The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สื่อ E-book นายณัฐวิชช์ ทองสืบ D3 เลขที่ 7 6321126068

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by katjangbns, 2021-05-25 15:14:38

สื่อ E-book นายณัฐวิชช์ ทองสืบ D3 เลขที่ 7 6321126068

สื่อ E-book นายณัฐวิชช์ ทองสืบ D3 เลขที่ 7 6321126068

Keywords: History,Education,Thai

Â¤Ø á˧‹ ¡ÒÃÊÒí ÃǨ

¹ÒÂ³Ñ°ÇªÔ ª ·Í§Ê׺ 6321126068 D3 àÅ¢·è7Õ



Â¤Ø áˋ§¡ÒÃÊíÒÃǨ
ËÃÍ× ÂØ¤áˋ§¡Ò乌 ¾º

(Age of Exploration ËÃ×Í Age of Discovery)





¤íÒ¹íÒ

สือ่ E-book เลมน้ีเปน สว นหนึ่งของวิชา ประวัตศิ าสตรไทย ใช
ศกึ ษา เรียนรูเ รือ่ งยุคแหง สํารวจทางทะเลหรือยุคแหง การคนพบผูจัด
ทาํ ไดนําเอาจุดเร่มิ ตน การกาํ เนิด สาเหตุ ผลกระทบและอธิบายบทบาท
ของชนชาติตา ง ๆ ในยุคสมัยน้ีผจู ดั ทําหวงั วา E-book เลมนีจ้ ะมี
ประโยชนแกผอู าน หรอื ผูส นใจในเรื่องยุคแหง การสาํ รวจทางทะเลหรอื
ยคุ แหงการคนพบ

หากมีขอ ผดิ พลาดประการใดตองขออภยั มา ณ ท่นี ีด้ วยพรอม
ทง้ั รบั ฟง ความคิดเห็นและขอบกพรอ งเพอ่ื นาํ มาปรับปรงุ รายการเลมน้ี
ใหออกมาสมบูรณค รบถวนและถูกตองเพอ่ื ที่จะเปน ประโยชนถึงทสี่ ดุ

ผจู ดั ทาํ
นายณัฐวชิ ช ทองสืบ



ÊÒúѭ ข

คาํ นํา ก
สารบัญ ข
หนา ท่ี
เร่อื ง
1-2
ยคุ แหงการสํารวจหรอื ยุคแหง การคนพบ 3-4
(Age of Exploration หรอื Age of Discovery) 5 - 10
สาเหตุของการสํารวจทางทะเล
บทบาทของชาตติ าง ๆ ในการสาํ รวจทางทะเล 11
12
- โปรตเุ กส
- สเปน
- ฮอลันดาหรอื เนเธอรแ ลนด
- องั กฤษ
- ฝร่ังเศส
ผลกระทบของการสาํ รวจทางทะเลทีส่ ําคญั
อา งอิง



1
Â¤Ø á˧‹ ¡ÒÃÊíÒÃǨËÃ×ÍÂØ¤á˧‹ ¡Ò乌 ¾º

(Age of Exploration ËÃÍ× Age of Discovery)

การสํารวจทางทะเลของยโุ รปเริม่ ตนเมือ่ ค.ศ. 1450-1750 ซง่ึ
เกดิ ขน้ึ ในชว งเวลาใกล เคียงกับยคุ ฟน ฟศู ิลปวิทยาการของยโุ รป

และตางก็มบี ทบาทสําคญั ตอ ประวัติศาสตรยุโรปในยุค ใหม
กลา วไดว า การฟน ฟศู ิลปวิทยาการเปน พืน้ ฐานสาํ คญั ทําใหเกิด
การสํารวจทางทะเล ซ่ึงเปน ผลใหยโุ รปเผยแพรวฒั นธรรมของ

ตนไปสูภมู ภิ าคอื่น ๆ ของโลกไดในเวลาตอ มา

ในสมยั กลางสินคาตะวันออกท่ีเปนทต่ี องการของชาวตะวันตก
และทํากาํ ไรมหาศาลใหแกพอ คา ไดแก ผา ไหมจากจีน เคร่ืองเทศ

จากหมูเกาะในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต แรทองคาํ และเงนิ จาก
เอเชยี กลาง เสนทางการคาระหวา งโลกตะวันตกกับโลกตะวนั
ออกตองใชเสน ทางทางบกเปนเสนทางหลัก ชาวยุโรปสามารถ

เดินทางไปตะวนั ออกโดยผา นทางดินแดนตะวันออกกลาง

2

แตเสนทางบกไมไ ดร ับความนยิ มจากชาวยุโรป
สืบเนอ่ื งมาจากสาเหตุ ดงั นี้

- การเดนิ ทางเตม็ ไปดว ยความยากลําบากและมีอันตราย
- ตามเสนทางมีการกดี กันทางดานการคา ของเมอื งตางๆ

ทตี่ ั้งอยูบนเสนทางท่ีผา น
- เสน ทางการเดนิ ทางมรี ะยะไกลมากทําใหมกี าํ ไรนอ ย
- ตามเสน ทางการเดนิ ทางถกู ควบคุมโดยจักรวรรดิอสิ ลาม

ที่เปน ศัตรกู บั ชาวยุโรป

3

ÊÒà˵آͧ¡ÒÃÊíÒÃǨ·Ò§·ÐàÅ

1.มีวทิ ยาการที่กาวหนา ในสมัยฟน ฟูศิลปวทิ ยาการ ชาวยโุ รปไดเ ริ่ม
หนั มาสนใจ ศึกษาสง่ิ แวดลอ มรอบๆ ตัว และผลจากการตดิ ตอกับ
โลกตะวันออกในสมัยสงครามครเู สด รวมทัง้ การขยายตวั ของเมือง
ในระยะเวลาใกลเ คียงกัน ทําใหชาวยโุ รปไดส ัมผสั กับอารยธรรม

ความเจรญิ ของโลกตะวนั ออกหลายอยา ง โดยเฉพาะทางดา น
ปรัชญา คณติ ศาสตร และดาราศาสตร ทาํ ให ปญ ญาชนเริ่มตรวจ
สอบความรูของตนและคนหาคําตอบใหก บั ตนเองเกีย่ วกับธรรมชาติ
รอบตัว ซึ่งผลกั ดนั ใหชาวยุโรปหนั มาสนใจตอความล้ีลบั ของทอ ง
ทะเลที่ก้นั ระหวางโลกตะวนั ออกกบั โลก ตะวันตก โดยเฉพาะความรู
ทางภมู ิศาสตรแ ละแผนท่ีของโตเลมี (PTOLEMY) นักดาราศาสตร
และ นกั คณิตศาสตรช าวกรีก ทแี่ สดงทต่ี งั้ ของทะเลเมดเิ ตอรเรเนยี น
ดนิ แดนริมฝง ทะเลคาบสมทุ ร ไอบีเรยี จนถงึ ดนิ แดนฝงทะเลตอน
เหนอื ของทวีปแอฟรกิ า รวมท้ังดินแดนทางดา นตะวันออกที่ เปนผนื
แผนดินใหญถ งึ อนิ เดยี และจีน นอกจากน้ีความรใู นการใชเข็มทศิ และ
การพฒั นารูปทรง และขนาดของเรือใหแ ขง็ แรงทนทานตอสภาพลม
ฟา อากาศ สามารถทจี่ ะเดินทางไกลไดดีขึ้น ทาํ ใหช าติตะวันตกหล่งั

ไหลสโู ลกตะวันออกอยางกวางขวาง

4

2. แรงผลกั ดันทางดานการคา เมอื่ พวกมสุ ลมิ สามารถยดึ ครอง
กรุงคอนสแตนตโิ นเปล และดินแดนจกั รวรรดิไบแซนไทนได

ทัง้ หมดใน ค.ศ. 1453 ทาํ ใหก ารคา ทางบกระหวางโลก ตะวันออก
กบั โลกตะวนั ตกหยดุ ชะงัก แตสินคาตา งๆ จากตะวนั ออก เชน
ผาไหม เครอ่ื งเทศยาตางๆ ยงั เปน ทต่ี อ งการของตลาดตะวันตก

ซ่งึ หนทางเดยี วทพ่ี อคาจะตดิ ตอคา ขายไดก ค็ อื การติดตอ
คาขายทางทะเล ดงั นั้นจงึ จาํ เปน ตองสํารวจเสนทางทางทะเล

เพ่ือหาเสน ทางตดิ ตอ กับ ดินแดนตางๆ ทางตะวันออก

3. แรงผลักดนั ทางดา นศาสนา เนื่องจากความคดิ ของผนู าํ
ชาติตางๆ ในขณะนน้ั เหน็ วาการเผยแผครสิ ตศาสนาเปน
กุศลอยางมาก รวมทง้ั ตอ งการแขงขนั กับชาวมุสลิมทเ่ี ขามา
ขยาย อิทธพิ ลอยใู นขณะน้นั จึงสนับสนนุ ใหม กี ารคน หาดนิ

แดนใหมๆ และเผยแผค รสิ ตศ าสนาไป พรอ มกันดวย

4. อทิ ธพิ ลของแนวคิดในสมยั ฟน ฟูศิลปวิทยาการ แนว
ความคดิ ในสมัยฟน ฟูศิลปวทิ ยา การ ทาํ ใหชาวยุโรปมุงหวัง
ท่จี ะสรางชอื่ เสยี งเกียรติยศและความตอ งการที่จะเสยี่ งโชค
เพอื่ ชีวติ ทด่ี กี วา ผลักดนั ใหชาวยุโรปเกดิ ความกลา หาญท่ี

จะเผชิญกบั สิง่ ตา งๆ รวมทัง้ ความกระตือรอื รน ทจี่ ะ
แสวงหาความรใู หมๆ และรกั การผจญภัย เปนปจจยั สําคญั
ทท่ี ําใหชาวยโุ รปกลา เส่ยี งภยั เดนิ ทางสาํ รวจมหาสมุทรท่ี

กวางใหญไพศาล

5

º·ºÒ·¢Í§ªÒµµÔ ҋ §æ
㹡ÒÃÊíÒÃǨ·Ò§·ÐàÅ

เริ่มดวยโปรตเุ กส โดยเจา ชาย
เฮนรีราชนาวกิ ( HENRY THE

NAVIGATOR) ไดทรงจัดตง้ั
โรงเรียนราชนาวขี นึ้ เพอื่ ให
เปนแหลงรวบรวมวทิ ยาการ
ใหมๆ และเปนศูนยก ลางการ
เรียนรูเ กี่ยวกับการเดินทะเล

ในชว งเวลานเี้ ทคโนโลยดี า นการเดินเรือ เชน ความรูในเรอ่ื งการใชเ ข็มทิศ
การใชก ลองสองทางไกลและการดูดาว มีการพฒั นาเทคนิครูปทรงและ
ขนาดของเรอื ใหม ีประสทิ ธิภาพในการเดนิ เรือทะเลเพม่ิ ขนึ้ ซง่ึ สง ผลใหชาว
โปรตเุ กสสามารถคนพบเสน ทางเดนิ เรอื สดู ินแดนทาง ตะวนั ออก ไดแ ก

- วัสโก ดา กามา (VASCO DA GAMA) แลนเรือตาม เสน - บารโธโลมวิ ไดแอส
ทางสํารวจของไดแอสจนถึงทวปี เอเชยี และสามารถขน้ึ ฝง (BARTHOLOMEU DIAS) สามารถ
ทเี่ มืองกาลิกัต (CALICUT) ของอินเดียไดเม่ือ ค.ศ. 1498 ตอ เดนิ เรือเลยี บชายฝง ทวปี แอฟริกา
มา ชาวโปรตเุ กสสามารถควบคุมเมอื งตา งๆ ทางชายฝง ผานแหลม กูด โฮป (CAPE OF GOOD
ตะวันออก ของทวีปแอฟรกิ าและอินเดียทางชายฝง ตะวนั
HOPE) ไดส าํ เร็จใน ค.ศ. 1488
ตก สามารถยดึ เมืองกวั (GOA) ในมหาสมทุ รอินเดียได

6

สเปน

ค.ศ. 1492 ครสิ โตเฟอร โคลัมบสั
(CHRISTOPHER COLUMBUS) ชาว
เมืองเจนวั (ประเทศอิตาล)ี ซงึ่ มคี วาม
เชื่อวาโลกกลม ไดรับ การสนบั สนุน
จากกษัตริยส เปนใหเดนิ ทางขาม
มหาสมทุ รแอตแลนติก เพอื่ สํารวจ
เสน ทางเดนิ เรอื ไปประเทศจีน แตเ ขา

ไดพบหมูเกาะเวสตอนิ ดีสซ่ึง เปน สว นหนึ่งของทวีปอเมริกาใตโดย
บังเอิญใน ค.ศ. 1492 ซง่ึ ทาํ ใหส เปนไดครอบครองดนิ แดนสว นใหญ ใน

อเมรกิ าใตท ีอ่ ดุ มสมบูรณด ว ยแรเงนิ และทองคํา ในเวลาตอมา

เฟอรด นิ านด มาเจลลนั (Ferdinand
Magellan) นักเดนิ เรือชาวโปรตเุ กส
ซ่งึ รับอาสากษัตรยิ ส เปน ไดป ระสบผล
สําเร็จในการเดนิ ทางรอบโลก โดยออก

คนหาเสน ทางดา นตะวันตกของ
มหาสมทุ รแอตแลนติก ผา นชองแคบ
ทางตอนใตข องทวีปอเมริกาใตแ ละขาม

มหาสมทุ รแปซฟิ ก สูห มูเ กาะเครือ่ งเทศไดสาํ เร็จ ถึงแมว ามาเจลลนั เสยี ชีวติ ท่ี
หมเู กาะฟล ิปปนส แตผ ูชวยของมาเจลลนั สามารถนําเรือลาํ นั้นกลบั ถงึ สเปน
ทางมหาสมุทรอินเดียได ทาํ ใหก ารเดนิ ทางในคร้งั น้ีเปน การเดินทางรอบโลก

ไดส าํ เร็จเปน ครงั้ แรก

7

คริสตศ ตวรรษท่ี 15 เปน ชว งการแขง ขนั อํานาจทางทะเลระหวา งโปรตเุ กสและ
สเปนเพอื่ หาเสนทางไปหมเู กาะอสี ตอินดีส (EAST INDIES) ซ่ึงเปนแหลงเคร่ือง
เทศและพรกิ ไทย ใน ค.ศ. 1494 สนั ตะปาปาอเลก็ ซานเดอรท่ี 6 (ALEXANDER VI)
ไดใหส เปนและโปรตุเกสทาํ สนธสิ ัญญา ทอรเ ดซียสั (TREATY OF TORDESILLAS)
กาํ หนดเสนสมมติแบง โลกออกเปน 2 สวน โดยสเปนมีสิทธิ สาํ รวจและยดึ ครอง
ดนิ แดนทางดา นตะวันตกของเสนเมรเิ ดยี นที่ 51 สว นโปรตเุ กสไดสทิ ธทิ าง ดา น

ตะวันออกและนาํ ไปสูก ารสรางจักรวรรดิทางทะเลของโปรตเุ กสในเอเชยี

ในครติ สศตวรรษที่ 16 โปรตุเกสไดข ยายอาํ นาจมาจนถึงเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต
และเขา ยึดครองมะละกา ทําใหบ ริเวณคาบสมทุ รมลายูและหมเู กาะอนิ โดนเี ซียตก

อยูภ ายใตอ ทิ ธพิ ลของ โปรตเุ กส

ในยคุ นี้โปรตเุ กสและสเปนกลายเปน ชาตทิ ีม่ อี าํ นาจ มีความม่ังค่ัง ทําใหหลายชาติ
ทําการ สํารวจเสน ทางเดนิ เรือ การแขงขนั อํานาจทางทะเลระหวา งโปรตเุ กสกบั สเปนยุติ

ลงเม่ือโปรตเุ กส ตกอยูภายใตก ารปกครองของสเปนในชว ง ค.ศ. 1580-1640

8

ฮอลนั ดาหรือเนเธอรแ ลนด

เปนอกี ประเทศหนึ่งที่สนใจเสนทางการคาทางทะเล เดมิ ชาวดัตช (Dutch) ทํา
หนา ทเ่ี ปนพอ คาคนกลางในการคา เคร่อื งเทศแถบยโุ รป ภายหลังจากทฮ่ี อลนั ดา
สามารถแยกตัวเปนอิสระจากสเปนทําใหสเปนประกาศปดทาเรอื ลิสบอนสงผลให
ฮอลันดาไมสามารถซ้ือเคร่ืองเทศไดอกี ฮอลนั ดาจงึ ตองหาเสนทางทางทะเลเพ่อื

ซื้อเครอ่ื งเทศโดยตรงและพัฒนากองเรือใหเขมแขง็ ได ในที่สดุ กองทัพเรือของ
ฮอลันดาก็สามารถยดึ ครองอาํ นาจทางทะเลใน ค.ศ. 1598 และไดจดั ตั้งสถานีการ
คาในเกาะชวา และจัดต้ังบรษิ ทั อินเดยี ตะวันออกของฮอลันดา เพอื่ ควบคุมการคา

เคร่อื งเทศ สามารถแยง ชงิ เสนทางการคา จากโปรตุเกสไดสําเร็จ

และใน ค.ศ. 1605 เรอื ดุฟเกน (DUYFKEN) ของฮอลนั ดา ที่เปน เรือคน หาเกาะ
ทองคําทีเ่ ชือ่ วา อยูท างทศิ ใตแ ละทศิ ตะวันออกของเกาะชวา ไดค น พบทวีป
ออสเตรเลียเปน ครงั้ แรก และเรยี ก ทวีปนี้วา นิวฮอลแลนด (NEW HOLLAND) แตใ น
ครสิ ตศตวรรษท่ี 18 อังกฤษไดครอบครองและ เรียกทวีปนว้ี า ออสเตรเลยี ซงึ่ มา

จาก AUSTRALIS ในภาษากรีก แปลวา ดนิ แดนทางซกี โลกใต

9

องั กฤษ

อังกฤษ ในสมยั ของสมเดจ็ พระราชินีนาถ
เอลซิ าเบทที่ 1 เปน ยุคสาํ คัญแหง การ

สาํ รวจและการขยายอํานาจขององั กฤษ
สามารถทาํ สงครามชนะกองเรอื อารม า
ดา (ARMADA) ของสเปนทม่ี ชี ื่อเสียงอนั
แขง็ แกรงของสเปน ทําใหองั กฤษเรมิ่ หา

อาณานคิ มในดนิ แดนโพน ทะเล

โดยเขา ไปมบี ทบาทในการคาแถบเอเชยี ตอ มาองั กฤษกส็ ามารถสลายอาํ นาจทาง
ทะเลของโปรตเุ กสมอี ํานาจทางทะเลเหนือโปรตเุ กสและเขาไปมอี าํ นาจอทิ ธิพลใน

อินเดยี และอาวเปอรเซยี จนองั กฤษกลายเปนคแู ขงทางการคา กับฮอลันดา

ในคริสตศ ตวรรษท่ี 17 มเี พยี งองั กฤษ ฮอลันดา และฝรงั่ เศส แขง ขนั กันมอี าํ นาจทางทะเลและ
แสวงหาอาณานคิ ม ทงั้ นี้ไดม ีการทาํ สงครามกนั หลายครัง้ ในท่ีสุดฮอลันดายงั คงมอี ํานาจแถบ
มะละกาและควบคมุ การคาเครื่องเทศในหมูเกาะเครื่องเทศตอ ไป จนถงึ ปลายคริสตศ ตวรรษท่ี 18
อังกฤษกลับเปนประเทศทมี่ ีแสนยานุภาพกลางทะเลเหนือกวา ทกุ ชาติ โดยไดอ าณานิคมในอนิ เดีย

อเมรกิ าเหนือ และทวีปออสเตรเลียท้งั ทวีป

10

ฝรง่ั เศส

เร่มิ ตนสาํ รวจอเมรกิ าเหนอื เมอื่ สามารถขามมหาสมุทรแอตแลนตกิ เหนือเขา สู
อาวเซนตลอวเรนซไดสาํ เรจ็ ชาวฝร่ังเศสกอตงั้ ชมุ ชนถาวรเปนแหงแรกทคี่ วิเบก
แตต อ งแขง ขนั การคา ขนสัตวกบั องั กฤษมาโดยตลอด อยา งไรกต็ าม ฝร่งั เศสก็
สามารถขยายดินแดนไปจนถึงเขตลุมแมน้ํามสิ ซิสซิปปแ ละแมนาํ้ สาขา สามารถ

ตัง้ อาณานคิ มลุยเซียนาเปนอาณานิคมของฝรั่งเศส
แตใ นทายทสี่ ุดลยุ เซยี นาตองตกอยูใ นอาํ นาจของอังกฤษเพราะฝร่งั เศสพายแพ

สงครามและตองทาํ ตามสนธสิ ัญญา ใน ค.ศ. 1713
ถึงอยางไรก็ตามยงั คงมีความขดั แยง ระหวา ง 2 มหาอํานาจตลอดเวลา จน
กระทั่งมกี ารเจรจาสันตภิ าพใน ค.ศ. 1763 ฝรงั่ เศสยอมยกแคนาดารวมทั้งดนิ
แดนลุยเซยี นาท้ังหมดทอ่ี ยูทางตะวนั ออกของแมน าํ้ มสิ ซสิ ซิปปใหแกองั กฤษและ

ฝรั่งเศส ยกเมอื งนวิ ออรล ีนสแ ละลุยเซยี นาสว นตะวนั ตกใหแ กสเปน

11

ผลกระทบของการสํารวจ

ทางทะเลท่ีสําคัญ

ดา นการเมอื งการปกครอง

ประเทศในยุโรปมคี วามเจรญิ รงุ เรืองและมง่ั ค่ังไดค รอบครองดนิ แดนและ
ทรัพยากรของอาณานิคมในทวปี แอฟริกา เอเชีย อเมริกาเหนอื และ
อเมรกิ าใต มหาอาํ นาจยุโรปกลายเปนศนู ยก ลางอํานาจของโลก การ

แขงขันกันขยายอาณานคิ ม ทาํ ใหเ กดิ การขยายตัวของลทั ธจิ กั รวรรดนิ ิยม
และความขดั แยง จนนาํ ไปสสู งครามโลกในทสี่ ดุ

ดานสังคมและเศรษฐกจิ

การสาํ รวจทางทะเลทาํ ใหระบบเศรษฐกิจในยโุ รปเปล่ยี นแปลงเพราะการ
ขยายตวั ทางการคา สงผลใหเ กดิ การพฒั นาระบบการใชเงินตรา ระบบ
ธนาคาร ระบบการใหส นิ เชอื่ อยา งกวา งขวาง พอคาและนายทุนรวมตวั กัน
จัดตั้งบรษิ ัทโดยมีกษัตรยิ ใหความสนบั สนุน ทาํ ใหพ อคา และนายทุนมี
ฐานะมั่นคงและมีบทบาททางดา นการเมืองเพิ่มมากข้นึ ศนู ยกลางการคาที่
เคยอยูในเมืองทาของคาบสมุทรอติ าลี ไดเ ปลี่ยนเปนเมอื งทา ของโปรตเุ กส

สเปน ฮอลันดา องั กฤษและฝร่งั เศส

ดา นสงั คมและวัฒนธรรม

1.อารยธรรมยุโรปไดแ ผข ยายไปสดู นิ แดนตางๆ เชน การสรา งส่ิงกอสรา ง ภาษา อาหาร การ
แตงกาย ระบบการปกครอง และศลิ ปกรรมตะวันตกชาวยโุ รปรบั วัฒนธรรมจากดนิ แดนตา งๆ

เชน ศลิ ปะจนี และมสุ ลมิ อาหรับ
2.เกดิ การแพรกระจายพันธุพืชและพนั ธุสตั ว เชน ชาวยโุ รปไดน าํ กาแฟจากตะวนั ออกกลางมา

ปลูกทเี่ กาะชวาและอเมริกาใต มันฝร่ังและขา วโพดจากทวีปอเมรกิ ามาปลกู ท่ียโุ รป
3.ศาสนาครสิ ตไดแผข ยายไปในดินแดนอาณานคิ มตา งๆ โดยชาวยโุ รปใชท้ังสนั ตวิ ิธีและวิธี

การทรี่ นุ แรงเพ่ือบังคบั ใหชาวพื้นเมอื งนับถอื ศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลกิ
4.มีการนําทาสหรอื คนพ้นื เมอื งในดินแดนอาณานิคมท่ีดอ ยความเจรญิ มาเปน แรงงานใน
เหมืองแรแ ละไรขนาดใหญใ นทวปี อเมริกาและยโุ รปทําใหเ กิดปญ หาสงั คมสบื จนถึงปจจุบัน

12

อา งอิง

อารยธรรมยโุ รป (ยคุ กลาง) . (2563). ยคุ แหงการสํารวจทางทะเล(Age of Exploration).
สบื คน 28 เมษายน 2564. แหลงทมี่ า :

https://sites.google.com/site/xarythrrmyuropyukhklang/yukh-
haeng-kar-sarwc-thang-thale-age-of-exploration

ศิรพิ ร เนยี มหอม . (2559). ยุคแหง การสํารวจทางทะเล. สืบคน 28 เมษายน 2564. แหลงทม่ี า :
https://icannottell9.wordpress.com

วกิ พิ ีเดยี . (2564). ยุคแหงการสาํ รวจ. สืบคน 28 เมษายน 2564. แหลงที่มา :
https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B
9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0

%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88




Click to View FlipBook Version