ฉบบั ที่ 4/2565
สำนักงำนคลงั จังหวัดแม่ฮ่องสอน
The Mae Hong Son Provincial Comptroller Office
ดัชนีรวมชว้ี ดั เศรษฐกิจแมฮ่ อ่ งสอน ประจำเดอื นเมษำยน 2565
สรปุ ผลการสารวจแบบสอบถาม
ภาวะเศรษฐกิจจังหวดั แม่ฮอ่ งสอน
สำนกั งำนคลงั จังหวัดแมฮ่ ่องสอน ศำลำกลำงจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน (หลงั เดมิ ) ถนนขุนลมุ ประพำส ตำบลจองคำ
อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน 58000 โทร 053-611700 E-mail : [email protected]
สำนกั งำนคลังจังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน
The Mae Hong Son Provincial Comptroller Office
ดัชนีรวมช้วี ดั เศรษฐกจิ แม่ฮอ่ งสอน ประจำเดือนเมษำยน 2565
สรุปผลการสารวจแบบสอบถามภาวะเศรษฐกจิ จังหวดั แมฮ่ ่องสอน
52.9 37.9 72.7 57.52
ดัชนีความเชื่อมน่ั อนาคตเศรษฐกจิ
ดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกจิ ดัชนีความเชือ่ มั่นภาคประชาชน ดชั นีราคาตน้ ทนุ ผู้ประกอบการ
“ดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจจังหวัดแม่ฮ่องสอนปรับตัวลดลง จากการลดลงของผลผลิตสินค้า
อุตสาหกรรม และผลประกอบการภาคบริการ สอดคลอ้ งกบั ดชั นีความเชือ่ มัน่ ภาคประชาชนท่ีปรับลดลง
จากการจ้างงานในภาคบริการท่ีปรับตัวลดลง ดัชนีราคาต้นทุนผู้ประกอบการปรับตัวลดลง แต่ยังอยู่ใน
ระดับสูง จากราคาน้ามันท่ีปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่วนดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาค
ใน 6 เดือนขา้ งหน้า มีทศิ ทางขยายตวั อย่างไรกด็ ี หากภาครัฐมีมาตรการกระตนุ้ เศรษฐกิจ และมาตรการ
กระตุ้นการบริโภคภายในประเทศ ส่งผลให้การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและภาคบริการด้านการ
ท่องเที่ยวปรบั ตัวดีขน้ึ ”
ภำคเกษตรกรรม
65.0 50.0 45.0
ผลผลิตสินค้าเกษตร ราคาสนิ ค้าเกษตร แนวโน้มภาคเกษตรภาพรวม
“ผลผลิตสินค้าเกษตรปรับตัวเพิ่มข้ึนจากเดือนก่อน เนื่องจากเข้าสู่ฤดูเก็บเก่ียวผลผลิตพืชเศรษฐกิจส้าคัญ
เช่น กระเทียม ถวั่ เหลือง เปน็ ต้น ด้านราคาสินค้าเกษตรปรับตัวเพิ่มข้ึน เนื่องจากมีความต้องการสินค้าทางการเกษตรเพิ่มข้ึน
ก้าไรของเกษตรกรปรับตัวเพิ่มข้ึน แต่ยังอยู่ในระดับที่ต่้า ปัจจัยมาจากต้นทุนการผลิตที่สูงข้ึน โดยเฉพาะราคาปุ๋ย
และสารเคมีทางการเกษตร ดชั นีแนวโนม้ ภาคเกษตรภาพรวมปรบั ตัวเพิ่มขน้ึ จากเดือนกอ่ น เนือ่ งจากภาครฐั มโี ครงการ
ประกนั รายได้เกษตรกรผูป้ ลกู ขา้ ว ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2564/65 ในการชดเชยสว่ นต่างราคา”
สรปุ ผลการสารวจแบบสอบถามภาวะเศรษฐกิจจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน
ภำคอตุ สำหกรรม
50.0 50.0 50.0
ผลผลิตสินคา้ อตุ สาหกรรม ผลประกอบการ แนวโน้มภาคเกษตรภาพรวม
“ภาพรวมด้านอุตสาหกรรมทรงตัวจากเดือนก่อน จากความต้องการสินค้าอุตสาหกรรมท่ีส้าคัญ
ของจังหวัดอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่มอาหารและผลิตภัณฑ์จากพืช ดัชนีแนวโน้ม
ภาคอุตสาหกรรมภาพรวมมีทิศทางหดตัว เนื่องจากการลงทุนภาคอุตสาหกรรมในช่วงไตรมาสแรกท่ี
ผ่านมา ยงั ไมม่ ีความเคลื่อนไหวการลงทุนอตุ สาหกรรมของจังหวดั แม่ฮ่องสอน”
ภำคบรกิ ำร
50.0 50.0 75.0
ผลประกอบการ การจ้างงานภาคบริการ แนวโน้มภาคบรกิ ารภาพรวม
“ผลประกอบการธุรกิจภาคบริการภาพรวมมีทิศทางหดตัว สะท้อนจากนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาภายในจังหวัดลดลง
จากเดือนก่อน ผลจากจา้ นวนผ้โู ดยสารผ่านสนามบินและรถโดยสารประจ้าทาง เป็นส้าคัญ รายได้จากค่าจ้างและการจ้างงาน
ปรับตัวลดลง เนื่องจากผู้ประกอบการต้องแบกรับราคาวัตถุดิบและต้นทุนอ่ืน ๆ ที่อยู่ในระดับสูง จากราคาน้ามันที่ปรับตัว
เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดี ดัชนีแนวโน้มธุรกิจภาคบริการภาพรวมยังคงมีทิศทางขยายตัว เนื่องจากภาครัฐจะเปลี่ยนรูปแบบ
การตรวจหาเชอ้ื โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ส้าหรับนกั ทอ่ งเที่ยวตา่ งชาตทิ ี่จะเดินทางเขา้ ประเทศภายในเดือนหน้า”
สรปุ ผลการสารวจแบบสอบถามภาวะเศรษฐกจิ จงั หวัดแม่ฮ่องสอน
ค่ำครองชีพและต้นทนุ
70.0 52.9 82.4
ระดับราคาสินคา้ อปุ โภคบรโิ ภค ราคาคา่ จา้ งแรงงาน ราคาคา่ วตั ถุดบิ และต้นทนุ อื่นๆ
“ระดับราคาสินค้าอุปโภคบริโภคปรับตัวลดลง แต่ยังอยู่ในระดับสูง สะท้อนจากอัตราเงินเฟ้อของจังหวัดแม่ฮ่องสอน
จากการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาผู้บริโภคหมวดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม ได้แก่ หมวดพาหนะ การขนส่ง และ
การสื่อสาร และหมวดเคหสถาน เป็นส้าคัญ และดัชนีราคาผู้บริโภคหมวดอาหารและเครื่องดื่ม ได้แก่ หมวดอาหาร
บริโภค - ในบ้าน หมวดไข่และผลิตภัณฑ์นมและหมวดอาหารบริโภค-นอกบ้าน ราคาค่าจ้างแรงงานปรับตัวลดลง
ตามการลดลงของอัตราค่าจ้างแรงงานในภาคเกษตรและบริการ เป็นส้าคัญ ส้าหรับราคาวัตถุดิบและต้นทุนอ่ืน ๆ
ปรับตัวลดลง แต่ยังอยู่ในระดับที่สูงมาก เนื่องจากราคาน้ามันปรับตัวเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ต้นทุนค่าขนส่ง
ปรบั ตัวสงู ขึ้นตาม”
แนวโนม้ กำรจำ้ งงำนและกำรลงทนุ ภำพรวม
แนวโน้มการจา้ งงาน (ระยะ 6 เดอื น ข้างหน้า)
57.2
60.4
แนวโน้มการลงทุน(ระยะ 6 เดอื น ข้างหน้า)
“แนวโน้มการจ้างงานมีทิศทางขยายตวั มาจากสถานการณ์การจ้างงานในภาคเกษตรและบริการเพิ่มข้ึน โดยกิจการ
เริม่ มกี ารจา้ งแรงงานตามปกติ แนวโน้มการลงทุนใน 6 เดือนข้างหน้ามีทิศทางขยายตัว จากแนวโน้มการลงทุนในภาค
บริการ เป็นส้าคัญ โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากมาตรการกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจปี 2565 (มาตรการของขวัญ ปีใหม่
2565) เชน่ มาตรการลดภาระผู้ประกอบการ”
ขอขอบพระคุณ
หน่วยงำนภำยในจังหวดั แม่ฮอ่ งสอน
ท่ใี หค้ วำมร่วมมือในกำรตอบแบบสอบถำม