The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อ (ปรับ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wasan.rua, 2022-04-25 04:34:20

แนวทางป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อ (ปรับ

แนวทางป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อ (ปรับ



คำนำ

จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ที่มีการระบาดในวงกวา ง ประเทศไทยพบผูปวยและผูเสียชีวิตเพิ่มขึน้ อยา งตอเน่ือง และมีโอกาสขยาย
การแพรระบาดของโรคติดมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้น การสรางความตระหนัก รูเทาทัน และเตรียมความ
พรอมในการรับมือกับการระบาดของโรคอยางมีประสิทธิภาพจึงมีความจําเปนอยางยิ่งเพื่อลดความ
เสี่ยงและ ปองกันไมใหสงผลกระทบตอสุขภาพของบุคลากรในหนว ยงานสวนกลางของกรมสขุ ภาพจิต
ที่สําคัญ ในการขับเคลอื่ นและพัฒนางานในการสนบั สนุนภารกิจหลกั ของกรมสุขภาพจิต

คณะทำงานเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)
ในหนวยงานสวนกลางกรมสุขภาพจิต จึงไดจัดทำและรวบรวมมาตรการปองกันการระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ของหนวยงานสวนกลางกรมสุขภาพจิต เพื่อเปนแนวทาง
ปฏิบัติสําหรับบุคลากรสวนกลางกรมสุขภาพจิตในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 อยาง
ตอเนือ่ ง โดยเนนความสอดคลอ งกับบริบทของหนว ยงาน ใหเกดิ การปฏบิ ัตงิ านไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ
สามารถดํารงชวี ิตอยูไดอยางปลอดภยั

คณะผูจ ัดทาํ
พฤษภาคม 2565



สารบญั

หนา
คำนำ....................................................................................................................................... ก

สารบญั ................................................................................................................................... ข

1. แนวปฏบิ ตั ิการตรวจ COVID-19 ดว ย Antigen test kit ....................................................1

2. แนวปฏบิ ตั กิ ารเตรยี มผูท่มี ีผลบวกเขา สรู ะบบการรกั ษา ........................................................4

3. แนวปฏบิ ตั ิและคำแนะนำเม่อื เปน ผสู ัมผัสเสย่ี งสูง .................................................................5

4. กระบวนการสอบสวนโรค.....................................................................................................6

5. แนวปฏบิ ตั ิและคำแนะนำเม่อื ครบการรักษา แพทยใหกลบั บา น ......................................... 12

6. แนวปฏบิ ตั แิ ละคำแนะนำเม่ือกลบั เขา ทำงาน..................................................................... 14
เอกสารอางอิง ....................................................................................................................... 15

1

1. แนวปฏิบัตกิ ารตรวจ COVID-19 ดวย Antigen test kit

แนวทางการตรวจ COVID-19 ดว ย Antigen test kit หนว ยงานสว นกลางกรมสุขภาพจติ ดังน้ี

1. การคัดกรองบุคลากรหนว ยงานสวนกลางกรมสุขภาพจติ
ในชวงที่มีการระบาดรุนแรง จะมีการดำเนินการเฝาระวังเชิงรุก (active surveillance) โดยคัด

กรองทุกคนดวย Antigen Test kit อยูแลว ตามระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งเปนมติจากคณะกรรมการปองกันควบคุมโรค
สว นกลางอยา งไรก็ตาม บคุ คลตอ ไปน้ีถือวาจะตองไดร ับการตรวจ Antigen test kit ทกุ ราย นอกเหนือจากการเฝา
ระวงั เชงิ รุกถา บุคคลนัน้ มเี กณฑ ดงั นี้

1.1 ผูส ัมผสั ใกลชดิ กับผตู ิดเช้ือ ไดแ ก
1) เจอกบั ผูตดิ เชื้อในพื้นท่ปี ด อากาศไมถ ายเท
2) อยูหา งจากผูติดเชอื้ ไมเกนิ 1 เมตร นานกวา 15 นาที โดยไมมีการปอ งกัน
3) พูดคยุ กับผตู ดิ เช้ือในระยะ 1 เมตร นานกวา 5 นาที
4) ไอ จาม ใสก นั โดยไมม กี ารปอ งกัน

1.2 ผทู ีม่ ีอาการระบบทางเดนิ หายใจอยา งใดอยา งหนง่ึ ดงั ตอ ไปนี้
มีอาการ ไอ นำ้ มูก เจ็บคอ ไมไ ดกล่นิ หายใจเร็ว หายใจเหน่อื ย หรือหายใจลำบาก และ/

หรือ ประวตั ิมีไข หรอื อุณหภูมริ างกายตง้ั แต 37.5 องศาเซสเซียส ขน้ึ ไป

1.3 ผูสัมผัสกับผูปวยยืนยัน หรือสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินหายใจของผูปวยยืนยัน
COVID-19 โดยไมใ สอ ุปกรณปอ งกนั ท่เี หมาะสม

1.4 ผูที่พบผูมีอาการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจเปนกลุมกอน ตั้งแต 5 รายขึ้นไป ในสถานท่ี
เดยี วกัน ในชวงสปั ดาหเดยี วกัน โดยมเี ชื่อมโยงกนั ทางระบาดวิทยาในพนื้ ทีอ่ าศัย

1.5 มีประวัตเิ ดินทางไป/มาจาก หรอื อยอู าศยั ในพน้ื ที่ เกิดการระบาดโรค COVID-19

2. ระยะเวลาการตรวจดวย Antigen test kit
2.1 บคุ ลากรสว นกลางท่ปี ฏิบัติงานทม่ี คี วามเสี่ยงสงู จะตองตรวจดวย ATK ภายใน 24 ชว่ั โมง
* กรณพี บผลบวก
1. รายงานผูบังคับบัญชาตามลำดับชั้น ผูประสานงานของหนวยงาน แจงทีมสอบสวน

โรค / สลก. เขาทำความสะอาดพ้ืนที่

2

2. การเขา สูก ระบวนการ ดงั น้ี
ระบบ 1330
1. สายดว น สปสช.
2. ลงทะเบยี นทาง Website http://crmsup.nhso.go.th
3. เพิม่ เพ่ือนทาง Line @bkkcovid19connect shorturl.asia/afk0S
OPD หนวยงานในสังกดั (ในเวลาราชการ)
1. โรงพยาบาลศรีธัญญา โทร. 02-528-7887
2. โรงพยาบาลยวุ ประสาทไวทโยปถมั ภ โทร. 081-583-1304
3. สถาบันราชานกุ ูล โทร. 02-248-8900
4. สถาบันกัลยาณร าชนครินทร โทร. 02-441-6117
5. สถาบนั จติ เวชศาสตรส มเด็จเจาพระยา โทร. 02-442-2500 ตอ 59161
Home isolation (ในเวลาราชการ)
1. สถาบันราชานุกูล โทร. 092-469-3524 092-469-4021 ,
092-469-3492
2. สถาบันจิตเวชศาสตรสมเด็จเจาพระยา โทร. 02-442-2500 ตอ 59197
095-912-9269
ผูป ว ยรกั ษาตวั ใน รพ. (กลุมสีเขยี ว) ไมม ีที่กักตัว
รพ.ศรีธัญญา หนวยงานจัดทำหนังสือขออนุเคราะห โดยหัวหนาหนวยงานประสาน

ตรงกบั ผอ.รพ.ศรธี ัญญา
* กรณีพบผลลบ ถาเปนกลุมเสี่ยงสูง กักตัว 7 วัน ณ สถานที่พักอาศัย กรณีที่พักอาศัย

ไมพรอมกักตัว ใหทำหนังสือแจงไปยังสำนักงานเลขานุการกรม ตามแบบฟอรมขออนุญาตเขาพักกักตัว
กรมสุขภาพจิต และตรวจครั้งที่ 2 หลงั จากตรวจคร้งั ที่ 1 แลว 5 วัน และปฏิบัตติ ามมาตรการ D-M-H-T-T

2.2 บุคลากรที่มาบรรจุใหมและนักศึกษาฝกงานใหแสดงหลักฐานการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา
สายพนั ธุใหม 2019 (COVID-19) ผลการตรวจไมเ กิน 24 ชม. ในวนั แรกที่เขา ปฏบิ ตั ิงาน

2.3 ผูรับจางท่ีมาปฏิบตั งิ านเกนิ 1 สัปดาห ใหตรวจ ATK อยา งนอยทกุ 2 สัปดาห
* กรณผี ลบวก แจงผรู บั จา งเขาสกู ระบวนการตรวจตามสิทธิ์
* กรณผี ลลบ ปฏิบัตติ ามมาตรการ D-M-H-T-T

3

แผนผัง แนวทางการปฏบิ ตั ิปองกันการแพรระบาคเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) ของหนว ยงานสวนกลาง

4

2. แนวปฏิบัติการเตรียมผูทมี่ ผี ลบวกเขา สรู ะบบการรกั ษา

แนวทางการแจง และการขอรับการรักษาเม่อื พบ ผล ATK เปน บวกเมอื่ พบผลเปน บวกในพนื้ ท่ี กทม.
สามารถตดิ ตอ เพอ่ื ขอเขา รับการรักษา ไดดงั น้ี

• โทรสายดวน สปสช. 1330 กด 14
• โทรสายดว นโควิดเขตทง้ั 50 เขต
• ลงทะเบยี นทาง Website http://crmsup.nhso.go.th
• เพิ่มเพ่อื นทาง Line @bkkcovid19connect shorturl.asia/afk0S
• โดยผูปวยที่ไมมีอาการ หรือมีอาการเล็กนอย ก็สามารถรักษาที่บานผานระบบ HI ได ซึ่งจะไดรับยา
อาหาร อุปกรณทางการแพทยที่จำเปน และมีหมอติดตามอาการ แตถาไมสะดวกที่จะรักษาตัวอยูที่บาน
ก็สามารถรักษาตัวที่ศูนยพักคอย (CI) และหากมีอาการหนักมากขึ้นเปลี่ยนเปนอาการสีเหลืองหรือสีแดง
ทมี แพทยทดี่ แู ลอยู ก็จะสง ตอ ไปรกั ษาใน รพ.สงั กัด กทม. รพ.สนาม หรอื Hospitel ไดทนั ทีเชนกัน
• แจงหวั หนารบั ทราบ
ทั้งนี้ หากอาศัยอยูจังหวัดใกลเคียง สามารถติดตอสถานพยาบาลใกลบาน หรือ รพ.สต. ใกลบานได
แตหากไมสะดวก ใหติดตอไปยังสายดวน สปสช. โทร. 1330 หรือลงทะเบียนดวยตัวเองที่ ผานเว็บไซต หรือ
ติดตอผานไลน สปสช. ID : @nhsoจากนั้น รอเจาหนาที่จับคูสถานพยาบาลเพื่อดูแล และติดตอกลับภายใน
6 ชั่วโมง (ไมตองใชผลตรวจ RT-PCR) แตหากภายใน 6 ชั่วโมง ยังไมมีการติดตอกลับ ใหโทรแจงเจาหนาท่ี
สายดวน สปสช. 1330 อีกครั้ง และควรงดออกไปในที่ชุมชนที่มีคนอยูจำนวนมาก หรือ สถานที่ที่มีความแออัด
หากมีความจำเปนใหสวมใสหนากากอนามัยตลอดเวลา ลางมือบอย ๆ และงดรับประทานอาหารรวมกับบุคคลอนื่
และงดการใชสิ่งของรวมกบั ผอู ่นื ในครอบครัว

กรณตี รวจที่ทำงาน ATK ผลบวก
1. ผูที่มีผลบวก แยกตัวเองจากคนอื่นๆ และแจงหนวยงานของตน เพื่อประสาน รพ.ศรีธัญญา เพื่อขอสง

ตรวจวินิจฉัยดวยวธิ ี RT PCR
2. แยกกกั ตวั ในสถาน ท่ีทจ่ี ดั ให หรือกักตวั ท่บี า น
3. รอจนกวา ผล RT PCR จะออกและเจาหนาทแี่ จง ผลใหท ราบ
4. ถาผล RT PCR เปน บวก สง เขากระบวนการรักษา รพ.ศรีธญั ญา หรือ รพ.ตามสิทธิ
5. ถาผล RT PCR เปน ลบ ขอรบั คำแนะนำการปฏิบัตติ วั จาก จนท.

5

3. แนวปฏิบตั แิ ละคำแนะนำเม่ือเปนผสู มั ผัสเสี่ยงสงู

บุคคลทถ่ี อื เปน ผสู ัมผสั ความเสยี่ งสูง ไดแก
• พกั อาศัยอยูบานเดยี วกนั และใชข องรวมกันกบั ผปู ว ย
• ไดม กี ารพดู คยุ กบั ผูปวย มากเกนิ กวา 5 นาที (หากไมสวมหนา กากอนามยั ยง่ิ มคี วามเสี่ยงสูง)
• ถกู ผูปวยไอ จาม รด
• อยูในสถานที่แออัดรวมกับผูปวย ในระยะ 1 เมตร เปนเวลาเกิน 15 นาที โดยไมสวม

หนากากอนามัย
• เครื่องบิน (นงั่ 2 แถวหนา-หลังของผปู ว ย)
• รถประจำทาง รถตโู ดยสาร ถา เกิน 15 นาที ถอื เปนผทู มี่ คี วามเส่ยี งสูง

ควรทำอยา งไร เมอ่ื รตู วั วา เปน ผสู ัมผสั เสยี่ งสงู
• ทำการแยกกัก เพื่อสังเกตอาการตนเอง (Self-Monitoring) ประมาณ 3 วัน โดยยึดหลัก

D-M-H-T-T เนน การสวมหนา กากอนามยั ตลอดเวลา และเวน ระยะหา งจากบุคลคลอนื่
ตรวจ ATK ดวยตนเอง อยางนอย 2 ครั้ง (หลังจากสัมผัสผูติดเชื้อ 3-5 วัน) โดยตรวจครั้งที่ 1

ในวันที่ 5 หรือ 6 นับจากวันที่สัมผัสผูติดเชื้อโควิด-19 และตรวจครั้งที่ 2 ตรวจวันที่ 10 นับจากวันที่สัมผัส
ผตู ดิ เชอ้ื โควิด-19

กรณที ผี่ สู มั ผสั เสีย่ งสูง มีอาการแสดง ไข ไอ ปวดตวั เจบ็ คอ มนี ้ำมกู แนะนำใหต รวจ ATK ทันที

6

4. กระบวนการสอบสวนโรค

ระบบสอบสวนโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 กรณีบคุ ลากรกรมสขุ ภาพจติ

1. ความเปน มา
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระบาดทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย ตั้งแตปลายป พ.ศ.2562 ปจจุบัน

ประเทศไทยเขาสูระลอกที่ 4 จากการระบาดของเชื้อกลายพันธุโอไมครอนและคาดการณจะยังคงมี
การระบาดตอ เน่ืองไปอกี ระยะหน่ึง ทงั้ ในประชาชนและบคุ ลากรสาธารณสขุ

กรมสุขภาพจิตพัฒนาระบบสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรณีบุคลากรกรมสุขภาพจิต โดยชี้แจง
การดำเนนิ งานตัง้ แตวันที่ 1 กันยายน 2564

ทั้งนี้กำหนดเปาหมายเพื่อควบคุมปองกันการแพรระบาดไปยังครอบครัวบุคลากรกรมสุขภาพจิต
ผูมารับบริการ เพื่อนหนวยงาน และชุมชน รวมทั้งคนหาปจจัยเสี่ยงการติดเชื้อของบุคลากรดังกลาวที่ผานมาระบบ
สามารถดำเนินการไดอ ยา งตอ เนอื่ ง

กรมสุขภาพจิตมีมาตรฐานเดียวกันในการสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีขอมูลประกอบ
การตดั สนิ ใจในการวางมาตรการควบคมุ ปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคไมขยายวงกวา งไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ

สืบเนื่องเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2565 กระทรวงสาธารณสุขปรับแนวปฏิบัติในการนำผูปวยเขาระบบรักษา
โดยกรณีสงสัยติดเชื้อใหตรวจหาเชื้อดวย Antigen test Kid: ATK หากไดผลบวกใหเขาระบบรักษาตัวที่บาน
(Home Isolation: HI) หรือรักษาตัวในชุมชน (Community Isolation: CI) หรือ สถานพยาบาลผูปวยเฉพาะกิจ
(Hospitel) สวนตรวจหาเชื้อดวย RT-PCR ในผูที่ตรวจ ATK ผลเปนลบแตมีอาการ และผูสงสัยติดเชื้อท่ีทีมปฏิบัติการ
ปองกันและแกไขปญหาโควิด-19 เชิงรุก (Comprehensive Covid – 19 Response Team: CCRT) คนหาเชิงรุก
(แผนภูมทิ ่ี 1)

7

แผนภมู ิท่ี 1 แนวทางการปฏบิ ตั ิการนำผตู ดิ เช้ือเขาสรู ะบบการรกั ษาพยาบาล
ดังนั้นเพื่อพัฒนาระบบสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรณีบุคลากรกรมสุขภาพจิตใหตอเนื่อง
เปนไปอยางตอเนื่อง เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สอดคลองกับแนวปฏิบัติดังกลาว ขอสังเกตตางๆ จากการประเมิน
ระบบในชวงที่ผานมา รวมทั้งใหทีมสอบสวนโรคระบบสามารถดำเนินการไดอยางคลองตัว จึงจำเปนตอง
พัฒนาระบบดงั กลาว ในปงบประมาณ 2565
แนวปฏบิ ตั ิการสอบสวนโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 บคุ ลากรสังกัดกรมสขุ ภาพจติ
1. เมื่อไดรับแจงขาวบุคลากรกรมสุขภาพจิต มีผลตรวจหาเชื้อจาก ATK เปนบวกจากแหลงขอมูลตางๆ เชน
โทรศัพท ไลน เปนตน หัวหนาทีมสอบสวนโรคหนวยงาน ตรวจสอบ ยืนยันผลการตรวจหาเชื้อ และ
รายงานผูอำนวยการ ผูบริหารหนวยงานทันที และกรอกขอมูลใน link แจงขาวบุคลากรกรมสุขภาพจิต
ปว ยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใน 24 ชวั่ โมงหลังทราบผลการตรวจหาเช้ือ ATK positive
2. หัวหนาทีมสอบสวนโรคหนวยงาน จัดทีมสอบสวนโรค เพื่อทำการสอบสวนเฉพาะรายบุคลากร คัดกรอง
แยกกกั เฝาระวัง ผสู มั ผสั เส่ยี งสงู -ตำ่ ทนั ทีหลงั ทราบผลการตรวจหาเชอ้ื ATK positive

8

3. หัวหนาทีมสอบสวนโรคหนวยงานรายงานผลสอบสวนโรคตอผูบริหาร ประสานหนวยรับผิดชอบ
ในหนว ยงานเพอื่ นำบุคลากรปว ยเขา สรู ะบบรักษา

4. ทีมสอบสวนโรคบันทึกผลสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในโปรแกรมบันทึกผลสอบสวนบุคลากร
กรมสุขภาพจติ (Staffcovid19dmh) ภายใน 3 วัน หลังทราบผลการตรวจหาเชื้อ ATK positive

5. กลุมระบาดวิทยาสุขภาพจิต ดำเนินการจัดการ วิเคราะหขอมูล และจัดทำรายงานรายวันในรูปแบบ
Infographic Power point เสนอผูบริหาร ทีมสอบสวนโรค และหนวยที่เกี่ยวของ โดยใชชุดขอมูล จากโปรแกรม
บันทึกผลสอบสวนโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในบคุ ลากรกรมสขุ ภาพจติ และแบบรายงานการสอบสวนโรคโควิด-19

6. รายงานผลสอบสวนโรคโควดิ -19 กรณบี คุ ลากรกรมสขุ ภาพจิต
6.1 รายวันผานทางไลนกลุม EOC กรมสุขภาพจิต ไลนกลุม SAT DMH และไลนกลุม ทีมสอบสวน

โรคโควดิ -19 กรมสขุ ภาพจิต
6.2 รายสปั ดาห หรอื รายเดอื นในท่ีประชมุ คณะกรรมการตาม ศูนยบ ัญชาการเหตกุ ารณ ภาวะวิกฤติ

ทางสุขภาพจติ
6.3 รายงานสรุปขอมูลเบื้องตนในรูปแบบ Dashboard จากโปรแกรมบันทึกผลสอบสวน

โรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
7. ทีมสอบสวนโรครายงานอาการประจำวันของบุคลากรปวยทุกวันในชวงเชาจนกวาครบวันรักษา ตาม link

รายงานอาการปจจบุ ัน กรณีบคุ ลากรกรมสขุ ภาพจิตติดเชอื้ โรคไวรัสโคโรนา 2019
8. บคุ ลากรหายปว ย กลับไปปฏบิ ตั ิงานไดตามปกติ

2. วตั ถปุ ระสงคก ารสอบสวนโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
1.เพื่อยืนยัน และคนหาแหลงแพรเชื้อ ผูที่อาจเปนแหลงโรค เพื่อนำเขาสูกระบวนการรักษาไดทันทวงที

ผสู ัมผัสใกลชิดเส่ยี งสูง เพื่อตรวจหาเช้อื และเขาสูระบบกกั ตัว ผสู มั ผสั ใกลช ดิ เสี่ยงตำ่ เพื่อเฝาระวงั อาการ
2. เขา ใจ ทราบลกั ษณะการเกดิ โรค การกระจายของโรค ปจ จัยทีท่ ำใหเกดิ โรคในแตล ะราย
3.หาแนวทางในการวางมาตรการปองกันการแพรระบาดในครอบครัวบุคลากร ผูรับบริการ หนวยงาน

และชมุ ชน

3. กลุม เปา หมายในการสอบสวนโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
บุคลากรกรมสขุ ภาพจิตทีม่ ีหรือไมม อี าการปวยโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ที่มีผลตรวจ Antigen Test Kit

(ATK) เปนบวก กรณที ไ่ี มไ ดตรวจ ATK ใหใ ชผ ล detected จากการตรวจ RT-PCR

9

4. ทีมสอบสวนโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 กรมสุขภาพจติ ประกอบดว ย
1. ที่ปรึกษาทีมสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีบทบาทเปนที่ปรึกษา และกำกับติดตาม

การสอบสวนโรค
2. หัวหนาทีมสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีบทบาทรับแจงการปวยโควิด-19 ตรวจสอบและ

ยืนยันการปวย รายงานผูบริหารหนวยงาน สื่อสารในองคกร จัดทีมลงสอบสวนโรค ตรวจสอบการบันทึก
ขอ มูลผลสอบสวนโรคในโปรแกรมบนั ทกึ ผลสอบสวนโรค และรายงานผูบริหารหนวยงาน

3. ผูสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีบทบาทสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และบันทึก
ขอ มลู ผลสอบสวนโรคตามเครอ่ื งมือท่ีกำหนด ทงั้ น้คี วรมีจำนวนอยา งนอ ย 2 คนขน้ึ ไป

4. นักวิชาการคอมพิวเตอร หรือผูดูแลระบบสารสนเทศหนวยงานมีบทบาทในการดูแลระบบฐานขอมูล
และโปรแกรมบนั ทึกขอมลู ผลสอบสวนโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019

5. เครื่องมือทใ่ี ช ประกอบดว ย
1. แบบแจงขาวบุคลากรกรมสุขภาพจิตปวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยหัวหนาทีมสอบสวนโรค

รายงานภายใน 24 ชัว่ โมง หลังทราบผลการตรวจหาเชอ้ื ATK positive
2. แบบสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรณีบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข: Novelcorona

2H version 11 สิงหาคม 2564 กรมควบคุมโรค (ฉบับปรับปรุง 2 โดยกรมสุขภาพจิต ณ วันที่ 4 กุมภาพันธ 2565)
โดยทมี สอบสวนโรคสอบสวนทนั ทเี มื่อทราบผลการตรวจหาเชอ้ื ATK positive

3. โปรแกรมบันทึกผลสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในบุคลากรกรมสุขภาพจิต
โดยทีมสอบสวนโรคหรือผูดูแลระบบฐานขอมูลบันทึกผลสอบสวนโรคภายใน 3 วัน หลังทราบผลการตรวจหาเช้ือ
ATK positive

4. แบบรายงานอาการปจจุบัน กรณีบุคลากรกรมสุขภาพจิตติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 โดยทีม
สอบสวนโรค หรอื บุคลากรท่ีปว ยรายงานทกุ วนั ในชว งเชา จนกวาครบวันรักษา

6. การรายงานและเผยแพรผ ลสอบสวนโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
1. รายงานผลสอบสวนโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 รายวัน ผานทางไลนก ลมุ EOC กรมสุขภาพจิต ไลนก ลมุ

SAT DMH และไลนก ลุมทีมสอบสวนโรคโควิด-19 กรมสุขภาพจิต
2. รายงานผลสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รายสัปดาหหรือรายเดือนในที่ประชุม คณะกรรมการ

ตามศูนยบ ญั ชาการเหตุการณภ าวะวกิ ฤติทางสุขภาพจติ
3. รายงานสรุปขอมูลเบื้องตนในรูปแบบ Dashboard จากโปรแกรมบันทึกผลสอบสวน โรคติดเช้ือ

ไวรัสโคโรนา 2019

10

7. ผลทค่ี าดวา จะไดร บั
1. บุคลากรที่ปวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไดรับการรักษาทันที กลุมผูสัมผัสใกลชิดเสี่ยงสูง เขาระบบ

การตรวจหาเชอื้ และเขา สูระบบกกั ตวั สวนผูสมั ผัสใกลช ดิ เสีย่ งต่ำไดเ ฝาระวังอาการ
2. กรมสุขภาพจิตมีขอมูลสถานการณบุคลากรปวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปจจัยเสี่ยง และปจจัยที่

ทำใหเกิดโรคเพื่อนำมาใชในการวางมาตรการควบคุมปองกันการแพรระบาดในครอบครัวบุคลากรผูรับบริการ
หนวยงาน และชมุ ชน

แผนผงั แนวปฏบิ ัติการสอบสวนโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 กรณีบคุ ลากรกรมสุขภาพจติ

11

แนวปฏิบตั กิ ารสอบสวนโรคติดเชอ้ื ไวรัวโคโรนา 2019 บคุ ลากรสังกัดกรมสขุ ภาพจติ

1. เมื่อไดรับแจงขาวบุคลากรกรมสุขภาพจิต มีผลตรวจหาเชื้อจาก ATK เปนบวกจากแหลงขอมูลตางๆ
เชน โทรศัพท ไลน เปนตน หัวหนาทีมสอบสวนโรคหนวยงาน ตรวจสอบ ยืนยันผลการตรวจหาเชื้อและรายงาน
ผูอำนวยการ ผูบริหารหนวยงานทันที และกรอกขอมูลใน link แจงขาวบุคลากรกรมสุขภาพจิตปวยโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 ภายใน 24 ช่วั โมงหลังทราบผลการตรวจหาเชอ้ื ATK positive

2. หัวหนาทีมสอบสวนโรคหนวยงาน จัดทีมสอบสวนโรค เพื่อทำการสอบสวนเฉพาะรายบุคลากร คัดกรอง
แยกกกั เฝา ระวงั ผูส มั ผสั เสีย่ งสงู -ต่ำ ทนั ทีหลงั ทราบผลการตรวจหาเช้ือ ATK positive

3. หัวหนาทีมสอบสวนโรคหนวยงานรายงานผลสอบสวนโรคตอผูบริหารประสานหนวยรับผิดชอบ
ในหนวยงานเพือ่ นำบุคลากรปวยเขา สูร ะบบรักษา

4. ทีมสอบสวนโรคบันทึกผลสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในโปรแกรมบันทึกผลสอบสวนบุคลากร
กรมสขุ ภาพจิต (Staffcovid19dmh) ภายใน 3 วนั หลงั ทราบผลการตรวจหาเชื้อ ATK positive

5. กลุมระบาดวิทยาสุขภาพจิต ดำเนินการจัดการ วิเคราะหขอมูล และจัดทำรายงานรายวันในรูปแบบ
Infographic Power point เสนอผูบริหาร ทีมสอบสวนโรค และหนวยที่เกี่ยวของ โดยใชชุดขอมูล จากโปรแกรม
บนั ทกึ ผลสอบสวนโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ในบุคลากรกรมสขุ ภาพจติ และแบบรายงานการสอบสวนโรคโควิด-19

6. รายงานผลสอบสวนโรคโควดิ -19 กรณบี ุคลากรกรมสขุ ภาพจติ
6.1 รายวันผานทางไลนกลุม EOC กรมสุขภาพจิต ไลนกลุม SAT DMH และไลนกลุมทีมสอบสวน

โรคโควดิ -19 กรมสุขภาพจิต
6.2 รายสัปดาหหรือรายเดือนในที่ประชุมคณะกรรมการตามศูนยบัญชาการเหตุการณภาวะวิกฤติ

ทางสุขภาพจติ
6.3. รายงานสรุปขอมูลเบื้องตนในรูปแบบ Dashboardจากโปรแกรมบันทึกผลสอบสวนโรคติดเชื้อ

ไวรัสโคโรนา 2019
7. ทีมสอบสวนโรครายงานอาการประจำวันของบุคลากรปวยทุกวันในชวงเชาจนกวาครบวันรักษา ตาม link

รายงานอาการปจ จบุ นั กรณีบคุ ลากรกรมสุขภาพจิตติดเชอื้ โรคไวรัสโคโรนา 2019
8. บุคลากรหายปวย กลบั ไปปฏบิ ตั งิ านไดต ามปกติ

12

5. แนวปฏิบัตแิ ละคำแนะนำเมอื่ ครบการรกั ษา แพทยใ หก ลับบา น

คำแนะนำในการปฏิบัติตนสำหรับผูปวย Covid-19 ที่แพทยจำหนายใหกลับไปกักตัวที่บาน
กอ นพน ระยะกกั ตวั ดังนี้

กรณีที่แพทยจ ําหนายใหก ลบั บานกอนพนระยะกกั ตวั อยางนอย 10 วนั นบั ตงั้ แตวันท่ีตรวจพบเช้ือ

1. งดออกจากบานไปยังชุมชนทุกกรณียกเวนการเดินทางไปโรงพยาบาลโดยการนัดหมาย
และการจัดการโดยโรงพยาบาล

2. ใหแยกหองนอนจากผูอื่นถาไมมีหองนอนแยกใหนอนหางจากผูอื่นอยางนอย 3-5 เมตร
และตองเปนหองที่เปดใหอากาศระบายไดดีผูติดเชื้อนอนอยูดานใตลมหากไมสามารถจัดไดอาจตองใหผูติดเชื้อพัก
ท่ศี นู ยแ ยกโรคชุมชน (community isolation) จนพนระยะการแยกโรค

3. ถาแยกหองน้ำไดควรแยกถาแยกไมไดใหเช็ดพื้นผิวที่มีการสัมผัสดวยน้ำยาทำความสะอาด
หรือน้ำยาฆา เชอ้ื เชน แอลกอฮอลหลงั การใชทกุ ครั้ง

4. การดแู ลสุขอนามยั ใหสวมหนา กากอนามยั หรอื หนากากผา เมือ่ ตองอยรู วมกับผอู ืน่
5. ลางมือดวยสบูและน้ำเปนประจำโดยเฉพาะหลังจากถายปสสาวะหรืออุจจาระหรือถูมือดวย
เจลแอลกอฮอล 70%
6. ไมรับประทานอาหารรว มวงกับผูอื่น
7. หลีกเลยี่ งการอยใู กลชดิ กบั ผูอืน่ ในระยะไมเ กนิ 2 เมตร การพบปะกันใหสวมหนากาก
8. ดื่มน้ำสะอาดใหเพียงพอรับประทานอาหารที่สุกสะอาดมีประโยชนครบถวนตาม
หลกั โภชนาการ
9. หากมีอาการปวยเกิดขึ้นใหม หรืออาการเดิมมากขึ้น เชน ไขสูง ไอมาก เหนื่อย แนนหนาอก
หอบ หายใจไมสะดวกเบื่ออาหาร ใหติดตอถานพยาบาลหากตองเดินทางมาสถานพยาบาลแนะนําใหสวมหนากาก
ระหวา งเดนิ ทางตลอดเวลา
10. หลังจากครบกำหนดการกักตัวตามระยะเวลา 10 วัน นับตั้งแตวันที่ตรวจพบและทำงานได
ตามปกติ ตามแนวทางวิถีชีวติ ใหม เชน สวมหนากากอนามัยเมื่ออยรู วมกบั คนอื่น การทำความสะอาดมือการรักษา
ระยะหา ง เปนตน หากมีขอ หากมีขอสงสัยใด ๆ สอบถามไดท ่ีโรงพยาบาลทท่ี า นไปรับการรกั ษา

คำแนะนำในการปฏบิ ตั ติ นสำหรับผูปว ย Covid-19 ที่กกั ตวั ครบ 10 วนั

ผูที่หายปวยและไดออกจากโรงพยาบาลหลังเขารับการรักษาจนครบ 10 วัน หรือกลับมากักตัวที่บาน
จนครบ 10 วัน จัดวาเปนผูที่พนระยะการแพรเชื้อ และอยูในระยะที่รางกายฟนตัวไมจำเปนตองแยกกักตัวหรือ
แยกจากคนอื่นแลว สามารถทำงานไดตามปกติ ซึ่งผูที่เคยติดเชื้อจะมีโอกาสติดเชื้อซ้ำไดแตสวนใหญจึงจำเปน

13

ตองไดรับการฉีดวัคซีนในภายหลังดวยอยางไรก็ตามขอใหยังคงตองปฏิบัติดูแลสุขอนามัยตามคำแนะนำของ
กรมควบคุมโรค เพื่อปองกันการรับเชื้อเขาสูรางกายจนกวาสถานการณการแพร ระบาดของโรคโควิด 19
จะยตุ ิ ดังนี้

1. สวมหนา กากอนามยั หรอื หนา กากผา ตลอดเวลาเม่ือตอ งอยูร ว มกับผอู ืน่ เวน ระยะหางทางสังคม
2. ลางมือดวยสบูและน้ำเปนประจำ หรือใชเจลแอลกอฮอล สเปรยแอลกอฮอล 70% ถูมือให
ท่ัวถงึ กอนรบั ประทานอาหาร และภายหลงั เขา หอ งน้ำ หอ งสวม หรือหยิบจบั สิง่ ของตางๆ
3. ไมใชอ ปุ กรณร บั ประทานอาหารและแกวน้ำรวมกับผอู น่ื
4. ดื่มน้ำสะอาดมากๆ รับประทานอาหารปรุงสุกใหม สะอาด ใหครบ 5 หมู โดยเฉพาะผักผลไม ที่มีวิตามินซีสูง
แตห ากมอี าการทอ งเสียหรืออาเจยี นให งดอาหารยอยยากและอาหารประเภท นมหรือผลไมสด
5. นอนหลับพักผอนใหเพียงพอ เพื่อใหรางกายไดซอมแซมตัวเอง งดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล
งดสบู บุหรี่ หรือยาเสพตดิ ทกุ ชนิด เพอื่ ลดการทำลายอวัยวะภายใน ทำใหสุขภาพออนแอลงได
6. ขอใหส ังเกตตนเอง หากมีอาการปวยเกดิ ขึ้นใหม เชน มีไขสูง ไอมาก มีอาการเหนือ่ ยหอบ แนนหนาอก
หายใจไมสะดวก เบื่ออาหาร เปนตน อาการที่กลาวมาอาจเกิดมาจากหลายสาเหตุ ทั้งอาจเปนเชื้อไวรัสโควิด 19
หรือติดเชื้อชนิดอื่นๆ ได ขอใหรีบติดตอที่สถานพยาบาลเดิมที่เคย รักษาหรือโทรปรึกษาสายดวนกรมควบคุมโรค
1422 และหากตองไปสถานพยาบาล ใหสวมหนา กากอนามยั ระหวางเดนิ ทางตลอดเวลา

คำแนะนำของหนวยงานในการติดตามดูแลบุคลากรที่ติดเช้ือเม่ือเตรยี มตวั กลบั บาน

1. มีผูรับผิดชอบของหนวยงานติดตามดูแล อำนวยความสะดวกและใหความชวยเหลือเรื่องตาง ๆ
ตามความเหมาะสม เชน การลาหยดุ การเดนิ ทางกลบั บาน อาหารเมื่อตองกกั ตวั ทบ่ี า น เปน ตน

2. ใหข อมลู คำแนะนำในการปฏบิ ัติตนเมือ่ อยบู าน ตามกรณดี งั น้ี

➢ คำแนะนำในการปฏิบตั ิตนสำหรับผปู วย Covid-19 ทแี่ พทยจำหนายใหกลบั ไปกกั ตัวทบี่ านกอ น
พน ระยะกกั ตัว

➢ คำแนะนำในการปฏบิ ตั ติ นสำหรับผปู วย Covid-19 ท่ีกักตวั ครบ 10 วนั
3. โทร หรือ ไลน เยี่ยมติดตามอาการ ใหกำลังใจ อยางตอเนื่อง ตามความตองการของผูปวย
หรืออาจใหเ พ่อื นสนทิ คอยติดตามอาการโดยเฉพาะคนที่พกั อยคู นเดียว
4. มผี รู ับผิดชอบของหนวยงานในการใหคำปรึกษากรณีตอ งการความชวยเหลอื

14

6. แนวปฏิบัติและคำแนะนำเมอื่ กลับเขาทำงาน

แนวปฏบิ ตั ใิ นการใหผปู วยโควดิ -19 หลังรักษาหายกลับเขา ทำงาน ดังน้ี

1. ผูบริหารหนวยงานแจงและใหขอมูลแกผูปฏิบัติงานในหนวยงานถึงความปลอดภัยวาผูปวย
พนระยะการแพร เชื้อและอยูในระยะที่รางกายฟนตัวไมจำเปนตองแยกกักตัวหรือแยกจากคนอื่นแลว
สามารถทำงานไดตามปกติ ใหป ฏิบตั ติ ามมาตรการวธิ ีปองกันการแพรร ะบาดของโควิด-19 ดังน้ี

1) รักษาระยะหา งท่ปี ลอดภัยจากผูอืน่ (อยางนอย 1 เมตร) สวมหนากากอนามยั
2) ลางมอื บอ ย ๆ โดยใชส บูและนำ้ หรอื เจลลางมือทม่ี ีสว นผสมหลกั เปนแอลกอฮอลควรลางมือให
สะอาดทุกครงั้ ทงั้ กอนและหลงั รับประทานอาหาร
3) ไมควรรับประทานอาหารรวมกันหรือหลีกเลี่ยงการแบงปนอาหารและการพูดคุยระหวาง
รบั ประทานอาหาร เพอื่ ปองกนั หรอื ลดความเสยี่ งในการแพรก ระจายของเช้อื โรคโควิด-19
4) ไมใ ชอ ุปกรณรบั ประทานอาหารและแกว นำ้ รวมกบั ผูอืน่

5) หลีกเลี่ยงการใชอุปกรณการทำงานรวมกับคนอื่นทำความสะอาดอุปกรณ เชน คียบอรด

โทรศพั ท และเมาส เปนประจำดว ยนำ้ ยาทำความสะอาด
6) เมื่อรูสกึ ไมสบาย มไี ข ไอ เปนหวัด ใหอ ยูบาน ตรวจ ATK ถา ปกตใิ หม าปฏิบัติงานได
7) การฉีดวัคซีนตามหลกั เกณฑทก่ี ำหนด
8) การตรวจ ATK ตามทห่ี นว ยงานกำหนด
9) วัดอุณหภมู ิ

2. หนวยงานสนับสนุนใหมีอุปกรณในการปกปองสุขภาพของตนเองและเพื่อนรวมงาน เชน หนากาก
อนามัย อุปกรณก ารทำสะอาดพน้ื ทที่ ำงาน สบลู า งมอื เจลแอลกอฮอล ชุดตรวจ ATK

3. แนะนำใหผปู วยโควดิ -19 หลังรักษาหายกลับเขา ทำงานเฝาระวังสขุ ภาพของตนเองและเขา พบแพทย
ในกรณีที่เกิดอาการใด ๆ ดงั นี้ ออนเพลีย ออ นลา ปวดเม่ือยกลา มเนอ้ื ปวดตามขอ ใจสั่น เจบ็ หนาอก เหน่อื ยเรอื้ รงั
เหนื่อยงาย ออนเพลีย ไอเรื้อรัง หลงลืม ออนแรงเฉียบพลัน ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ มึนศีรษะ กลามเนื้อฝอลีบ
ผมรวงวติ กกังวล นอนไมหลบั ซึมเศรา

4. ผูรับผิดชอบของหนวยงานในการใหคำปรึกษากรณีตองการความชวยเหลือทั้งทางดานสุขภาพกาย
และสุขภาพจิต

15

เอกสารอา งองิ

1. แนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัย ดูแลรักษา และปองกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีผูปวยติดเช้ือ
โคโรนาไวรสั 2019 สำหรบั แพทยและบคุ ลากรสาธารณสขุ โดยคณะทำงานดานการรกั ษาพยาบาลและการปองกัน
การติดเชื้อในโรงพยาบาล กรมการแพทยกระทรวงสาธารณสุขรว มกับคณาจารยผเู ชีย่ วชาญจากคณะแพทยศาสตร
มหาวทิ ยาลยั ตางๆ ปรับปรุง วนั ที่ 2 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564

2 กรมควบคมุ โรค https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=20072&deptcode=brc


Click to View FlipBook Version