิการหรืออ่อนแอท่ีพิจารณาแล้วว่าอาจไม่มีชีวิตรอด หากปล่อยไว้อาจเป็นพาหะ
น้าโรคก็จะต้องท้าการคดั ทิ้งและท้าลาย ฟาร์มจะต้องมีบริเวณเฉพาะส้าหรับท้าลายซากสตั ว์ โดยเป็น
พ้ืนท่ีท่ีห่างจากบริเวณโรงเรือนท่ีอาศัยของสัตว์ และไม่ใช่ทางผ่านประจ้าของบุคลากรของฟาร์ม
อย่างไรก็ดีแม้ว่าสัตว์จะตายจากสาเหตุท่ีไม่ได้มาจากการติดเชื้อ ก็ไม่ควรน้าซากสัตว์น้ันมาใช้เป็น
อาหารบรโิ ภคของมนุษย์ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ซากสัตวท์ ี่ป่วยตายจากการติดเชื้อโรคและไมร่ ู้สาเหตุหา้ ม
น้ามารบั ประทานเด็ดขาด
5) ขยะ หมายถึง เศษวัสดุ เศษอาหาร ภาชนะท่ีใช้บรรจุปัจจัยการผลิต เช่น ขวดแก้ว ขวด
พลาสติก กระปอ๋ งใส่ยา ถงุ ใส่อาหารและวัตถุดิบอาหาร เป็นตน้ ฟารม์ ต้องมีการแยกประเภทของขยะ
นอกจากจะเป็น การลดปรมิ าณขยะที่ต้องกา้ จัดแลว้ ขยะบางชนิดสามารถน้ากลบั มาใชใ้ หม่ได้หรือน้า
ไปใชป้ ระโยชน์ในดา้ นอ่นื ๆ บางชนดิ สามารถขายเปน็ รายไดพ้ ิเศษของแรงงานในฟาร์ม

2. มลพษิ จากในฟาร์มสตั ว์เล้ยี ง
ค้าว่า “มลพิษ” (Pollution) คือ ความเป็นอันตราย ความเป็นพิษ ตามพระราชบัญญัติ

ส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 “มลพิษ” มีความหมายว่า ของเสีย วัตถุ
อันตราย และมลสารอื่นๆ รวมทั้งกากตะกอนและสิ่งตกค้างท่ีมีอยู่ในสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
ซ่ึงก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือภาวะท่ีเป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของ
ประชาชน รวมความถึงรังสี ความร้อน เสียง กลิ่น ความส่ันสะเทือน หรือเหตุร้าคาญต่างๆ ประเภท
ของมลพิษ ที่เกิดจากมลภาวะของฟารม์ เลย้ี งสตั ว์ มีหลายประเภท เช่น มลพิษทางอากาศ มลพิษทาง

การจัดการของเสยี ในฟารม์ สัตว์เลีย้ ง 38

กลิ่น มลพิษทางเสียง มลพิษจากขยะมูลฝอย และมลพิษทางน้า ซ่ึงโดยท่ัวๆ ไป ในเรื่องมลภาวะจาก
ฟาร์มเล้ียงสัตว์มักกล่าวถึงแต่การสร้างให้เกิดมลพิษทางกล่ิน ทางน้า และขยะมูลฝอยเป็นส้าคัญ
โดยเฉพาะผทู้ ่เี ลยี้ งสัตว์ไดท้ ราบและหาวธิ ีการป้องกนั แก้ไข

2.1 มลพิษทางอากาศ (Air Pollution) หมายถงึ การมีสารมลพษิ ในอากาศอย่างหนึง่ อย่างใด
หรือหลายอย่าง เช่น ฝุ่น กล่ิน ควัน ไอ ในลักษณะ ปริมาณ และภายในช่วงเวลาที่จะก่อให้เกิดผล
กระทบกระเทือนในทางลบต่อมนษุ ย์ สตั ว์ พืช หรือวัตถุอ่นื ๆ

สารมลพิษทางอากาศจากฟาร์มเล้ียงสัตว์ซ่ึงส่งผลกระทบต่อสุขภาพคนและสัตว์ ได้แก่ ก๊าซ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ก๊าซแอมโมเนีย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนน็อกไซด์ ก๊าซมีเทน
สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย อนุภาคมลสาร ได้แก่ ฝุ่นจากอาหารสัตว์ ขนสัตว์ มูลสัตว์แห้ง วัสดุ
รองพ้ืน จลุ ชีพ ละอองเกสร และฝุ่นจากแมลง เปน็ ต้น รวมทัง้ สารพิษท่ีขับออกมา (เอนโดท็อกซิน)

2.2 มลพิษทางเสียง (Noise Pollution) อุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ก่อให้เกิดปัญหาที่ส้าคัญ
ประการหน่ึง คือ มลภาวะทางเสียง โดยเฉพาะอย่างย่ิงฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ต้ังอยู่ในเขตชุมชน ซ่ึงนับวัน
ปัญหาดังกล่าว ย่ิงทวีความรุนแรงมากขึ้น ดังน้ันผู้ท่ีมีหน้าท่ีในการผลิตสัตว์จ้าเป็นจะต้องทราบ
แหลง่ ที่มาของปญั หานี้ รวมทัง้ การจัดการที่ เหมาะสมเพอื่ ลดมลภาวะทเ่ี กิดข้ึน

2.3 มลพิษทางน้า (Water Pollution) หมายถึง สภาวะท่ีน้าเส่ือมคุณภาพ หรือมีคุณสมบัติ
เปลี่ยนแปลงไป เน่ืองจากมีสิ่งแปลกปลอมที่ไม่พึงปรารถนาปนเป้ือน เช่น สารเคมี เช้ือโรค สาร
กมั มันตรงั สี ความรอ้ น เป็นต้น ท้าใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ การใชป้ ระโยชน์ท่พี ึงประสงค์

2.4 มลพิษทางกล่ิน หมายถึง สิ่งที่สามารถกระตุ้นระบบการรับรู้กลิ่น (Olfactory System)
สารเคมีหรอื กา๊ ซแต่ละชนิดจะมีกลิ่นแตกต่างกัน มนุษยส์ ามารถรบั รกู้ ล่ินได้มากกว่า 10,000 ชนิด การ
ได้กลิ่นของมนุษย์เกิดจากการสูดหายใจเอาอากาศท่ีปะปนด้วยสารระเหยชนิดต่างๆ เข้าสู่ทางเดิน
หายใจ และผ่านไปยังบริเวณประสาทรับกล่ินที่เรียกว่า Regio Olfactoria ที่มีสารระเหยชนิดต่างๆ
จะถูกดูดซับโดยเย่ือบุขนเล็กๆ ในบริเวณเยื่อบุจะส่งสัญญาณไปยังตัวรับกล่ิน (Olfactory receptors)
จากน้นั ตวั รับกล่นิ จะส่งสญั ญาณต่อไปยังสมองเพื่อแปลผลกลิ่นทีไ่ ด้รบั อกี คร้ัง

2.5 มลพิษจากขยะมูลฝอย คือ เศษส่ิงของที่ไม่ต้องการแล้ว สิ่งของที่ช้ารุดเสียหายใช้การ
ไม่ได้ หรือเสื่อมคุณภาพต้องน้าไปก้าจัดหรือท้าลายทิ้ง หรือแจกจ่ายให้แก่ผู้อ่ืน ได้แก่ เศษกระดาษ
เศษผ้า ขวดแกว้ กระป๋อง พลาสตกิ ซากสตั ว์ ฯลฯ

3. การจัดการของเสียในฟาร์มสตั วเ์ ลย้ี ง

การท้าฟาร์มเลี้ยงสัตว์ทุกประเภทอดไม่ได้ท่ีจะต้องมขี องเสียจากการเลี้ยงสัตว์ อาจจะเปน็ น้า
ลา้ งมลู สัตว์ น้าเสยี ท่เี กิดจากการท้าความสะอาด หรอื นา้ เสียท่ีเกิดจากคนที่ปฏบิ ัติงานในฟารม์ ถา้ หาก
เราจัดการไม่ดีและไม่ถูกต้อง ส่ิงเหล่าน้ีก็จะส่งผลเสียให้กับคนและสัตว์เลี้ยงในฟาร์มได้ เช่น เกิดกล่ิน
เหม็น เกิดแมลงรบกวน และท่ีสา้ คัญคอื อาจจะเกิดโรคกับสตั วเ์ ลีย้ งของเราได้

การจัดการของเสียในฟาร์มสัตว์เล้ียง 39

ทัง้ นีข้ องเสียท่เี กิดขนึ้ กอ่ ให้เกดิ ผลกระทบในเรือ่ งของกล่ินเหม็นรบกวน แมลงวันและพาหะน้า
โรค โดยกลน่ิ เหมน็ เกิดจากการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนของของเสียภายในฟาร์ม ได้แก่ วัสดุรอง
พ้ืนคอก เศษอาหาร มูลและปัสสาวะ และลานตากมูล โดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงอากาศร้อน ไก่จะกิน
นา้ มากและขบั ถา่ ยออกมากับมูล ความเปียกชื้นของวัสดุรองพ้นื จะเป็นตัวเรง่ ให้เกดิ การสะสมของก๊าซ
แอมโมเนียซึ่งเป็นอันตราย ต่อระบบหายใจของสัตว์เล้ียงและผู้ปฏิบัติงานในฟาร์ม ซ่ึงมลพิษทาง
อากาศ ที่เกิดจากฟาร์มสัตว์ปีก ส่วนใหญ่ได้แก่ ก๊าซท่ีมีกล่ินต่างๆ แบคทีเรีย และสารพิษท่ีเกิดจาก
แบคทีเรีย และฝ่นุ ละออง ก๊าซทั้งหมดที่เกิดและปัญหาคุณภาพอากาศนั้นส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์
และส่งผลต่อสุขภาพของสัตว์เล้ียงเช่นกัน โดยมลพิษทางอากาศท่ีอยู่ในโรงเรือนท้าให้อัตราการ
แลกเปลี่ยนอาหารและการเจริญเติบโตลดลง ท้าให้ระบบทางเดินหายใจผิดปกติและท้าให้สัตว์
เจบ็ ป่วย อัตราการเลีย้ งรอดและอตั ราการเจริญเตบิ โตลดลง

3.1 การจดั การของเสยี ในฟาร์มสตั ว์ปีก
การจัดการของเสียในฟาร์มสัตว์ปีกเพ่ือลดแหล่งก้าเนิดมลภาวะทางอากาศโดยเฉพาะกล่ิน
เหม็น ซ่ึงเกิดจากสาเหตุ เช่น วัสดุรองพื้นคอก มูลและปัสสาวะ และเศษอาหารโดยการก้าจดั ของเสีย
สามารถท้าได้ดงั นี้
1) การจัดการวสั ดุรองพ้นื คอก วัสดุรองพื้นคอกและความหนาของวสั ดุรองพ้ืนคอก ควรหนา
ประมาณ 10-15 เซนติเมตร จึงจะเพียงพอที่จะดูดซับความชื้นได้ กล่ินจากวัสดุรองพื้นและมูลสัตว์
อาจจะลดลง เม่ือสว่ นประกอบของวัสดุรองพื้นแห้งได้เร็ว วัสดุรองพื้นไม่อัดแน่น ไมเ่ ป็นฝุ่นและไม่ข้ึน
รา วัสดุรองพื้นทน่ี ้ามาใช้ควรเป็นวัสดุท่ถี ูกและหาได้ง่าย เช่น แกลบ ทราย ฟางสับ ข้ีเล่ือย เปลือกถ่ัว
เป็นต้น หากส่วนประกอบน้าหนักแห้งของวัสดุรองพื้นหรือมูลสัตว์อยู่ท่ี 60% หรือสูงกว่าน้ีจะท้าให้
การแพรก่ ระจายของก๊าซแอมโมเนียลดลง โดยมขี ้อปฏิบตั เิ พ่มิ เติม ดงั นี้

(1) ป้องกันการหกหรือรั่วของน้า และใช้มาตรการต่างๆ ที่จะทา้ ให้พื้นแหง้ เช่น การ
ใช้พดั ลมระบาย อากาศ ควรมีการจัดการระบบน้าด่ืมให้ดีโดยใชร้ ะบบการให้น้าแบบอัตโนมัติแบบหัว
หยดหรอื นิปเปิ้ล เปน็ ตน้

(2) หลังจากจับสัตว์ปีกออกจากโรงเรือนแล้ว อาจน้าวัสดุรองพ้ืนออกไปตากให้แห้ง
เพ่ือน้าไปใช้เป็นปุ๋ย ซ่ึงบริเวณที่จะใช้เก็บต้องห่างไกลจากชุมชน หรืออาจน้าไปผลิตกระแสไฟฟ้าโดย
ใชว้ ีหมกั แบบไรอ้ ากาศ ได้กา๊ ซชีวภาพหรอื ท้าการย่อยสลาย

(3) วัสดรุ องพื้นทีเ่ ปยี กช้นื ควรน้าออกไปท้ิงหรอื ไมก่ เ็ ติมวสั ดุใหม่
2) การจดั การมูลและปสั สาวะ

การเก็บกวาดมูลไก่เน้ือหลังจากการจับไก่จ้าหน่ายแล้ว ส้าหรับไก่ไข่จะเก็บกวาดทุกๆ 3-4
เดือน โดยการตักมลู ไกอ่ อกแล้วนา้ ไปทา้ ปุ๋ยหมัก หรือน้าไปตากแห้งเพื่อนา้ ไปปลูกพชื ผกั สวนครัว เป็น
การหมนุ เวยี น ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งมูลไกจ่ ะถูกน้ามาใช้มากในด้านการเกษตร คือ ใชท้ า้ เป็นปุ๋ยอินทรีย์
เนอ่ื งจากปรมิ าณ สารอาหารที่มอี ยมู่ าก บริเวณทีม่ ีความต้องการหรือมีการพรวนดนิ ร่วมดว้ ยแต่การใช้

การจัดการของเสยี ในฟารม์ สตั ว์เลย้ี ง 40

มูลไก่มีขอ้ จ้ากดั พอสมควร เน่ืองจากมูลไก่มีไนโตรเจนสูง สามารถท้าใหต้ ้นอ่อนของพืชไหม้ได้ ส้าหรับ
ฟาร์มไก่ไข่จะต้องหลีกเล่ียงการสะสม มูลไก่ท่ีอยู่ใต้กกตับ จึงควรมีระบบสายพานล้าเลียงมูลไก่ออก
จากโรงเรอื น และน้าไปเก็บสะสมไว้ในบ่อเกบ็ ซ่งึ ต้องใช้พัดลมเปาหรือมกี ารระบายอากาศทด่ี ีเพอื่ ช่วย
ใหม้ ูลไก่แห้ง

3) การจดั การสัตว์ปกี ที่ตายและคดั ทงิ้ สามารถกา้ จดั การด้วยวธิ ีการต่างๆ ดงั นี้
(1) ก้าจัดโดยการเผาในเตาเผา ซึ่งควรมีการจัดเตรียมเตาเผาท่ีเหมาะสมและมี

ประสทิ ธิภาพ
(2) การฝังท่ีหลุมลึกแบบเปิดท่ีก้นหลุม ถึงแม้ว่าการฝังในหลุมลึกจะเป็นวิธีท่ีง่าย

ในทางปฏิบัติ แล้ว แต่มีข้อเสียคือ ใช้ระยะเวลานานในการย่อยสลายซากท่ีเหลือ รวมท้ังอาจมีการซึม
ของไนโตรเจน ฟอสเฟต และเชื้อโรคลงสูแ่ หล่งนา้ ใตด้ ินได้

(3) ท้าการย่อยสลายโดยการผสมกับแหล่งคาร์บอนอื่นๆ เช่น ขี้เลื่อย ฟางข้าว เป็น
ตน้ แล้วน้าไป ใช้ปลูกพืชโดยอาจใส่มลู สัตว์ร่วมดว้ ย ส่วนการยอ่ ยสลายควรมคี วามชืน้ ประมาณ 50%
และมีความเป็นกรด-ด่าง อยู่ระหว่าง 6.5-7.2 ถ้าความเป็นกรด-ด่าง เกินกว่า 8.0 จะเกิดกลิ่นเหม็น
ซึ่งมีข้อควรปฏบิ ตั ดิ ังน้ี

- ควรทา้ การย่อยสลายซากสัตว์ภายใน 24 ชว่ั โมง หลังจากท่ีสตั วต์ าย
- ควรจะย่อยสลายหมดเสียก่อนที่จะน้าไปในการเพาะปลูกพืช หรือ
เคลือ่ นย้ายออก
- ควรมีการปอ้ งกนั น้าฝนชะล้าง อาจหาผ้าใบมาคลมุ
- พืน้ ทีท่ ่ที า้ การยอ่ ยสลายไมค่ วรอยู่ใกล้แหล่งน้าหรอื บ่อนา้
- ควรทา้ ในพืน้ ทท่ี ีด่ นิ มโี ครงสรา้ งทนทานต่อสภาวะอากาศ
4) การจดั การฝุ่นละออง สามารถกา้ จัดการด้วยวิธีการต่างๆ ดงั นี้
(1) พัดลมระบายอากาศจะมีฝุ่นละอองสะสมอยู่รอบๆ ซึ่งจะเป็นแหล่งก้าเนิดของ
กลิ่น จงึ ตอ้ งทา้ ความสะอาดอย่างสม่้าเสมอเพือ่ ปอ้ งกันการสะสมของฝุน่ ละอองมากเกนิ ไป
(2) ขณะท้าความสะอาดไม่ควรก่อให้เกิดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองออกไป
เพราะการ กระจายของอนภุ าคฝุน่ ละออง จะทา้ ให้เกดิ การแพรก่ ระจายของกลน่ิ ออกไป
(3) การกา้ จดั ปรมิ าณเศษฝุ่นละอองสามารถชว่ ยลดความเข้มข้นของกลนิ่ ไดป้ ระมาณ
รอ้ ยละ 65
(4) การลดปริมาณฝุ่นละอองโดยอาศัยหลักการจดั การโรงเรือนที่ดี เช่น ควบคุมการ
ฟุง้ กระจาย ของอาหาร การป้องกันไม่ให้มีเศษอาหารหก การเกบ็ กวาดมูลและวสั ดรุ องพ้นื เป็นประจ้า
เปน็ ต้น
5) การก้าจัดแมลงวันและพาหะน้าโรค การจัดการปัญหาแมลงวันสามารถท้าได้โดยวิธีทาง
ไบโอชวี ภาพและทางเคมี ดงั น้ี

การจัดการของเสียในฟารม์ สตั วเ์ ลีย้ ง 41
(1) การท้าลายตัวอ่อนของแมลงวัน อาจใช้ความร้อนจากแสงแดดหรือสารเคมี่่าที่
ตวั หนอนแมลงวนั โดยตรง โดยใชส้ ารเคมผี สมน้าให้มีความเขม้ ขน้ ตามคา้ แนะนา้ ในฉลาก หรือในความ
เข้มข้นที่องค์การอนามัยโลกก้าหนด คือ ไดคลอร์วอส (DDVP : Dichlorvos) เข้มข้น 0.5% ไดอะซิ
นอล (diazinon) เข้มข้น 0.5-1% คลอร์ไพริฟอส (chlorpryphos) เข้มข้น 0.5-1% มาลาไทออน
(malathion) เข้มข้น 2.5% และดิพเทอร์เรกซ์ (dipterex) เข้มข้น 1% แล้วน้าไปพ่นตามมูลสัตว์
หรือท่ีเก็บมูลสัตว์ หรือใชป้ ูนคลอรีน ปนู ขาว โรย่า่ ตัวหนอน เปน็ ตน้
(2) การท้าลายแลงวันตัวเต็มวัย ท่ีได้ผลมากท่ีสุดคือการใช้สารเคมีฉีดพ่นตามแหล่ง
เกาะพกั หรอื แหลง่ เพาะพันธุ์ของแมลงวัน
การบ้าบัดกลิ่นสามารถลดความรนุ แรงและบ้าบัดกลิ่นที่เกิดจากฟาร์มเลีย้ งสัตว์ปีกได้หลายวิธี
ดงั นี้
1) การสร้างแนวก้าแพงป้องกันหรือเปล่ยี นทิศทางของกล่นิ เป็นการสร้างแนวก้าแพงป้องกัน
การแพร่กระจายของกลิ่นซ่ึงสามารถใช้แนวก้าแพงธรรมชาติ (ต้นไม้) หรือวัสดุอื่นๆ ท้าเป็นแนว
ก้าแพงเพ่อื ช่วยลดความเขม้ ข้นของกล่นิ ลงได้

ภาพที่ 4.2 ก้าแพงป้องกันการแพรก่ ระจายของกล่ินซ่ึงใช้แนวกา้ แพงธรรมชาติ (ตน้ ไม้)

การจัดการของเสยี ในฟาร์มสตั ว์เลย้ี ง 42
ภาพที่ 4.3 การสร้างแนวก้าแพงป้องกันหรือเปล่ียนทิศทางของกลิ่น

ภาพที่ 4.4 การสรา้ งแนวก้าแพงป้องกันหรือเปลย่ี นทศิ ทางของกล่นิ

การจดั การของเสยี ในฟารม์ สัตว์เลีย้ ง 43

2) ระบบบ้าบัดกลิ่นแบบชีวภาพ ชนิดไบโอฟิลเตอร์หรือระบบตัวกรองชีวภาพ เป็นระบบ
บ้าบัดมลพิษทางอากาศท่ีมีการใช้กันแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลกมากว่า 30 ปี โดยใช้จุลินทรีย์
ในการยอ่ ยสลายมลพิษทท่ี า้ ใหเ้ กดิ กล่ิน

ภาพที่ 4.5 ระบบบ้าบัดกลิ่นแบบชวี ภาพ

3.2 การจดั การของเสยี ในฟารม์ สกุ ร
ลักษณะของเสียจากฟาร์มสุกรส่วนใหญ่เกิดจากการล้างท้าความสะอาดคอกและโรงเรือน
การท้าความสะอาดสกุ รและส้วมน้า น้าเสียท่เี กิดจากการปนเปื้อนของมูลสุกรอยใู่ นปริมาณมากจะท้า
ให้มีความสกปรกสูง ในสภาพแวดล้อมของการเลี้ยงท่ีดี สุกรก็จะเป็นสัตว์ท่ีมีความสะอาดและมีความ
เป็นระเบียบ จะเห็นว่าในฟาร์มเล้ียงสกุ รท่ีทา้ เป็นการคา้ ในช่วงแรกหลังคลอดลกู สุกรจะมีการขับถ่าย
กระจัด กระจายทั่วคอก แต่หลังจากที่มีอายุประมาณ 3 วัน ลูกสุกรก็จะเริ่มหลีกเลี่ยงการขับถ่ายใน
บรเิ วณท่ี ใช้เป็นท่ีพักหลับนอน ระยะนี้ลูกสุกรจะเรียนรูพฤตกิ รรมการขับถ่ายของแม่ ดงั นั้นลูกสกุ รจะ
ขับถ่าย ในบริเวณเดียวกับทแ่ี ม่สุกรถา่ ย โดยปกติลูกสุกรจะเรียนรู้และสามารถขบั ถ่ายเป็นทไี่ ดเมือ่ อายุ
ประมาณ 8 วัน หากลูกสุกรไมสามารถเรียนรู้ถึงพฤติกรรมการขับถ่ายท่ีดีไดในช่วงอายุนกี้ ็จะท้าให้ลูก
สกุ รมพี ฤตกิ รรมการขบั ถ่ายท่ีไมดีเมื่อโตขน้ึ

- ควรฝึกหัดให้สุกรมีการขับถ่ายเป็นที่ จะช่วยท้าให้พื้นคอกสะอาด ลดปัญหาเรื่อง
กลิ่นของมูลสุกร ประหยัดเวลาและแรงงานในการท้าความสะอาดคอก ช่วยให้การจัดการเพ่ือก้าจัด
ของเสียภายในฟาร์มง่าย สะดวกและประหยดั ด้วย เพราะการทส่ี ุกรขับถ่ายเป็นที่ทา้ ให้เราสามารถท้า
ความสะอาดคอกได้งา่ ย

- คอยใช้พลั่วตักมูลออก ไมจ้าเป็นต้องล้างคอกทุกวนั ก็จะท้าให้คอกแหง โดยเฉพาะ
โรงเรือนท่ีเป็นพื้นแสลต เวลาสุกรถ่ายปัสสาวะก็จะไหลลงใต้ถุนโรงเรือน หรืออุจจาระบางส่วนก็จะ
หลุดรอดลงมาด้วย การท้าความสะอาดก็ จะสะดวก ย่ิงโรงเรือนที่ยกพื้นสูงข้ึนก็สามารถจะเข้าไป
กวาดอุจจาระหรือใช้น้าฉีดล้างให้ไหลไปรวม กันในรางระบายน้าเสยี แล้วไหลลงสูบ่อเก็บของเสยี ของ
ฟาร์มต่อไป การล้างใต้ถุนโรงเรือนอาจจะไม จ้าเป็นต้องล้างบ่อยครั้ง โดยปกติจะท้าสัปดาห์ละครั้ง

การจดั การของเสียในฟาร์มสตั วเ์ ลีย้ ง 44

- บางฟาร์มอาจจะมีการเล้ียงเป็ดไว้ใต้ถุนเพ่ือ ช่วยเก็บกินอาหารท่ีหกหล่นลงมาก
และยังช่วยกินหนอนแมลงวันเป็นการลดการเพ่ิมจ้านวนของแมลงวันอีกทาง และยังไดผลผลิตจาก
เป็ดด้วย ซึ่งจ้านวนเป็ดที่จะปล่อยก็จะต้องไมมากจนเกินไป จะต้องให้อยู่ในอัตราส่วนที่เหมาะสมกับ
จา้ นวนสุกรที่เลย้ี งทง้ั หมด

อย่างไรก็ตามของเสียจากส่ิงขับถ่ายของสุกรที่ไหลลงไปรวมกันในบ่อพักนั้น จ้าเป็นท่ีจะต้องมี
การจัดการต่อไปอีก เช่นเดียวกับมูลที่ตักออกมาจากคอกสุกรก็จะต้องน้าไปรวมกันไวเพ่ือตากแหง
อาจจะท้าเป็นลานตากแล้วมีการตีพรวนเพ่ือกลับมูลท่ีตากอยูเร่ือยๆ เพ่ือให้แห้งเร็วข้ึนและมูลไมจับ
กันเป็นก้อนแข็ง สามารถน้าไปใช้ท้าเป็นปุ๋ยคอกต่อไป ส้าหรับสิ่งขับถ่ายท่ีรวมกันในบ่อพักนั้นจะมี
ปริมาณน้าค่อนขา้ งมาก การจดั การของเสียน้ีมหี ลายวิธีด้วยกนั หลักการกค็ อื จะต้องแยกเอาส่วนที่เป็น
น้ากับกากที่เป็นของแข็งตกตะกอนอยูออกจากกัน วิธีที่จะใช้ไดผลก็คือ การใช้เคร่ืองแยกมูลโดย
ทเ่ี ครื่องแยกจะทา้ การดดู เอาของเสยี ในบ่อพักขน้ึ มาผ่านตะแกรงกรองแยกส่วนท่ีเป็นกากของแข็งออก
มาแล้วมีมอเตอรไปหมุนเกลียวดูดเอากากน้ีส่งออกไปตามรางลงไปยังหลุมหรือบ่อเก็บ เพ่ือรอน้าไป
ตากแห้งต่อไป สวนท่ีเป็นน้าเม่ือไหลผ่านตะแกรงกรองก็จะไหลลงสูบ่อเก็บน้าเสียอีกบ่อที่อยู่ถัดไป
เพื่อให้เกิดการตกตะกอนของกากของเสียที่มีขนาดเล็กรอดตะแกรงกรองออกมา จากนั้นก็จะท้าการ
ดูดเอาน้าหรือจะใช้วิธีปล่อยให้ล้นไปยังอีกบ่อถัดไปอีกเพ่ือท่ีจะท้าการเติมออกซิเจนโดยการใช้เครื่อง
ปมั้ อากาศเป่าผ่านท่อที่เจาะรูเลก็ ๆ รอบๆ ท่อไว้ใต้บ่อ หรือจะใช้ใบพัดหมุนตอี ยู่บนผิวน้าจะช่วยให้น้า
กลับเป็นน้าท่ีมีคณุ ภาพดี สามารถน้าไปใช้ล้างคอกอีกก็ได อย่างไรก็ตามควรที่จะใสคลอรีน่่าเช้ือโรค
เสยี กอ่ น

การจดั การของเสยี ในฟารม์ สัตว์เลีย้ ง 45

เอกสารอา้ งอิง

เกษม จันทร์แก้ว. 2547. การจดั การส่ิงแวดล้อมแบบผสมผสาน. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ :
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.

เกษม จนั ทร์แก้ว. 2553 .วทิ ยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม พมิ พ์ครงั้ ที่ 8. กรงุ เทพฯ :
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.

จักรกรศิ น์ เน่ืองจา้ นง. 2559. สขุ ศาสตร์ปศสุ ัตว์. พมิ พ์คร้งั ท่ี 2 กรงุ เทพฯ :
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

ธวัชชยั ศุภดิษฐ์. 2551. การจดั การอนามัยสงิ่ แวดล้อมในภาคปศสุ ตั ว์. พมิ พค์ รงั้ ที่ 2.
กรุงเทพมหานคร

นิภาดา สองเมืองสขุ . 2548. การจัดการสิง่ แวดล้อมในฟารม์ สตั วเ์ ลี้ยง. แพร่.
แผนกวชิ าสตั วศาสตร์ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยแี พร่. เอกสารคา้ สอน.

แผนกเศรษฐกจิ การเกษตร .2548. การเล้ียงไกไ่ ขใ่ นระบบโรงเรอื นแบบปิด. กรงุ เทพฯ :
กองวชิ าการ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. (อัดสา้ เนา)

พรสวรรค์ ดษิ ยบตุ ร. 2544 .ชีวิตกบั สง่ิ แวดล้อม. [ออนไลน์]. สบื คน้ ไดจ้ าก :
http://www.tistr.or.th/t/publication/index.asp. 20 เมษายน 2552.

ภาณี คูสุวรรณ์ และศจีพร สมบรู ณ์ทรพั ย์ .2546 .ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม .กรุงเทพฯ :
เอมพนั ธ์ จา้ กดั .

รงุ่ นภา รตั นราชชาติกุล. 2544. “การจัดการของเสียในฟาร์มสกุ ร” วารสารสตั วแพทย์.
11 (2): 40-47.

ศริ ิลักษณ์ วงส์พิเชษฐ. 2543. “ส่งิ แวดลอ้ มกบั สขุ อนามยั ของสัตว์เล้ียง”. วทิ ยาศาสตร์สุขภาพสัตว.์
นนทบรุ ี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช. หน้า 39-85.

สีกุน นชุ ชา. มปป. การจัดการสิง่ แวดล้อมในฟาร์มสัตวเ์ ลย้ี ง. ตรงั . แผนกวชิ าสัตวศาสตร์
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยแี พร่. เอกสารค้าสอน. [ออนไลน์]. สืบค้นได้จาก :
www.seekun.net/e-env-all.htm. 20 เมษายน 2553.

สรสชิ ฐ์ ช้านาญแทน. มปป. การจดั การสงิ่ แวดลอ้ มในฟารม์ สัตวเ์ ลย้ี ง. เชียงใหม่.
แผนกวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่. เอกสารคา้ สอน.


Click to View FlipBook Version