The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mathawi keadsub, 2023-07-13 23:09:01

หน่วยที่1 สถิติ

สาขาการจัดการ

Keywords: -

หน้า | 2 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ แผนบริหารการสอนประจำหน0วยที่ 1 หัวข&อเนื้อหา 1. แนวคิดเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ 2. ความหมายและประเภทของสถิติ 3. ขอมูลสถิติ 4. หลักการเลือกใชสถิติ 5. ระเบียบวิธีการทางสถิติ 6. ความรูพื้นฐานทางวิชาสถิติ วัตถุประสงค6เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายแนวคิด ความหมาย ความสำคัญของสถิติประเภทของสถิติ ขDอมูลสถิติมาตรการวัดของ ขDอมูล หลักการเลือกใชDสถิติไดD 2. อธิบายความรูDพื้นฐานเกี่ยวกับสถิติที่ใชDในการตัดสินใจดDานตRางๆ ทางธุรกิจไดD 3. อธิบายความสัมพันธUระหวRางสถิติและการวิจัยธุรกิจไดD 4. อธิบายระเบียบวิธีการทางสถิติ ขั้นตอนการใชDสถิติเพื่อการตัดสินใจไดD วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. วิธีสอน 1.1 ผูDเรียนศึกษาเอกสารที่กำหนดใหDโดยผูDสอนบรรยายสรุปเป[นตอน ๆ 1.2 ผูDเรียนฟ]งคำบรรยายและอภิปรายบทเรียนในกระบวนวิชาตามชั่วโมงบรรยายที่กำหนด 2. กิจกรรมการเรียนการสอน 2.1 ผูDเรียนศึกษาเอกสารที่กำหนดใหD 2.2 ผูDเรียนทำแบบฝ_กหัดในแตRละหนRวยยRอย 2.3 ผูDเรียนศึกษาดDวยตนเองจาก e-learning (ถDามี) สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ 2. การนำเสนอดDวยสื่อโปรแกรมคอมพิวเตอรU


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 3 วิทยาลัยชุมชนระนอง การวัดผลและประเมินผล 1. การวัดผล 1.1 วัดผลจากกิจกรรมและแนวตอบแบบฝ_กหัดในแตRละหนRวยยRอย 1.2 วัดผลการมีเวลาเรียน 1.3 วัดผลการมีสRวนรRวมในชั้นเรียน 2. การประเมินผล กำหนดเกณฑUไวDดังนี้ 2.1 ประเมินผลจากกิจกรรมและแนวตอบแบบฝ_กหัดโดยคะแนนผRานเกณฑUรDอยละ 60 2.2 ประเมินผลการมีเวลาเรียนไมRนDอยกวRารDอยละ 80 2.3 ประเมินผลการมีสRวนรRวมในชั้นเรียนสังเกตจากพฤติกรรม เชRน การซักถาม และการตอบ คำถาม การอภิปราย เป[นตDน โดยมีเกณฑUคะแนน ดังนี้ 0 = ไมRเคยแสดงพฤติกรรมเลย 1 = แสดงพฤติกรรมนDอยมาก 2 = แสดงพฤติกรรมบRอยครั้ง 3 = แสดงพฤติกรรมนั้นเป[นประจำ


หน้า | 4 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ 1.1 แนวคิดเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ ในปจจุบันการดําเนินการทางดานธุรกิจที่มีสภาพการแขงขันสูง และมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางดาน ผลิตภัณฑบรรจุภัณฑราคา รูปแบบการตลาด หรือแมกระทั้งเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมๆ ที่นํามาใชเพื่อธุรกิจ ไดปรับตัวใหทันตอกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเทคโนโลยีดิจิทัล หรือ ชีวิตวิถีใหม (New Normal) เปนแนวทางที่หลาย ๆ คนจะตองปรับเปลี่ยนชุดพฤติกรรม เชน การอยูในบานพรอม ทํางาน (Work From Home) การดําเนินการทางธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส(Online Business) หรือการพึ่งพาการ ผลิตในประเทศมากขึ้น เปนตน ดังนั้นกาดําเนินธุรกิจไมควรนิ่งเฉยอยูกับที่แตควรตื่นตัวกับสิ่งใหมๆ ที่เกิดขึ้นที่ อาจสงผลการธุรกิจของตนเอง มิฉะนั้นธุรกิจของเราอาจอยู “ภาวะการหยุดชะงัก (Disruption)” กรณีศึกษาที่ นาสนใจตัวอยางเชน ธุรกิจกลองฟลมที่ถูกแทนที่ดวยตลาดสมารตโฟนจนไมเหลือเคาเดิม หรือกรณีศึกษา ผลิตภัณฑเครื่องสําอางในประเทศไทยบางยี่หอเปน เครื่องสําอางที่อยูคูคนไทยมานาน หากขาดการพัฒนาสินคา และไมสามารถคิดผลิตภัณฑใหมออกมา ในที่สุดผลิตภัณฑนั้นก็จะหายไป แตถาเราเขาใจและเห็นจุดออนของ ผลิตภัณฑกลับมาแกไขและปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑใหตามทันยุคสมัยก็นาจะสามารถทําใหธุรกิจของเราประสบ ความสําเร็จ และดําเนินกิจการเปนระยะเวลายาวนานได จากที่กลาวมาขางตนนักธุรกิจจะดําเนินธุรกิจใหประสบความสําเร็จหรือสามารถดําเนินธุรกิจใหอยูรอด ไดนั้น เบื้องตนอาจมีการตัดสินใจ เชน ธุรกิจของเราจะใหบริการหรือขายอะไร ขายใหใคร ขายอยางไร ขายที่ไหน ผลิตดวยอะไร ใครมาชวยผลิต และมีรายไดและคาใชจายอยางไร รวมถึงมีกําไรจากการใหบริการและสินคาตัวไหน บาง ซึ่งบางครั้งนักธุรกิจตัดสินใจโดยใชประสบการณและความเชื่อสวนตัวในลักษณะการลองถูกลองผิด ซึ่งถา ตัดสินใจผิดก็ไมเสียหายอะไรมากนัก แตการตัดสินใจบางอยางเกิดขึ้นเพียงไมกี่ครั้งในชีวิตและผลการตัดสินใจนั้น มีความสําคัญมากเกี่ยวของกับอนาคตและความอยูรอดเปนการตัดสินใจที่มีตนทุนสูง ถาตัดสินใจพลาดเพียงครั้ง เดียว อาจจะไมสามารถตัดสินใจไดอีก หรือทางเลือกที่ดีที่สุดอาจจะผานไปแลว ดังนั้น เพื่อปองกันมิใหเกิดความ ผิดพลาด หรือใหเกิดการผิดพลาดลดลง นักธุรกิจจึงควรตัดสินใจอยางมีหลักเกณฑนั่นคือ ควรใชขอมูลและวิธีการ ทางสถิติมาชวยในการตัดสินใจ จะทําใหนักธุรกิจผูนั้นประสบความลมเหลวหรือขาดทุนนอยลงซึ่งเทคนิคทางสถิติ ที่ใชเชน การเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสุมตัวอยาง การใชเครื่องมือเก็บขอมูลโดยการสัมภาษณแบบสอบถาม การสังเกต หรือใชเครื่องมือทางวิทยาศาสตรเก็บรวบรวมขอมูล จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหโดยวิธีการทาง สถิติและสรุปผลเพื่อนําเสนอขอมูลที่ผานกระบวนการวิเคราะหแลว ซึ ่งการวิเคราะหขอมูลในปจจุบันนี้เรา สามารถใชโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยในการวิเคราะหขอมูล เชน โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) โปรแกรมสําเร็จรูป SAS (Statistical Analysis System) หรือแมกระทั่ง โปรแกรมที่ นิยมใชในงานสํานักงานปกติคือ โปรแกรม Microsoft Office Excel ก็สามารถวิเคราะหขอมูลสถิติไดซึ่งเอกสาร ประกอบการสอนเลมนี้จะใชโปรแกรม Microsoft Office Excel 2016 ในการวิเคราะหขอมูลเนื่องจากเปน โปรแกรมที่นิยมใชในงานสํานักงานทั่วไปและมีประจําเครื่องคอมพิวเตอรแทบทุกเครื่องในปจจุบัน


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 5 วิทยาลัยชุมชนระนอง 1.2 การใช้สถิติเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ สถิติไดถูกนํามาชวยในการตัดสินใจทางธุรกิจในงานดานตาง ๆ ไม ว าจะเปนการจัดทําแผนธุรกิจ แบบจําลองของธุรกิจ (Business Model) การกําหนดนโยบาย การติดตามตรวจสอบการดําเนินธุรกิจ ความกาวหนาของโครงการ เพราะสถิติสามารถเปลี่ยนขอมูลใหเปนสารสนเทศเพื่อใหนักธุรกิจทราบปญหาและ อุปสรรคในการดําเนินงาน หรือความตองการของผูบริโภค ทําใหการตัดสินใจในการดําเนินธุรกิจเปนไปอยางมี ทิศทางที่ถูกตอง นอกจากนี้เทคนิคทางสถิติสามารถนําไปประยุกตใชงานดานตาง ๆ ไดเชน ดานการบัญชีการเงิน การตลาด การผลิต และการบริหารงาน เปนตน ในหัวขอนี้จะอธิบายถึงการใชสถิติในการตัดสินใจในการ บริหารธุรกิจดานตาง ๆ ดังนี้ 1. ดานการบัญชีการดําเนินงานที ่สําคัญในงานบัญชีขอมูลทางดานสถิติทําใหแสดงใหเห็นฐานะ การเงินและผลการดําเนินงานของกิจการในรอบระยะเวลาหนึ่ง ๆ ทําใหทราบขอมูลและทิศทางการดําเนินงาน ของธุรกิจ การรวบรวมขอมูลทางสถิติที่ใชอางอิงยอนหลังมาวิเคราะหและหาแนวทางใหมๆ เพื ่อทําใหธุรกิจ ประสบผลสําเร็จตามที่ตั้งเปาหมายไวโดยขอมูลที่สําคัญทางสถิติสําหรับงานบัญชีเชน ขอมูลตนทุนการผลิตใน อดีตซึ่งใชในการวางแผนหรือประมาณการคาใชจายลวงหนา ทําใหผูประกอบการสามารถกําหนดนโยบายการ ดําเนินงาน ตลอดจนคาดการณผลประกอบไดอยางใกลเคียงความเปนจริง คาสถิติที่ใชในการพิจารณา ความสัมพันธระหวางตัวแปรตนทุนกับกําไร เชน การหาคาสหสัมพันธ(Correlation) การวิเคราะหสมการ ถดถอย (Regression analysis) ทําใหทราบความสัมพันธระหวางตนทุนกับกําไรในรูปแบบของสมการ จะเปน ประโยชนตอการตัดสินใจของฝายบริหารเพราะเปนการพิจารณาวากําไรและตนทุนเปนอยางไร เมื่อปริมาณ เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอยางยิ่งผลกําไรเมื่อเปรียบเทียบกับตนทุนแปรไดตนทุนคงที่ ราคาขาย ปริมาณและ สัดสวนการขายของสินคา ดังนั้นผูบริหารจะสามารถวางแผนไดดีเปนตน 2. ดานการเงิน ขอมูลทางดานสถิติสําหรับดานการเงินเปนเครื่องมือกลั่นกรองเบื้องตนสําหรับการ ตัดสินใจ โดยเฉพาะเรื่องการลงทุน ทําใหทราบถึงสถานการณในปจจุบัน และการประเมินกิจการในอนาคตได และสามารถใชเปนขอมูลในการตัดสินใจสําหรับผูใชขอมูลจากงบการเงินของกิจการ โดยฝายการเงินของธุรกิจมี หนาที่ในการพยากรณจํานวนเงินที่กิจการ ตองการจัดหาเงินทุนใหเพียงพอตอกิจกรรมของกิจการ และจะตอง จัดสรรเงินทุนที่มีใหเกิดประโยชนสูงสุดในทุก ๆ ดาน หรือขอมูลสถิติตาง ๆ เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแตละชนิด เชน ผลตอบแทนจากการลงทุน ความเสี่ยงในการลงทุน ความตองการตลาด และวิธีการวิเคราะหขอมูลตั้งแตการ วิเคราะหขอมูลขั้นตน เชน การแจกแจงความถี่การหาเปอรเซ็นตหรือรอยละ จนถึงการวิเคราะหขอมูลขั้นสูง เชน การประมาณ การหาสหสัมพันธและการพยากรณ 3. ดานการผลิตและควบคุมคุณภาพ การดําเนินงานดานการผลิตและการควบคุมคุณภาพ ประกอบดวย 3 ระยะ คือ การควบคุมคุณภาพวัตถุดิบหรือชิ้นสวนที่ใชในการผลิต การควบคุมคุณภาพระหวาง การผลิต และการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑหรือสินคากอนสงออกจําหนาย ดังนั้นประเด็นที่สําคัญคือตองทราบวา


หน้า | 6 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ ผลิตภัณฑชิ้นใดที่อยูในระดับมาตรฐาน และชิ้นใดมีระดับตํ่ากวามาตรฐานตองคัดทิ้งหรือสามารถนําไปปรับปรุง แกไขไดทั้งนี้เนื่องจากการที่ตองทําการตรวจสอบผลิตภัณฑทุกชิ้นยอมเปนการสิ้นเปลืองทั้งคาใชจายและเวลา แต ในขณะเดียวกันจําเปนตองมีวิธีการที ่นาเชื ่อถือในการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑใหใกลเคียงการตรวจสอบ ผลิตภัณฑทุกชิ้น ซึ่งวิธีการทางสถิติที่ถูกนํามาใชในเรื่องดังกลาวเรียกวา เทคนิคการสํารวจตัวอยาง (sample survey technique) การตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑนี้นอกจากจะใชประโยชนสําหรับผูผลิตแลว ผูใช ผลิตภัณฑยังอาจใชตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑที่ตนซื้อมาใชหรือซื้อมาจําหนายตอไดอีกดวยวามีคุณภาพดี พอที่จะรับเอามาไวใชหรือรับเอามาจําหนายหรือไมสถิติที่นํามาใชประโยชนทางดานนี้คือสถิติประยุกตสาขาหนึ่ง ที่เรียกวา การควบคุมคุณภาพทางสถิติ (statistical quality control) นอกจากนี้ขอมูลที่เปนประโยชนตอการ ตัดสินใจของฝายผลิต เชน ปริมาณที่สั่งซื้อ ปริมาณสินคาคงเหลือ ตนทุนการผลิต อัตราคาจางแรงงาน ความสามารถในการผลิตตอวัน เปนตน เมื่อผลิตแลวสถิติมีสวนชวยในการกําหนดขนาดของสินคาคงคลังใหมี ประสิทธิภาพ 4. ดานการตลาด เนื่องจากการดําเนินธุรกิจจากอดีตจนถึงปจจุบัน ไดมีการเปลี่ยนโฉมหนาไปจากการ ที่ใหความสําคัญกับการผลิต (Production Oriented) และตัวผลิตภัณฑ (Product Oriented) ไปเปนการให ความสําคัญกับลูกคาหรือผูบริโภค (Consumer Oriented) มากขึ้น คือ การที่ธุรกิจเคยแตสนใจในธุรกิจของตน มาก มองภาพตาง ๆ ของธุรกิจตนกอนวาสามารถผลิตหรือดําเนินการใด ๆ ไดสะดวกที ่สุด แลวจึงมองออกสู ภายนอก คือ ผูบริโภควาจะตองการซื้อสินคาที่ธุรกิจผลิตขายหรือไมซึ่งในการตลาดสมัยใหมนั้นธุรกิจจะตองมอง จากภายนอกเขาสูภายใน (Outside in) จึงจะทําใหสามารถรูความตองการอันแทจริงของผูบริโภคไดเพราะฉะนั้น ฝายการตลาดจึงจําเปนจะตองมีขอมูลในเรื่องของปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอแรงจูงใจผูบริโภคที่กอใหเกิดพฤติกรรม ในการซื้อการใชของผูบริโภค การพยากรณตลาด การเลือกชองทางการจําหนาย การสงเสริม การตลาด ซึ่ง ประโยชนของขอมูลทางสถิติในงานดานการตลาด อาทิเชน ใชเปนขอมูลสําหรับการแบงสวนตลาด เลือกตลาด เปาหมายและกําหนดปริมาณความตองการซื้อของตลาดใชเปนขอมูลสําหรับการตัดสินใจในการผลิต และการ กําหนดสวนประสมทางการตลาด ใชเปนขอมูลในการพัฒนาผลิตภัณฑและการกําหนดตําแหนงสินคา ใชลดความ เสี่ยงในการตัดสินใจตาง ๆ เชน การตั้งชื่อหีบหอ ราคาใหตรงกับความตองการของผูซื้อ ทําใหเขาใจการ เปลี่ยนแปลงพรอมทั้งทราบทิศทางการเปลี่ยนแปลงของตลาดในอนาคต และทําใหทราบความรูสึก ความตองการ และความนิยมของลูกคาที่มีตอบริษัท เปนตน 5. ดานการจัดการทรัพยากรบุคคล โดยทรัพยากรบุคคลถือไดวาเปนสวนสําคัญของหนวยงานอยางยิ่ง เพราะมนุษยมีสติปญญาที่สามารถใชทรัพยากรอื่น ๆ ไดแก เงิน วัสดุอุปกรณเครื่องจักร และกระบวนการจัดการ ในการทํางานใหไดผลงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นอกจากนี้มนุษยยังมีความคิดสรางสรรคและสามารถ คิดคนนวัตกรรมใหม ซึ่งปจจัยทางการบริหารอื่น ๆ ไมสามารถทําไดหนวยงานจึงจําเปนตองมีขอมูลเกี่ยวกับ พนักงานเพื่อจัดการทรัพยากรบุคคลใหเหมาะสมทั้งดานการวางแผนงาน การขยายงาน ขอมูลเกี่ยวกับพนักงาน เชน การศึกษา การฝกอบรม ความรูความสามารถพิเศษของพนักงานจะเปนประโยชนตอการวางแผนดาน บุคลากรทั้งระยะสั้นและระยะยาว


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 7 วิทยาลัยชุมชนระนอง 6. ดานการบริหารจัดการ การบริหารจัดการเปนหัวใจสําคัญของธุรกิจ เปนการกําหนดเปาหมายของ องคกรและกําหนดนโยบายสําคัญตาง ๆ ในธุรกิจ เชน กําหนดการแบงงานใหหนวยงานตาง ๆ รับผิดชอบ การ วางแผนบุคลากร การบริหารงานจําเปนตองเกี่ยวของกับทุกฝาย ดังนั้นขอมูลในระดับนี้สวนใหญมาจากผลสรุป เกี่ยวกับการตัดสินใจจากฝายตาง ๆ เพื่อประเมินวานโยบายการบริหารงานเปนไปตามแผนที่กําหนดหรือไมขอมูล ที่ใชกําหนดทิศทางของธุรกิจจะเปนขอมูลที่จําเปนสําหรับการทําแผนระยะยาว โดยเก็บรวบรวมขอมูลจากภายใน หนวยงานและภายนอกหนวยงาน เชน ดานสภาพแวดลอมภายใน ไดแกยอดขายสินคาในแตละจังหวัดในแตละ ชวง อัตรากําลังคนที่มีอยูในปจจุบัน หรือดานสภาพแวดลอมภายนอกที่สงผลกระทบตอธุรกิจ สภาพแวดลอม เหลานี้อยูนอกเหนือการควบคุม ไดแก ประชากรศาสตรเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคม กฎหมาย การเมืองและ เทคโนโลยีอาทิเชน การหาขอมูลของลักษณะการกระจายตัวทางประชากร เชื้อชาติประเพณีศาสนา วิถีชีวิต รูปแบบของการอยูอาศัย และวิถีทางของการโยกยายถิ่นที่อยูอาศัย อีกทั้งวัฒนธรรมในกลุมยอยของชุมชนและ บานเมืองนั้น ๆ ขอมูลตาง ๆ เหลานี้เปนดัชนีชี้ไดวา ธุรกิจประเภทใดที่จะไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐบาล และ ธุรกิจลักษณะใดที่มีความโนมเอียงวาจะไมสามารถจัดตั้งขึ้นไดในชุมชนนั้น ๆ และที่สําคัญ การศึกษาถึงขอมูลใน ดานคูแขง ทําใหรูถึง จุดแข็งจุดออนของกิจการ และสามารถเตรียมรับกับการลบจุดออน เสริมสรางจุดแข็งของ กิจการ เพื่อรับมือกับคูแขงขันได จากที่กลาวมาถึงตัวอยางการตัดสินใจทางธุรกิจดานตาง ๆ ที่ตองอาศัยความรูทางสถิติมาชวยทําใหการ ตัดสินใจทางธุรกิจมีความเปนมืออาชีพและมีโอกาสความผิดพลาดในการตัดสินใจนอยลง โดยสรุปการวิเคราะห ขอมูลทางสถิติที่ใชทางธุรกิจดานตาง ๆ เชน การสํารวจตัวอยาง การรวบรวมขอมูล การหาคารอยละและคาเฉลี่ย การใชความนาจะเปนในการวิเคราะหขอมูล การประมาณคา การทดสอบสมมติฐาน การพยากรณการวิเคราะห ความสัมพันธขอมูลโดยการวิเคราะหการถดถอย เปนตน 1.3 ความสัมพันธ์ระหว่างสถิติและการวิจัยธุรกิจ การตัดสินใจทางธุรกิจโดยใชสถิติดังที่กลาวมาในหัวขอขางตน นักวิจัยตองเก็บรวบรวมขอมูลและ วิเคราะหขอมูลที่ไดมาซึ่งกระบวนการเหลานี้ถือไดวานักธุรกิจไดทําการวิจัยไปในตัวแลว เนื่องจากการวิจัยคือ กระบวนการหรือวิธีการที่ไดมาซึ่งขอความรูความจริง หรือคําตอบที่เชื่อถือไดของขอสงสัยหรือปญหาและคําตอบ ที่เชื่อถือไดโดยอาศัยการวิเคราะหและบันทึกการสังเกต ภายใตการควบคุมอยางเปนระบบ ดังนั้นการตัดสินใจ ทางธุรกิจตองอาศัยการวิจัยนั่นเอง ซึ่งสถิติเปนวิธีการที่สําคัญที่ชวยใหการวิจัยธุรกิจมีความนาเชื่อถือ (สรชัย พิศาลบุตร, 2548 : 8-9 ) โดยความแตกตางที่สําคัญระหวางการทําวิจัยธุรกิจกับการทําวิจัยทั่ว ๆ ไป คือ ขอมูล ธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงเร็วและสวนใหญเปนขอมูลปกปด ดังนั้นการเก็บรวบรวมขอมูลที่จําเปนตองนํามาใชใน การวิเคราะหจึงทําไดยาก เสียเวลา และมีคาใชจายคอนขางสูง นอกจากนี้ยังจะตองพยายามใชเวลาในการทําวิจัย


หน้า | 8 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ ใหนอยลงเพื่อใหไดผลการวิจัยออกมาใชประโยชนไดทันกับการเปลี่ยนแปลงของขอมูลการทําวิจัยธุรกิจในดาน ตาง ๆ เชน ดานการผลิต ดานการตลาด ดานการเงิน ดานการจัดการ หรือการวิจัยธุรกิจเพื่อประเมินความเปนไป ไดของการลงทุน ความเปนไปไดทางดานการเงิน และความเปนไปไดทางดานการจัดการ ที่ตองการความถูกตอง เชื่อถือไดและมีโอกาสผิดพลาดนอยที่สุด มีความจําเปนตองใชขอมูล และวิธีทางสถิติเขามาชวยทั้งสิ้น วิธีวิเคราะหขอมูลไมวาจะเปนการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน เชน การแจกแจงความถี่ การหาคา เปอรเซ็นตหรือรอยละ การหาคาเฉลี่ย หรือการวิเคราะหขอมูลขั้นสูงซึ่งตองใชความรูทางสถิติระดับสูงเขามาชวย เชน การประมาณคา การทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติหรือการหาความสัมพันธและการพยากรณสวนใหญจะมี วิธีการที่สามารถนํามาใชในการวิเคราะหไดหลายวิธีโดยที่วิธีวิเคราะหแตละวิธีจําเปนตองใชขอมูลที่แตกตางกัน มี ขอตกลงเบื้องตนในการวิเคราะหที่แตกตางกัน ดังนั้นผูวิจัยจําเปนตองเลือกวิธีวิเคราะหใหเหมาะสมกับปญหาที่ ตองการคําตอบในการวิจัยเสียกอนจึงจะสามารถกําหนดไดวาตองใชขอมูลอะไรบาง โดยเก็บรวบรวมขอมูลที่ จําเปนตองใชซึ่งไดกําหนดไวกอนแลว จากนั้นจึงนําขอมูลที่เก็บรวบรวมไดมาวิเคราะหดวยวิธีการที่เหมาะสมซึ่ง กําหนดไวตั้งแตตน ซึ่งก็จะไดคําตอบในการวิจัยตามวัตถุประสงคที่ตองการ ตัวอยางการวิจัยธุรกิจ เชน การศึกษาปจจัยที่มีผลตอโอกาสและปริมาณการจําหนายสินคา การศึกษา มูลเหตุจูงใจในการซื้อสินคาของลูกคา การศึกษาการจัดหีบหอของสินคา การพยากรณจํานวนลูกคาที่สนใจซื้อ สินคาหรือบริการใหมๆ การศึกษาขนาดและสวนแบงตลาด เปนตน โดยแนวคิดและขั้นตอนในการทําวิจัยธุรกิจ สามารถเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้ ภาพที่ 1.1 แนวคิดและขั้นตอนในการทำวิจัยธุรกิจ ที่มา “วิจัยธุรกิจ เรียนจากกรณีศึกษา” สรชัย พิศาลบุตร, 2548 กำหนดวัตถุประสงค=ของ การวิจัยให?ชัดเจน แนวคิดก1อนลงมือทำวิจัย การทำวิจัยหลังการกำหนดแนวคิดแล=ว เก็บรวบรวมข?อมูลทั้งหมดที่จำเปHนต?องใช? สำหรับแตIละวิธีวิเคราะห=ที่เลือก เลือกวิธีวิเคราะห=ข?อมูลให? เหมาะสมกับแตIละวัตถุประสงค= ของการวิจัย วิเคราะห=ข?อมูลที่เก็บรวบรวมมาได? โดยใช?วิธีวิเคราะห=ที่เลือกไว?แล?ว กำหนดข?อมูลที่จำเปHนต?องใช? สำหรับแตIละวิธีวิเคราะห=ที่เลือก คำตอบสำหรับแตIละวัตถุประสงค=ของการ วิจัยที่ต?องการ


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 9 วิทยาลัยชุมชนระนอง 1.4 ความหมายและประเภทของสถิติ คําวา “สถิติ” ตรงกับภาษาอังกฤษวา “Statistics” ซึ่งอาจจําแนกได2 ความหมาย ดังนี้ 1. สถิติในความหมายของ ขอมูลสถิติหมายถึง ขอมูลที่เปนตัวเลข ที่แทนขอเท็จจริง (Numerical Fact) ที่เราสนใจ หรืออยูรอบตัวเรา โดยจะตองเปนขอมูลที่ขอมูลรวม ไมใชขอมูลเพียงตัวเดียว เชน • สถิติผูตองการเรียนสาขาวิชาตาง ๆ ของวิทยาลัยชุมชนระนอง • สถิติผูสําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา วิทยาลัยชุมชน 2. สถิติในความหมายของ สถิติศาสตรหมายถึง ศาสตรที่วาดวยหลักการ และวิธีการ ที่ใชในการศึกษา ขอมูลที่เรียกวา ระเบียบวิธีการทางสถิติซึ่งประกอบดวย การเก็บรวมรวบขอมูล การวิเคราะหขอมูล การแปล ความหมายขอมูล และการนําเสนอขอมูล โดยสถิติศาสตรสามารถจําแนกได2 ประเภท • สถิติพรรณนา (Descriptive statistics) เปนการใชสถิติบรรยายใหเห็นคุณลักษณะ หรือ คุณสมบัติของสิ่งที่ตองการศึกษาจากกลุมใดกลุมหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งอาจจะเปนกลุมใหญหรือกลุมเล็กก็ไดผลที่ได จากการศึกษานั้นจะบอกไดเพียงคุณลักษณะ หรือคุณสมบัติของ กลุมที่ศึกษาเทานั้น ไมสามารถนําผลสรุปไปใช อางอิงหรือทํานายคาของกลุมอื่นไดสถิติประเภทนี้ไดแกการแจกแจงความถี่การจัดตําแหนงเปรียบเทียบ การ วัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง การวัดการกระจาย การวัดความสัมพันธระหวางตัวแปร เปนตน • สถิติอางอิง (Inferential statistic) เปนสถิติที่ใชสรุปหรือประมาณคาประชากรโดยอาศัย หลักความนาจะเปน ซึ่งจะศึกษาคุณลักษณะของกลุมตัวอยาง (statistic) เพื่อที่จะสรุปอางอิง (generalized) ไปสู คุณลักษณะของประชากร (parameter) นั่นคือ เปนการศึกษาจากกลุมตัวอยาง (sample) แลวสรุปอางอิงไปยัง ประชากร (population) สถิติประเภทนี้ไดแก สถิติที่ใชในการประมาณคาพารามิเตอรและสถิติที่ใชในการ ทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับคาพารามิเตอรเปนตน ภาพที่1.1 ความสัมพันธสถิติพรรณนาและสถิติอางอิง


หน้า | 10 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ 1.5 ข้อมูลสถิติ ขอมูล (Data) (ผองศรีคุมจอหอและคณะ, 2543) หมายถึง ขอเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องที่กําลังสนใจและ ศึกษา และการที่จะเลือกใชวิธีการทางสถิติมาวิเคราะหกับขอมูลแตละประเภทก็มีสูตรสถิติใหเลือกใชแตกตางกัน ไปซึ่งขึ้นอยูกับธรรมชาติของขอมูลอันประกอบดวย ลักษณะของขอมูล และมาตรการวัดของขอมูล ลักษณะของขอมูล การแบงขอมูลตามคุณลักษณะของขอมูลโดยทั่วไป แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1. ขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) เปนขอมูลที่สามารถวัดคาไดวามากหรือนอยเพียงใด แสดง ในลักษณะของตัวเลข และสามารถนํามา บวก ลบ คูณ หาร ไดเชน อายุนํ้าหนัก สวนสูง รายไดเปนตน 2. ขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) เปนขอมูลที่อยูในรูปของขอความ ไมสามารถระบุไดวามาก หรือนอยเพียงใด จึงไมสามารถแสดงออกมาในรูปของตัวเลขไดเชน ชื่อ – นามสกุล เพศ เชื้อชาติศาสนาที่นับถือ บานเลขที่ เบอรโทรศัพทเปนตน มาตรการวัดของขอมูล (Measuring scale) ลักษณะของขอมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เมื่อพิจารณาตามระดับการวัดของตัวแปร โดยการวัด เปนการกําหนดตัวเลขหรือสัญลักษณอยางมีระบบใหกับสิ่งของ หรือเหตุการณเพื่อแทนปริมาณหรือคุณภาพของ สิ่งของที่ตองการศึกษาอยางมีกฎเกณฑมาตรการวัดของขอมูลจะแบงระดับของขอมูลออกเปน 4 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับนามบัญญัติ(Nominal scale) เปนมาตรการวัดขั้นพื้นฐานโดยแบงขอมูลออกเปนกลุมๆ ที่ เพียงแตจัดประเภทโดยยังไมมีการจัดลําดับ จึงเปนการตั้งชื่อใหกับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณตางๆ ซึ่งมีความ แตกตางกันในดานคุณภาพ แตยังไมมีความหมายเกี่ยวกับลําดับทางดานปริมาณ หลักการที่ใชคือจัดสิ่งตางๆ ที่อยู ในพวกเดียวกัน หรือมีลักษณะเหมือนกันใหมีคุณภาพเทียบเทากัน เชน จําแนกคนเปน 2 เพศ ชาย-หญิง การนับ ถือศาสนา ไดแกศาสนาพุทธ คริสตและอิสลาม นอกจากนี้ยังมีการกําหนดตัวเลขใหกับสิ่งตางๆ เพื่อใชในการสื่อ ความหมาย โดยที่ตัวเลขดังกลาวไมมีความหมายในเชิงปริมาณ เชน ใหตัวเลข 1 แทน เพศชาย ตัวเลข 2 แทนเพศ หญิง หมายเลข 208 สื่อความหมายแทนชื่อหอง หรือทะเบียน รถ นข 4343 แทนทะเบียนรถคันหนึ่ง เปนตน 2. ระดับเรียงอันดับ (Ordinal scale) เปนมาตรการวัดที่ใชกับขอมูลที่สามารถจัดเรียงลําดับของขอมูล ใหลดหลั่นกันเปนขั้นๆ ตามปริมาณและคุณภาพมากนอย แตยังไมสามารถบอกไดวาแตละขั้นหางกันเทาไร และ ทุก ๆ ขั้นเทากันหรือไม เพราะฉะนั้นเปนการวัดที่แสดงความเกี่ยวของสัมพันธกันของสิ่งตางๆ โดยคํานึงถึงการจัด ประเภทและจัดลําดับหรือตําแหนง โดยบอกทิศทางของความแตกตางวามากกวาหรือนอยกวา เชน การจัด ประกวดนางงาม ผูที ่มีคุณสมบัติทั้งความสวยและความสามารถไดอับดับที่ 1 รองลงมาคืออันดับที่ 2, 3, … ตามลําดับ แตเราไมสามารถบอกไดวานางงามที่สวยและมีความสามารถอันดับที่ 1 กับอันดับที่ 2 หรืออันดับที่ 2 กับอันดับที่ 3 สวยและมีความสามารถแตกตางกันเทาไร หรือมีปริมาณความแตกตางเทากันหรือไม นอกจาก


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 11 วิทยาลัยชุมชนระนอง ตัวอยางการประกวดนางงามแลวลักษณะขอมูลระดับเรียงอันดับ เชน สีผิวที่บอกสีผิวคลํ้ากวาหรือขาวกวาไดแต ไมสามารถวัดคาเปนตัวเลขไดเปนตน 3. ระดับอันตรภาค (Interval scale) เปนมาตรการวัดที่เปนคุณสมบัติพื้นฐานเหมือนมาตราเรียง อันดับ แตมาตรการจัดแบบนี้สามารถบอกความแตกตางของขอมูลไดเปนชวง ๆ (วาโร เพ็งสวัสดิ์, 2553) ผลของ การวัดระดับเปนชวงนี้นอกจากจะบอกประเภท ชนิดหรือบอกอันดับไดแลว ยังบอกปริมาณของสิ่งที่วัดและ สามารถนํามาเปรียบเทียบกันไดดวย แตอยางไรก็ตามการวัดในมาตรนี้ยังไมสมบูรณเพราะยังขาดหนวยเริ่มตนที่ แทจริง คือยังไมมีศูนยแท(absolute zero) เชน นํ้าที่ 0 องศาเซลเซียส ไมไดแสดงวาไมมีความรอนเลย เพียงแต เปนจุดที่นํ้ากลายเปนนํ้าแข็ง เลขศูนยที่ใชจึงเปนเพียงศูนยสมมติเพราะจุดดังกลาวยังมีความรอนอยูถึง 273 องศาเคลวิน นอกจากนี้การวัดผลทางการศึกษาเปนการวัดที่อยูในมาตรนี้เพราะคนที่สอบได0 คะแนนไมได หมายความวาเขาไมมีความรูเพียงแตขอสอบถามในสิ่งที่เขาไมรูเทานั้น สิ่งที่เขารูขอสอบไมถาม เปนตน 4. ระดับอันตราสวน (Ratio scale) เปนมาตรการวัดที่สมบูรณที่สุด โดยมีคุณสมบัติพื้นฐานเหมือน ระดับอันตรภาค แตตัวเลขศูนยในระดับการวัดนี้เปนศูนยแทจริง โดยถาวัดเปนจํานวนเทากันของขอมูลก็จะเปน จริง เชน นํ้าหนัก 0 กิโลกรัม ก็แสดงวาไมมีนํ้าหนักเลย หรือเชือกยาว 10 เมตร ก็จะยาวเปน 5 เทาของเชือกที่ ยาว 2 เมตร หรือประชาชนที่มีรายได15,000 บาท มีรายไดเปน 3 เทาของประชาชนที่มีรายได5,000 บาท ขอมูลในมาตรการวัดแบบนี้มีความสมบูรณในการคิดคํานวณ ลักษณะสําคัญ และสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลในแตละระดับของมาตรการวัดของขอมูล สามารถ สรุปไดดังตารางที่ 1.1 ตารางที่1.1 ลักษณะสําคัญ ตัวอยางการวัด ตัวอยางสถิติที่ใชและสถิติที่ใชในการทดสอบ ระดับของการวัด ลักษณะสําคัญ ตัวอยางการวัด ตัวอยาง สถิติที่ใช แบบของการ ทดสอบ นามบัญญัติ (Nominal scale) 1. จําแนกประเภท 2.ตัวเลขนํามาบวก ลบ คูณ หารกันไมได - หมายเลขโทรศัพท - หมายเลขประจําตัว ผูเสียภาษี - หมายเลขหองเรียน - เพศ - ศาสนา - สถานภาพสมรส - การแจกแจง ความถี่ - ฐานนิยม - ไค-สแควร - การทดสอบที่ไม ใชพารามิเตอร (non-parametic test)


หน้า | 12 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ ระดับของการวัด ลักษณะสําคัญ ตัวอยางการวัด ตัวอยาง สถิติที่ใช แบบของการ ทดสอบ เรียงอันดับ (Ordinal scale) 1. เรียงอันดับ 2.ตัวเลขนํามาบวก ลบ คูณ หารกันไมได - ลําดับที่การสอบ - ยศของตํารวจ ทหาร - ระดับการศึกษา - มัธยฐาน - สวนเบี่ยงเบน ควอรไทล - เปอรเซ็นตไทล - สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธแบบ อันดับ - การทดสอบที่ไม ใชพารามิเตอร (non-parametic test) อันตรภาค (Interval scale) 1. ตัวเลขที่แสดง ปริมาณ มากนอย (magnitude) 2. ความแตกตาง ระหวางหนวย เทากัน 3. ไมมีศูนยแท 4. ตัวเลขนํามาบวก ลบกันได - คะแนนสอบ - อุณหภูมิ - คาเฉลี่ย - สวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน - สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ์ สหสัมพันธแบบ เพียรสัน - การทดสอบที่ใช พารามิเตอร (parametic test) อันตราสวน (Ratio scale) 1.เปนตัวเลขที่แสดง ปริมาณมากนอย 2. ความแตกตาง ระหวางเทากัน 3. มีศูนยแท 4.ตัวเลขนํามาบวก ลบ คูณหารได - ความสูง - นํ้าหนัก - เวลา - ความเร็ว - รายได ใ ช  ส ถิ ติ ไ ด  ทุ ก ประเภท ใชไดทั้งการ ทดสอบที่ใชและ ไมใชพารามิเตอร ที่มา “สถิติประยุกตสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร” วาโร เพ็งสวัสดิ์, 2553


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 13 วิทยาลัยชุมชนระนอง ตารางที่ 1.2 แสดงคุณสมบัติของมาตรวัดในระดับตาง ๆ คุณสมบัติ มาตรการวัดของขอมูล นามบัญญัติ (Nominal scale) เรียงอันดับ (Ordinal scale) อันตรภาค (Interval scale) อันตราสวน (Ratio scale) 1. แบงเปนกลุมได P P P P 2. จัดลําดับได - P P P 3. แบงเปนชวงเทา ๆ กันได - - P P 4. บวก ลบ ได - - P P 5. คูณ หาร ได - - - P 6. มีศูนยสัมบูรณ (ศูนยแท) - - - P 1.6 หลักการเลือกใช้สถิติ การเลือกใชสถิติที่เหมาะสมจะชวยใหผลการวิจัยมีความถูกตองนาเชื่อถือ สามารถตรวจสอบไดและ เขาใจความหมายของขอมูลไดอยางชัดเจน ซึ่งหลักการพิจารณาเลือกใชสถิติสําหรับการวิจัยมีดังนี้(วิชิต สุรัตน เรืองชัย อางใน วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2553) 1. พิจารณาวาจุดมุงหมาย หรือสมมติฐานการวิจัยคืออะไร นั้นคือผูวิจัยตองเขาใจใหชัดเจนวาการวิจัย ครั้งนี้ตองการศึกษาอะไร เปรียบเทียบความแตกตางหรือความสัมพันธหรือเพียงแคบรรยายขอมูล เนื่องจากสถิติ ที่ใชในแตละจุดมุงหมายมีความแตกตางกัน เชน หากเปนการทดสอบความแตกตางอาจใชสถิติการทดสอบคาซี (Z-test) การทดสอบคาที(t-test) การทดสอบคาเอฟ (F-test) หากเปนการศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรก็ อาจใชสถิติสหสัมพันธอยางงาย (Simple correlation) สหสัมพันธแบบอันดับ (rank correlation) การทดสอบ ไค-สแควร(Chi-square test) แตหากเปนเพียงการบรรยายขอมูลก็อาจใชคารอยละ และคาเฉลี่ย เปนตน 2. พิจารณาลักษณะของขอมูลวาอยูในมาตรใด โดยเฉพาะมาตรการวัดของตัวแปรตาม เพราะ มาตรการวัดจะเปนตัวบงชี้อยางหนึ่งวาจะเลือกใชสถิติใด เชน ขอมูลอยูในมาตรอันตรภาคก็สามารถใชสถิติการ ทดสอบซี(Z-test) การทดสอบคาที(t-test) การทดสอบคาเอฟ (F-test) ไดแตถาหากขอมูลอยูในมาตรเรียง อันดับก็ใชสถิติการทดสอบไค-สแควร(Chi-square test) เปนตน 3. พิจารณาจํานวนตัวแปรที่ศึกษา โดยเฉพาะตัวแปรอิสระ เนื่องจากจํานวนตัวแปรอิสระมักเปนตัว บงชี้หนึ่งที่กําหนดวาจะใชสถิติใด เชน ตัวแปรอิสระแบงออกเปน 3 ดาน จัดกระทํากับกลุมตัวอยาง 3 กลุม สถิติที่ ใชอาจเปนการทดสอบเอฟ (F-test) เปนตน


หน้า | 14 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ 4. พิจารณาขอตกลงเบื้องตนของสถิติแตละตัววาเปนอยางไร เนื่องจากสถิติแตละตัวมักมีการกําหนด ขอตกลงเบื้องตนไวเพื่อบงบอกถึงขอจํากัดของการใชสถิตินั้นๆ ขอตกลงเบื้องตนจะเปนเชนไร ขึ้นอยูกับพื้นฐาน ความเปนมาของสถิตินั้น ๆ 1.7 ระเบียบวิธีการทางสถิติ การที่เราจะสรุปผลขอมูลหรือวิเคราะหตีความเกี่ยวกับเรื่องที่เราไดศึกษานั้น จําเปนอยางยิ่งที่เราตองมี กระบวนการหรือขั้นตอนเพื่อใหไดผลสรุปที่ถูกตองนั้น ระเบียบวิธีการทางสถิติจึงเปนกระบวนการหรือขั้นตอน ทางสถิติในการจัดกระทําขอมูลใหสามารถอธิบาย หรือบอกความสัมพันธของขอมูลที่ไดมา โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้ ภาพที่ 1.2 ระเบียบวิธีการทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมขอมูล (ปรีชา ฮัศวเดชานุกร, 2552) ขอมูลธุรกิจ หมายถึง ตัวเลขหรือขอความที่ เปนประโยชนตอการดําเนินธุรกิจ แบงเปน 2 ประเภท คือ 1) ขอมูลปฐมภูมิเปนขอมูลที่ตองเก็บรวบรวมเอง เชน ตองการทราบความพึงพอใจของ ผูใชบริการหองพักของโรงแรม ขอมูลที่ตองการไมไดมีการเก็บรวบรวมไววิธีการเก็บขอมูลอาจใชวิธีการขอให ผูใชบริการตอบแบบสอบถาม โดยสุมเลือกตัวอยางผูใชบริการมาจํานวนหนึ่งแลวสัมภาษณเปนตน ตัวอยางขอมูล ปฐมภูมิภายในหนวยงาน เชน จํานวนลูกคาที่มาใชบริการโรงแรม ตนทุนการผลิต คาจางพนักงาน จํานวนสินคาที่ ผลิตไดเปนตน 1. การเก็บรวบรวมขอมูล 2. การนําเสนอขอมูล 3. การวิเคราะหขอมูล 4. การแปลความหมายขอมูล


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 15 วิทยาลัยชุมชนระนอง 2) ขอมูลทุติยภูมิเปนขอมูลที่มีผูเก็บรวบรวมไวแลว สวนใหญจะเก็บขอมูลไวเพื่อประโยชนในการ บริหารงานของหนวยงานนั้น ๆ ดังนั้นเมื่อตองการใชขอมูลก็จะสอบถามไดโดยที่ไมตองเก็บรวบรวมขอมูลเอง เชน จํานวนนักทองเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยวประเทศไทยในเดือนตาง ๆ จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย มูลคาการ สงออกสินคาประเภทเครื่องประดับเงิน จากกรมสงเสริมการสงออก การคาดการณแนวโนมการเติบโตทางธุรกิจ แตละปอาจตรวจสอบไดจากรายงานของธนาคารแหงประเทศไทย ธนาคารพาณิชยสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติตัวเลขภาพรวมทางเศรษฐกิจที่เปนไปไดและแนวโนมทางการตลาดของ ธุรกิจแตละประเภทจะมีสมาคมธุรกิจที่เกี่ยวของจัดทําและสรุปไวเปนตน การตัดสินใจในธุรกิจสวนใหญ จะใชขอมูลที่ผานการวิเคราะหแลว โดยนําขอมูลที่เก็บรวบรวมมาไดไป วิเคราะหขั้นตน และนําเสนอในลักษณะการแจกแจงความถี่การหาคาเฉลี่ย การวัดการกระจายของขอมูล การหา สัดสวนอัตราสวน เปอรเซ็นตหรือรอยละ สวนการวิเคราะหขอมูลขั้นสูง ไดแก การประมาณคา การทดสอบ สมมติฐาน การหาความสัมพันธและการพยากรณการวิเคราะหขอมูลขั้นสูงนั้นตองทราบเรื่องทฤษฎีตางๆ ที่ นํามาใชเพราะเปนการวิเคราะหขอมูลจากตัวอยางแลวเชื่อมโยงไปหาประชากร ขอมูลทางธุรกิจนี้เปนขอมูลที่เกิดขึ้นอยูแลววันตอวันจากการดําเนินงานภายในองคกร หรือเกิดจาก ภายนอกองคกร ขอมูลจากภายนอกไดแก ขอมูลจากหนวยงานรัฐบาล เชน นโยบายสงเสริมการทองเที่ยว การ ตัดสินใจสวนใหญจะใชขอมูลทั้งภายในและภายนอกองคกรที่เกี่ยวของกับทางเลือกที่เปนไปไดซึ่งจะเกิดผลจาก การเลือกทางเลือกนั้นในอนาคต เทคนิคการเก็บรวบรวมขอมูลทางธุรกิจ ไดแก 1) การสังเกต วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลอยางงายๆ คือ การศึกษาจากพฤติกรรมของ ผูบริโภค เชน ตองการศึกษาถึงความตองการสินคาชนิดใหมที่ผลิตขึ้นและนําไปวางขายในรานสะดวกซื้อหรือ หางสรรพสินคา ก็อาจจะนําสินคาไปวางแลวสังเกตพฤติกรรมของผูบริโภค จากนั้นเปลี่ยนตําแหนงที่วางขายในมุม ใหมซึ่งลูกคาอาจสนใจแลวสังเกตพฤติกรรมอีกครั้ง ก็พอสรุปไดแตหากตองการทราบวาภาพยนตรที่เพิ่งนําออก ฉายจะไดรับความสนใจหรือไมก็สังเกตจากผูชมภาพยนตรจบแลวเดินออกจากโรงภาพยนตรฟงการสนทนาของ ผูชมเหลานั้น วิธีการดังกลาวนี้จะประสบผลสําเร็จไดตองอบรมผูสังเกตการณทั้งหมด และมีผูสังเกตการณใน จํานวนที่เหมาะสมซึ่งจะทําใหมีคาใชจายเพิ่มขึ้น และจําเปนตองสังเกตเปนเวลานานพอสมควร แตปญหาคือผู สังเกตการณแตละคนจะสรุปสถานการณในแนวกันหรือไม


หน้า | 16 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ ตารางที่1.3 พฤติกรรมที่สามารถสังเกตไดเพื่อการเก็บรวบรวมขอมูล ที่มา “วิธีการวิจัยทางธุรกิจ” มัลลิกา ธรรมจริยาวัฒนและคณะ, 2550 2) การสัมภาษณบุคคล การสัมภาษณบุคคลที่เลือกเปนตัวอยางจะเปนวิธีที่ดีกวาการ สังเกตการณและนิยมใชมากกวา โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บขอมูลจากการสัมภาษณคําถามจะ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ คําถามปลายเปด (open-ended) และคําถามปลายปด (close-ended) ถาคําถาม นั้นสามารถกําหนดคําตอบไดลวงหนาก็ควรสรางเปนคําถามปลายปด เพราะผูตอบสามารถตอบไดอยางรวดเร็ว ตรงตามวัตถุประสงคของคําถาม และสะดวกแกผูสัมภาษณแตคําตอบที่ไดจะอยูในวงจํากัด อาจมีคําตอบที่ผูสราง แบบสํารวจไมคาดคิดไดแตหากตองการคําตอบที่เปนความเห็นของผูตอบเพื่อใหไดขอมูลที่สมบูรณและผูตอบ สามารถตอบไดอยางที่ตองการควรกําหนดเปนคําถามปลายเปด แตการวิเคราะหคําถามปลายเปดมีความยุงยาก กวา โดยสวนใหญจะวิเคราะหดวยการจัดกลุมความเห็นที่คลายกันไวดวยกัน วิธีการเก็บขอมูลจากการสัมภาษณนี้ มักพบปญหาดังนี้ • ผูตอบไมสะดวกใจที่จะตอบคําถามเรื่องสวนตัว เชน รายไดตอเดือน แตอาจจะ ตอบคําถามหากแบบสอบถามนั้นไมไดระบุชื่อผูตอบ หรือกําหนดรายไดเปนชวงใหเลือกตอบ • พนักงานสัมภาษณอาจมีสวนใหผูตอบเลือกคําตอบที่ตองการโดยไมตั้งใจ ปญหานี้ จะเพิ่มขึ้นหากพนักงานสัมภาษณไมไดรับการอบรมใหมีความเขาใจรายละเอียดในแบบสํารวจและวิธีการ สัมภาษณ 3) การสัมภาษณทางโทรศัพทการเก็บรวมรวบขอมูลโดยการสัมภาษณทางโทรศัพทเปน การเก็บขอมูลที่สะดวกและรวดเร็วเสียคาใชจายนอยเมื่อเทียบกับการเก็บขอมูลโดยวิธีสังเกตหรือวิธีสัมภาษณ บุคคล แตมีขอเสียคือผูตอบอาจไมเต็มใจตอบคําถามทางโทรศัพทเปนเวลานาน และอาจตอบไมตรงกับความเปน จริงเนื่องจากไมเห็นวาพนักงานสัมภาษณเปนใคร การสัมภาษณดวยวิธีนี้หากตองการเลือกผูตอบโดยกําหนด อายุ เพศ หรือสถานภาพสมรสจะทําไดยาก เพราะพนักงานสัมภาษณไมอาจประเมินลักษณะของผูตอบไดนอกจากนั้น การเลือกตัวอยางยังจํากัดเฉพาะผูที่มีรายชื่ออยูในสมุดโทรศัพทเทานั้น ปรากฏการณ ตัวอยาง พฤติกรรมหรือกริยาของมนุษย พฤติกรรมทางวาจา พฤติกรรมที่แสดงออก ระยะหางของความสัมพันธ รูปแบบเวลาทั่วไป วัตถุทางกายภาพ การบันทึกทางคําพูดหรือรูปภาพ รูปแบบการเคลื่อนไหวของพนักงานในโรงแรม กําหนดการที่ทําโดยผูเดินทางของสายการบินที่รอในแถว การแสดงออกทางใบหนา นํ้าเสียง และภาษาที่แสดงออกทางรางกาย ระยะประมาณระหวางสํานักงานผูจัดการกับสํานักงานของประธาน คนงานใชเวลานานเทาไรในการทํางาน ปริมาณกระดาษเทาใดที่พนักงานนําใชใหม มีการสาธิตกี่อยางที่ปรากฎในแผนพับการฝกอบรม


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 17 วิทยาลัยชุมชนระนอง 4) การสงแบบสํารวจทางไปรษณียเปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลที่เสียคาใชจายนอย ที่สุด การสงแบบสํารวจไปทางไปรษณียผูเลือกตัวอยางจะเลือกโดยไมเอนเอียง แตโอกาสที่จะไดรับแบบสํารวจ คืนจากผูตอบมีนอย สวนใหญจะไดรับนอยกวารอยละ 20 ดังนั้นไมอาจเปนตัวแทนที่ดีของประชากร การสํารวจ ดวยวิธีนี้หากไดรับแบบสํารวจคืนจํานวนนอย ผูสํารวจตองสงจดหมายหรือโทรศัพทไปติดตอขอแบบสํารวจคืน หรืออาจตองเดินทางไปสัมภาษณซึ่งทําใหเสียคาใชจายมาก การสรางแบบสํารวจตองพิจารณาแตละคําถามให ชัดเจน เพราะไมสามารถอธิบายคําถามกับผูตอบได 5) การสงแบบสํารวจสื่อออนไลนเปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลที่ไดรับความนิยมและ สะดวกที่สุดในปจจุบัน เนื่องจากความสามารถของระบบออนไลนในปจจุบันมีความทันสมัย ใชงานสะดวก รวดเร็ว เก็บรวมรวบขอมูลไดจํานวนมากในเวลาที่เทากันกับวิธีการอื่น ๆ และเสียคาใชจายนอยที่สุด ทําใหผูวิจัยนิยมมาใช เก็บรวมรวบขอมูลในกรณีที่ตองการไดขอมูลรวดเร็วทันตอสถานการณเหมาะสมตอการพฤติกรรมของคนใน ปจจุบัน แตขอคําถามไมควรมีความยาวในการตอบและไมซับซอนหรือตองการขอมูล เชิงลึกเครื่องมือการเก็บ รวบรวมขอมูลที่นิยมใชในปจจุบัน เชน แอพพลิเคชั่นของ Google Form หรือแบบสํารวจใน YouTube เปนตน 2. การนําเสนอขอมูล โครงการหรืองานวิจัยอาจไดรับการออกแบบอยางดีและเปนงานที่นาสนใจ ขอมูลที่เก็บรวบรวมมา ไดรับการวิเคราะหอยางถูกตองครบถวนดวยวิธีการทางสถิติและเมื่อมาถึงการสรุป จัดทํารายงานและนําเสนอ ขอมูลตอผูอื่นไมไดจัดระบบระเบียบ หรือพบกับความเลินเลอไมเปนระเบียบของภาษาและความคิด ซึ่งจะทําให งานนั้นไมไดรับความสนใจถูกมองขามไดความพยายามที่เจาของงานทํามาทั้งหมดอาจสูญเปลา ดังนั้นการ นําเสนอจึงเปนวิธีการที่มีความสําคัญยิ่งตอการสื่อสารโครงการทั้งหมด เปนเครื่องมือสําคัญที่สงผลตอการตัดสินใจ ทางธุรกิจการนําเสนอขอมูลจึงเปนการจัดระบบขอมูล เพื่อสะดวกในการพิจารณาขอมูล อาจทําไดหลายวิธีดังนี้ (วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2553) 2.1 การนําเสนอโดยขอความ เปนการนําขอมูลที่เก็บรวบรวมไดมานําเสนอเปนขอความธรรมดา เชน สํารวจ • ในป2550 คาดวา ตลาดกาแฟสําเร็จรูปมีมูลคาทางการตลาด 12,000 ลานบาท เมื่อ เทียบกับในปที่ผานมา มีอัตราการขยายตัวรอยละ 65.3 ซึ่งแบงยอยออกไดเปนตลาดกาแฟผงบรรจุขวดหรือซองมี สัดสวนรอยละ 50 กาแฟคั่วบดมีสัดสวนตลาดรอยละ 20 และกาแฟรอนดื่มหรือกาแฟทรีอินวัน มีสัดสวนตลาด รอยละ 30 (ขอมูลบริษัทอินเกรเดียนเซ็นเตอรจํากัด, 2553 เขาถึงไดจาก http://www.click2idc.com) 2.2 การนําเสนอโดยตาราง เปนการนําขอมูลที่เก็บรวบรวมไดมานําเสนอในลักษณะตาราง ซึ่งจะ ทําใหเขาใจงายกวาการนําเสนอแบบขอความ เชน • ตัวอยางเปรียบเทียบ ปริมาณของไขมัน คารโบไฮเดรต และโปรตีน ในอาหาร แตละ ชนิด ซึ่งมีมวล 100 กรัม จากตารางตอไปนี้


หน้า | 18 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ ตารางที่1.4 ปริมาณของไขมัน คารโบไฮเดรต และโปรตีน ในอาหาร แตละชนิดตอมวล 100 กรัม 2.3 การนําเสนอโดยแผนภูมิแทง การเสนอแบบแผนภูมิแทง หรือกราฟแทงเหมาะสําหรับขอมูล ที่ตองการเปรียบเทียบขอมูล จะเสนอตามแกนนอนหรือแกนตั้งก็ไดปริมาณขอมูลแสดงโดยขนาดความสูงของ แทงสี่เหลี่ยมผืนผา แตละแทงมีขนาดเทากัน และเขียนเรียงติดตอกัน หรือเวนชวงเล็กนอยก็ไดแลวแตความ ตองการ ถาตองการเปรียบเทียบขอมูลแตละประเภทใหเขียนติดตอกัน แลวระบายสีใหแตกตางกัน จะชวยจูงใจให นาดูและเปรียบเทียบเห็นไดชัดเจนขึ้น เชน เปรียบเทียบอายุของนักชอปออนไลน ภาพที่1.2 ตัวอยางการนําเสนอโดยแผนภูมิแทงเปรียบเทียบอายุของนักชอบออนไลน 2.4 การนําเสนอแบบกราฟเสน การนําเสนอแบบกราฟเสนเหมาะสําหรับขอมูลที่มีคาตอเนื่อง (Continuous) หรือแสดงลักษณะของแนวโนมของขอมูล เปนการแสดงความสัมพันธของขอมูล โดยอาศัยแกน สองแกนของกราฟเปนหลัก แลวตอจุดกลางที่เกิดจากความสัมพันธของแกนเขาดวยกันก็จะเปนเสนหักขึ้นลงหรือ เปนเสนตรง เชน มูลคาการซื้อขายนักชอปออนไลนในแตละเดือนของประเทศไทย หรือยอดขายเครื่องใชไฟฟา และเครื่องอุปโภคบริโภค เปนตน รายชื่ออาหาร ไขมัน (กรัม) คารโบไฮเดรต (กรัม) โปรตีน (กรัม) เตาหูเหลือง 6.7 3.5 12.3 เตาเจี้ยวขาว 3.7 9.1 11.1 นํ้านมถั่วเหลือง 1.5 2.2 3.4


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 19 วิทยาลัยชุมชนระนอง ภาพที่ 1.3 ตัวอย'างการนำเสนอแบบกราฟเส3นมูลค'าการซื้อขายนักช3อปออนไลน?ในแต'ละเดือน 2.5 การนําเสนอแบบแผนภูมิวงกลม การนําเสนอแบบแผนภูมิวงกลมหรือเรียกอีกอย างวา แผนภาพกงเหมาะสําหรับขอมูลที่แสดงรูปแบบรอยละหรืออัตราสวน ทําไดโดยการแบงวงกลมซึ่งมี360 องศา เทียบใหเทากับ 100% นําเอาขอมูลแตละประเภทไปหาอัตราสวนของเปอรเซ็นตแลวจึงนําไปเทียบกับองศา เพื่อ จะนํามาเขียนลงในกราฟวงกลม เชน ชองทางการชําระเงินสําหรับธุรกิจ e-Commerce ยอดนิยม 5 อันดับแรก ภาพที่1.4 ตัวอยางการนําเสนอแบบแผนภูมิวงกลมชองทางการชําระเงินสําหรับธุรกิจ e-Commerce อันดับแรก


หน้า | 20 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ 2.6 การนําเสนอแบบแผนภูมิรูปภาพ การนําเสนอแบบแผนภูมิรูปภาพเหมาะสําหรับขอมูลที่ ตองการสรางความนาสนใจและทําใหผูรับขอมูลเขาใจขอมูลไดโดยงาย ทําไดโดยใชรูปภาพแทนจํานวนของขอมูล ที่นําเสนอ เชน แผนภูมิรูปภาพคน รูปภาพคน 1 คน แสดงประชากรที่นําเสนอ 1 ลานคน เปนตน การเขียน แผนภูมิรูปภาพ อาจกําหนดใหรูปภาพ 1 รูปแทนจํานวนสิ่งของ 1 หนวยหรือหลายหนวยก็ไดแตละรูปตองมีขนาด เทากันเสมอ ภาพที่1.4 ตัวอยางการนําเสนอแบบแผนภูมิวงกลมมูลคาตลาดอีคอมเมิรชไทย 3. การวิเคราะหขอมูล เปนการนําขอมูลที่เก็บรวบรวมไดมาวิเคราะหเพื่อหาลักษณะสําคัญของขอมูล เชน หาคะแนนเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธการวิเคราะหความแปรปรวน เปนตน ทั้งนี้เนื่องจาก ขอมูลดิบยังแปลความหมายไดไมดีจําเปนตองนําขอมูลดิบมาวิเคราะหโดยวิธีการตาง ๆ เพื่อตอบจุดประสงคหรือ สมมติฐานในการศึกษานั้น ๆ 4. การแปลความหมายของขอมูล เปนการนําผลการวิเคราะหขอมูลในลักษณะตาง ๆ มาแปลผลหรือ แปลความหมาย เพื่อจะไดรูวาขอมูลที่เก็บมานั้นมีความหมายอยางไร สัมพันธกันอยางไร แตกตางกันหรือไมและ มีแนวทางการใชอยางไร เพื่อเกิดประโยชนมากที่สุด โดยสรุประเบียบวิธีการทางสถิติมี4 ขั้นตอน คือ การเก็บรวบรวมขอมูล การนําเสนอขอมูล การ วิเคราะหขอมูล และการแปลความหมายขอมูล


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 21 วิทยาลัยชุมชนระนอง 1.8 ความรู้พื้นฐานทางวิชาสถิติ คําจํากัดความของคําที่ใชในสถิติ(พินันทคงคาเพชร, 2546) 1. ประชากร (Population) หมายถึง กลุม (Set) ของสิ่งที่ตองการจะศึกษาหรือตรวจสอบทั้งหมด อาจ เปนกลุมของคน สัตวหรือสิ่งของก็ไดเชน ถาตองการศึกษาทัศนคติของนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนระนองที่มีตอการ ตัดสินใจเลือกระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ นักศึกษาทุกคนในวิทยาลัยชุมชนระนอง เปนประชากร ประชากรแบงได เปน 2 ลักษณะ 1.1 ประชากรที่มีจํานวนจํากัด (Finite population) หมายถึง ประชากรที ่มีหน วยจํากัด ซึ่ง สามารถนับออกมาเปนจํานวนไดครบถวน เชน จํานวนครัวเรือนในจังหวัดระนอง จํานวนโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่ว ประเทศ 1.2 ประชากรที่มีจํานวนไมสิ้นสุด (Infinite population) หมายถึง ประชากรที่มีหนวยยอยไม สิ้นสุด ซึ่งไมสามารถนับออกมาเปนจํานวนไดแนนอน เชน จํานวนปลาที่มีอยูในอาวไทย จํานวนเมล็ดถั่วเขียวที่ เก็บเกี่ยวไดในปหนึ่งๆ เปนตน 2. ตัวอยาง (Sample) หมายถึง บางสวนของประชากร หรือกลุมของบรรดาหนวยตัวอยางที่เลือกได จากประชากรซึ่งนํามาเปนตัวแทนเพื่อศึกษาลักษณะตาง ๆ ของประชากร โดยทั่วไปการเลือกหนวยตัวอยางจะใช วิธีการสุมตัวอยาง ซึ่งอาศัยความนาจะเปนที่แตละหนวยในประชากรมีโอกาสถูกเลือกเทาๆ กัน 3. พารามิเตอร(Parameter) หมายถึง ตัวคงที่ซึ่งแสดงถึงคุณลักษณะของประชากร ซึ่งคํานวณมาจาก คาการวัด หรือคะแนนทุก ๆ หนวยของประชากรนั้น ๆ สัญลักษณที่ใชแทนคาพารามิเตอรใชอักษรกรีก เชน μ แทน คาเฉลี่ยของประชากร σ แทน คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร 4. คาสถิติ(Statistic) หมายถึง คาที่สังเกตไดหรือคํานวณไดจากกลุมตัวอยาง เพื่อใชประมาณ คาพารามิเตอรสัญลักษณที่ใชแทนดวยอักษรลาติน เชน แทน คาเฉลี่ยของประชากร S.D แทน คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร 5. ตัวแปร (Variables) หมายถึง ลักษณะของสิ่งที่เราศึกษา หรือทําการวัดตัวแปรที่สามารถกําหนดคา ระหวางคาสองคาที่กําหนดใหไดเสมอ เรียกวา ตัวแปรตอเนื่อง (Continuous Variables) เชน นํ้าหนัก สวนสูง คะแนน ฯลฯ เปนตน สวนตัวแปรที่มีลักษณะแยกกันโดยเด็ดขาด หรือไมสามารถกําหนดคาระหวางคาสองคาที่ กําหนดไดเรียกวา ตัวแปรไมตอเนื่อง (Discrete Variables) เชน เพศ มีชาย และหญิง สถานภาพสมรส มีโสด มาย หยาราง ฯลฯ เปนตน การใชสัญลักษณของผลรวม X


หน้า | 22 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ ในการคํานวณคาสถิติตาง ๆ ที่มีการหาผลรวมของขอมูลโดยทั่วไป จะกําหนดสัญลักษณ ∑ ซึ่งเปน อักษรกรีกตัวใหญอานวา ซิกมา (Sigma) เปนตัวแทน คําวา ผลบวกหรือผลรวม (Summation) ถาให X เปนสัญลักษณแทนตัวแปร Xi แทนคาตาง ๆ ของตัวแปร เชน X1 , X2 , X3 , … , XN i จะเรียกวาดัชนีลาง (Subscript) ของตัวแปรซึ่งมีคา 1, 2, 3,..,N จะเปนสัญลักษณของผลรวม ในบางครั้งอาจเขียนเปน อานวา ซิกมาเอกซไอ เมื่อ i มีคาตั้งแต1 ถึง N หรือ อานวา ซัมเมชั่นเอกซไอ เมื่อ i มีคาตั้งแต1 ถึง N = X1 + X2 + X3 + … + XN นั่นคือ สัญลักษณ ใชเมื ่อตองการหาผลรวมของคะแนนตั้งแตตัวที่ 1(X1) ตัวที่ 2(X1) เรื่อย ๆ ไปจนถึงตัวที่ N(XN) สัญลักษณเหนือและใต∑บอกใหทราบวา i มีคาตั้งแต 1,2,3,…, N แตคาของ i ไมจําเปนตองตั้งตนจาก 1 ถึง N เสมอไป เชน มีการเก็บขอมูลพนักงานขาย 5 คน โดยจํานวนการโทรเพื่อขายสินคาตอวัน ดังนี้ พนักงานขาย จํานวนการโทร(ครั้ง/วัน) ตัวแปร สมบัติ กรรณิการ มารศรี วรนุช พรพรรณ 5 7 2 6 8 X1 X2 X3 X4 X5 ตัวอยางการใช ดังนี้ = X1 + X2 + X3 = 5 + 7 + 2 = 14 å= N i1 Xi åX å= N i1 Xi å= N i1 Xi å= N i1 Xi å= N i1 Xi å= N i1 Xi å= 3 i1 Xi


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 23 วิทยาลัยชุมชนระนอง = X1 + X2 + X3 + X4 + X5 = 5 + 7 + 2 + 6 + 8 = 28 = X2 + X3 + X4 + X5 = 7 + 2 + 6 + 8 = 23 การแจกแจงความถี่ คือการทําใหขอมูลมีความเปนระเบียบ เพื่อประโยชนในการแปลความหมายขอมูล และวิเคราะหตอไป วิธีการแจกแจงความถี่ มี 2 วิธี 1. การแจกแจงความถี่โดยไมจัดกลุม วิธีนี้จะเรียงลําดับคะแนนจากนอยไปหามากหรือจากมากไปหา นอย โดยใหชวงหางระหวางแตละคะแนนหางกัน 1 หนวยตลอด ซึ่งมักจะเขียนในรูปตารางแจกแจงความถี่ 2. การแจกแจงความถี่แบบจัดกลุม (อันตรภาคชั้น) การแจกแจงความถี่ชนิดนี้จะตองเรียงคะแนน จากมากคามากไปหาคานอย หรือเรียงคะแนนจากคานอยไปหาคามากก็ไดโดยใหแตละชั้นคะแนนจะ ประกอบดวยกลุมคะแนน การแจกแจงความถี่ของคาในแตละชวง หรืออัตรภาคชั้น (Class interval) จะแบงคาที่ เปนไปไดทั้งหมดออกเปนชวง ๆ โดยใหแตละชวงประกอบดวยคาที่เปนไปไดหลายๆ คา การแจกแจงความถี่แบบจัดเปนกลุม มีขั้นตอน ดังนี้ 1. หาพิสัย (Range) ของคะแนน พิสัย = คาสูงสุด – คาตํ่าสุด 2. กําหนดชวงหรือจํานวนชั้นของขอมูล โดยพิจารณาการกระจายของขอมูลถาขอมูลมีการกระจายมาก (มีคาขอมูลแตกตางมาก) ควรกําหนดจํานวนชวงใหนอย สําหรับขอมูลโดยทั่วไปนิยมกําหนดจํานวนชวง อยู ระหวาง 7 ถึง 12 ชวง 3. หาความกวางของชวงคะแนน หรืออันตรภาคชั้น พิสัย จํานวนชวง ถาผลหารเปนทศนิยมตองปดขึ้นเปนจํานวนเต็มเสมอ 4. กําหนดขีดจํากัดชั้นของคะแนนแตละชั้นลงในตาราง โดยเรียงจากนอยไปมาก หรือ มากไปนอยก็ได (นิยมจากนอยไปมาก) 5. นับจํานวนขอมูลแลวขีดรอยคะแนน (Tally) ลงในแตละชั้นคะแนน 6. นับจํานวนรอยคะแนนแลวนําไปใสในชองความถี่ ตัวอยางที่ 1.1 ในการสํารวจคาใชจายตอวันของนักศึกษา 40 คน เสียคาใชจายดังนี้ 118 138 127 159 146 164 178 120 129 139 å= 5 i1 Xi å= 5 i 2 Xi อันตรภาคชั .น =


หน้า | 24 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ 149 162 171 180 126 129 136 130 136 139 144 146 153 152 144 137 146 148 156 163 160 136 153 147 164 171 148 152 151 154 บาท จงสรางตารางแจกแจงความถี่ จากขอมูลขางตนจะเห็นวาคาใชจายที่มีคามากที่สุดและนอยที่สุดเปน 180 และ 118 บาท ตามลําดับ ดังนั้น ความแตกตางระหวางคาใชจายมากที่สุดและนอยที่สุดเทากับ 180 - 118 = 62 บาท ถากําหนดจํานวนชวงเปน 7 ชวง ∴ อันตรภาคชั้น = = 8.86 9 ถาใหคาตํ่าสุดของชวงแรกเปน 118 จะสรางตารางแจกแจงความถี่ไดดังนี้ คาใชจาย(บาท) รอยขีด ความถี่ (f) 118-126 /// 3 127-135 //// 4 136-144 //// //// 9 145-153 //// //// // 12 154-162 //// 5 163-171 //// 5 172-180 // 2 รวม - 40 การแจกแจงความถี่สะสม (Cumulative frequency distribution) การแจกแจงความถี่สะสม เขียนยอ ๆ วา cf หรือ F ใชในกรณีที่ตองการทราบจํานวนคะแนนที่มากกวา หรือนอยกวาคะแนนที่กําหนดใหซึ่งเราสามารถทราบไดโดยใชตารางแจกแจงความถี่สะสม การหาความถี่สะสม นิยมที่จะหาความถี่สะสม จากคะแนนนอยไปหาคะแนนมาก การแจกแจงความถี่สัมพัทธ(Relative frequency distribution) การแจกแจงความถี่สัมพัทธเขียนยอ ๆ วา f(x) เปนการแสดงสัดสวนความถี่ของแตละชั้นกับจํานวน ขอมูลทั้งหมด นั่นคือ ความถี่สัมพัทธของขอมูลแตละชั้นจะเทากับความถี่ของชั้นนั้นๆ หารดวยผลบวกของความถี่ ทั้งหมด 7 62 »


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 25 วิทยาลัยชุมชนระนอง การแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธ(Cumulative relative frequency distribution) การแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธเขียนยอ ๆ วา F(x) เปนการแสดงความถี่สัมพัทธทั้งหมดของขอมูล ที่มีคานอยกวาหรือมากกวาขอบลางหรือขอบบนแลวแตกรณีนั่นคือ ความถี่สะสมสัมพัทธของชั้นใดชั้นหนึ่ง เปน ผลหารระหวางความถี่สะสมของชั้นนั้นกับผลบวกของความถี่ทั้งหมด ตัวอยาง 1.2 จากขอมูลตัวอยาง 1.1 มาสรางตารางแจกแจงความถี่สะสม ความถี่สัมพัทธและความถี่สะสม สัมพัทธไดดังนี้ คาใชจาย ความถี่ (f) cf f(x) F(x) 118-126 3 3 = 0.075 0.075 127-135 4 7 = 0.100 0.175 136-144 9 16 = 0.225 0.400 145-153 12 28 = 0.300 0.700 154-162 5 33 = 0.125 0.825 163-171 5 38 = 0.125 0.950 172-180 2 40 = 0.050 1.000 รวม 40 - 1.00 - 40 3 40 4 40 9 40 12 40 5 40 5 40 2


หน้า | 26 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ 1.9 การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตารางแจกแจงความถี่ แผนภูมิ และการใช้โปรแกรม Microsoft Excel ในการสร้างแผนภูมิ การนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ ดังนี้ไดกลาวมาแลววาขอมูลเชิงคุณภาพตามมาตรการวัดแบงไดเปน 2 ระดับ คือ ระดับนามบัญญัติ (Nominal scale) และระดับเรียงอันดับ (Ordinal scale) ซึ่งขอมูลระดับนามบัญญัติเปนระดับที่มีความซับซอน นอยที่สุดเนื่องจากเปนลักษณะของการตั้งชื่อของขอมูลกลุมตัวอยางที่ศึกษา และชวยในการจัดหมวดหมูของ ขอมูล เชน ขอมูลดานเพศ และเชื้อชาติเปนตน สวนขอมูลมาตรการวัดระดับเรียงอันดับ มีความซับซอนมากกวา แคการจัดหมวดหมูของขอมูลเนื่องจากตองใชความรูสึกในการจัดอันดับขอมูลจากระดับแยที่สุดไปดีที่สุด เชน ระดับความชอบของผลิตภัณฑสีผิวของผูคน เปนตน ซึ่งการจัดการขอมูลเชิงคุณภาพทั้งสองระดับนี้มักนิยมใชการ แจกแจงความถี่ในการนําเสนอขอมูลเสมอ ตัวอยางตารางที่ 1.4 การเก็บขอมูลภูมิอากาศประจําเดือนกุมภาพันธพ.ศ.2560 ของจังหวัดระนอง ซึ่ง เปนขอมูลมาตรการวัดระดับนามบัญญัติ ตารางที่ 1.4 ขอมูลภูมิอากาศประจําเดือนกุมภาพันธพ.ศ.2560 ของจังหวัดระนอง วันอาทิตย วันจันทร วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดี วันศุกร วันเสาร ฝนตก ฝนตก ฝนตก ฝนตก ฝนตก ฝนตก ฝนตก ฝนตก มืดครึ้ม ฝนตก ฝนตก ฝนตก ฝนตก ฝนตก ฝนตก ฝนตก แดดออก แดดออก แดดออก แดดออก แดดออก แดดออก ฝนตก ฝนตก ฝนตก ฝนตก ฝนตก แดดออก จากตารางที่ 1.4 สามารถนําเสนอขอมูลในรูปแบบตารางแจกแจงความถี่โดยจัดหมวดหมูแตละชั้นของ ขอมูลตามภูมิอากาศประจําเดือนกุมภาพันธพ.ศ.2560 ของจังหวัดระนอง ได 3 ลักษณะ คือ มืดครึ้ม ฝนตก และ แดดออก ในเบื้องตนเราสามารถนําขอมูลดังกลาวมาสรางตารางแจกแจงความถี่โดยคอลัมนแรกของตารางจําแนก เปนลักษณะภูมิอากาศทั้ง 3 ลักษณะ จากนั้นขีดรอยคะแนน (Tally) พบวาแปดวันแรกของเดือนกุมภาพันธคือ ตั้งแตวันที่ 1 – 8 สภาพภูมิอากาศฝนตก เราก็บันทึกขอมูลขีดรอยคะแนนเทากับ 8 ในหมวดหมูตารางชั้นของฝน ตก ตอมาในวันที่ 9 พบวาสภาพภูมิอากาศมืดครึ้ม ก็จะบันทึกเทากับ 1 ในตารางชั้นของมืดครึ้ม ดําเนินการเชนนี้ ตอไปจนครบทุกขอมูล จากนั้นนับขีดรอยคะแนนของแตละชั้นขอมูล และบันทึกเปนคาความถี่ หรือจํานวนขอมูล จํานวนวันของภูมิอากาศที่เกิดขึ้นแตละประเภทในคอลัมนสุดทายของตาราง ตัวอยางเชนในวันที่ภูมิอากาศมืดครึ้ม มีจํานวน 1 วัน บันทึกขอมูลเทากับ 1 ในชองความถี่ของของขอมูล เปนตน ขอสังเกตในผลรวมของความถี่ทั้งหมด ในชองสุดทายของคอลัมนความถี่จะมีคาเทากับจํานวนตัวอยางที่เก็บรวบรวมขอมูล (Sample Size) คือ 28 วัน 1 2 3 4 10 5 6 7 8 9 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 28 22 23 24 25 26 27


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 27 วิทยาลัยชุมชนระนอง ในที่สุดเราก็จะไดรูปแบบการนําเสนอขอมูลภูมิอากาศประจําเดือนกุมภาพันธพ.ศ.2560 ของจังหวัดระนอง ใน รูปแบบตารางแจกแจงความถี่ ซึ่งปกติ อาจไมจําเปนตองนําเสนอคอลัมนขีดรอยคะแนน (Tally) ในตาราง ดังกลาวก็ได ตารางที่ 1.5 ตารางแจกแจงความถี่แสดงภูมิอากาศประจําเดือนกุมภาพันธพ.ศ.2560 ของจังหวัดระนอง ภูมิอากาศ ขีดรอยคะแนน ความถี่ มืดครึ้ม / 1 ฝนตก //// //// //// //// 20 แดดออก //// // 7 รวม 28 วัน จากตารางแจกแจงความความถี ่ ตารางที่ 1.5 ทําใหเราสามารถพิจารณาไดงายวาภูมิอากาศ ประจําเดือนกุมภาพันธพ.ศ.2560 ของจังหวัดระนอง สวนใหญมีจํานวนวันฝนตกมากที่สุด เนื่องจากมีจํานวนวันที่ มีคาความถี่สูงสุด และเราสามารถประยุกตตารางแจกแจงความถี่ดังกลาวในลักษณะเปรียบเทียบภูมิอากาศใน เดือนกุมภาพันธกับเดือนมีนาคม เปนตน แตอยางไรก็ตามจํานวนวันทั้งหมดของเดือนกุมภาพันธมีเพียง 28 วัน แต เดือนมีนาคมมีจํานวนวันทั้งหมด 31 วัน ในกรณีเชนนี้เราตองเปลี่ยนจากการแจกแจงความถี่เปน การแจกแจง ความถี่สัมพัทธ (Relative frequency distribution) แทน โดยการนําคาความถี่ในแตละชั้นของขอมูลหาร ดวยความถี่ทั้งหมดของขอมูล และผลรวมของความถี่สัมพันธทั้งหมดจะมีคาเทากับ 1 หรือใกลเคียง 1 เนื่องจาก การปดเศษทศนิยม จากตารางที่ 1.6 เปนตารางที่เปลี่ยนแปลงตารางแจกแจงความความถี่ ตารางที่ 1.5 เปนตารางแจก แจงความถี่สัมพัทธแทน นอกจากนี้เพิ่มเติมขอมูลเดือนมีนาคมในการหาความถี่สัมพันธของชั้นขอมูลแตละชั้น คือ ภูมิอากาศมืดครึ้มมีความถี่ของจํานวนวันเทากับ 3 วัน ภูมิอากาศฝนตกมีความถี่ของจํานวนวันเทากับ 18 วัน และ ภูมิอากาศแดดออกมีความถี่ของจํานวนวันเทากับ 10 วัน ความถี่แตละชั้นของขอมูลหารดวยความถี่ 31 ซึ่งคือ ผลรวมทั้งหมดจํานวนวันของเดือนมีนาคม ตารางที่ 1.6 ตารางแจกแจงความถี่สัมพันธภูมิอากาศประจําเดือนกุมภาพันธและมีนาคม ภูมิอากาศ ความถี่สัมพันธ ประจําเดือนกุมภาพันธ ความถี่สัมพันธ ประจําเดือนมีนาคม มืดครึ้ม 1/28 = 0.036 3/31 = 0.097 ฝนตก 20/28 = 0.714 18/31 = 0.581 แดดออก 7/28 = 0.250 10/31 = 0.323 ผลรวม = 1 ผลรวม = 1 (โดยประมาณ)


หน้า | 28 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ ทั้งนี้เราสามารถเปลี่ยนความถี่สัมพันธใหอยูในรูปแบบรอยละ (percentages) โดยการคูณคา 100 กับ ความถี่สัมพันธตัวอยางเชน รอยละความถี่สัมพันธภูมิอากาศมืดครึ้มประจําเดือนกุมภาพันธและมีนาคม เทากับ รอยละ 3.6 (3.6 %) และรอยละ 9.7 (9.7 %) ตามลําดับ ประโยชนจากตารางแจกแจงความถี่สัมพันธตารางที่ 1.6 ทําใหเราอธิบายไดวาภูมิอากาศประจําเดือนกุมภาพันธและมีนาคม จังหวัดระนอง สวนใหญมีภูมิอากาศฝน ตก แตอยางไรก็ตามภูมิอากาศประจําเดือนมีนาคมดีกวาเล็กนอยคือมีวันที่แดดออกประมาณรอยละ 32 ในขณะที่ เดือนกุมภาพันธมีวันที่แดดออกรอยละ 25 ตามลําดับ ตัวอยาง 1.3 จากขอมูลยอดขายสุทธิผลิตภัณฑแปรรูปอาหารทะเลในจังหวัดระนอง ที่จําหนายไปยังตลาดภูมิภาค ตาง ๆ ในประเทศไทย ตั้งแตปพ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2559 จงอธิบายวายอดขายสุทธิผลิตภัณฑแปรรูปอาหาร ทะเลในแตละภูมิภาคตาง ๆ มีสัดสวนยอดขายสุทธิเปลี่ยนแปลงหรือไมตลอดระยะเวลา 10 ปที่ผานมา จากขอมูลยอดขายสุทธิผลิตภัณฑแปรรูปอาหารทะเล ยอดขายสุทธิรวมทั้งหมดตลอดระยะวเลา 10 ป ที ่ผานมาเพิ ่มขึ้นเกือบ 2 เทา แตอยางไรก็ตามพบวายอดขายสุทธิในแตละภูมิภาคมีการเพิ ่มขึ้นที ่แตกตางกัน อยางมาก หากเราพิจารณาคาสัดสวนยอดขายสุทธิในแตละภูมิภาคโดยคํานวณจากคายอดขายสุทธิในแตละ ภูมิภาคหารดวยยอดขายสุทธิรวมในแตละปดังตารางตอไปนี้ จากตารางการเปลี่ยนแปลงยอดขายเปนสัดสวนของยอดขายสุทธิพบวาในป 2559 แตละภูมิภาคมีการ เปลี่ยนแปลงสัดสวนยอดขายอยางมีนัยสําคัญ ซึ่งสัดสวนยอดขายสุทธิภาคกลางยังคงมีคาสูงสุดคือ รอยละ 45.6 ภูมิภาค ยอดขายสุทธิ(ลานบาท) ป 2550 ป 2559 ภาคกลาง 243 485 ภาคใต 189 218 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 84 259 ภาคเหนือ 16 101 รวม 532 1,063 ภูมิภาค สัดสวนยอดขายสุทธิ ป 2550 ป 2559 ภาคกลาง 243/532 = 0.457 485/1,063 = 0.456 ภาคใต 189/532 = 0.355 218/1,063 = 0.205 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 84/532 = 0.158 259/1,063 = 0.244 ภาคเหนือ 16/532 = 0.030 101/1,063 = 0.095 รวม 1 1


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 29 วิทยาลัยชุมชนระนอง แตอยางไรก็ตามสัดสวนยอดขายสุทธิรวมมีคาลดลงเล็กนอยตลอดระยะเวลา 10 ปที่ผานมา แตสัดสวนยอดขาย สุทธิที่ลดลงอยางมากคือภาคใตที่มีคาลดลงจากรอยละ 35.5 เปนรอยละ 20.5 เมื่อเปรียบเทียบกับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดสวนที่เพิ่มขึ้นจากรอยละ 15.8 เปนรอยละ 24.4 และภาคเหนือสัดสวนเพิ่มขึ้นจากรอย ละ 3 เปนรอยละ 9.5 ดังนั้นจะเห็นไดวาในระยะเวลา 10 ปที่ผานมา สัดสวนยอดขายสุทธิในแตละภูมิภาคมีการ เปลี่ยนแปลง ซึ่งขอมูลเหลานี้มีสวนชวยใหผูประกอบตัดสินใจ จะดําเนินกลยุทธการตลาดในอนาคตตอไปได อยางไร การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิ จากตัวอยางการนําเสนอขอมูลที่ผานมาขางตน เราสามารถนําเสนอการแจกแจงความถี่ในรูปแบบ แผนภูมิหรือกราฟ เนื่องจากการนําเสนอแผนภูมิหรือกราฟมีลักษณะเปนรูปภาพ ทําใหสามารถเขาใจหรือตีความ ขอมูลไดงายกวา โดยเฉพาะแผนภูมิวงกลมและแผนภูมิแทง นิยมนํามาใชในการนําเสนอขอมูลเชิงคุณภาพอยาง กวางขวาง ตัวอยางการสรางแผนภูมิวงกลม เริ่มจาการวาดรูปวงกลมจากนั้นแบงวงกลมออกเปนสวน ๆ หรือเปน เซกเตอร(sectors) ขนาดมุมแตละเซกเตอรขึ้นอยูกับสัดสวนของขอมูลในแตหมวดหมู เชน ตัวอยางที่ 1.3 ยอดขายสุทธิผลิตภัณฑแปรรูปอาหารทะเลภาคกลางมีคารอยละเทากับ 45.7 (ประมาณ 46 %) จากยอดขายสุทธิ ทั้งหมดในปพ.ศ.2550 ซึ่งคิดเปนมุมภายในแผนภูมิวงกลมทั้งหมดเทากับ 360 องศา ดังนั้นขนาดมุมภายใน เซกเตอรของยอดขายสุทธิภาคกลางสามารถคํานวณไดจาก 0.457 X 360 = 164.52 องศา ซึ่งมีขนาดเซกเตอร เกือบเทากับครึ่งหนึ่งของวงกลม ในทํานองเดียวกันเราสามารถหาขนาดมุมเซกเตอรของผลิตภัณฑสุทธิของ 3 ภูมิภาคที่เหลือของปพ.ศ.2550 ไดดังนี้ ภาคใต: 0.355 X 360 = 127.80 องศา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : 0.158 X 360 = 56.88 องศา ภาคเหนือ : 0.030 X 360 = 10.80 องศา ดังนั้นวิธีการคํานวณขางตนเพื่อสรางแผนภูมิวงกลมก็สามารถใชไดเชนเดียวกับการสรางแผนภูมิวงกลม ยอดขายสุทธิผลิตภัณฑแปรรูปอาหารทะเล ปพ.ศ.2559 ดังภาพที่ 1.5 และ 1.6


หน้า | 30 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel สร้างแผนภูมิวงกลม โดยปกติการสรางแผนภูมิวงกลมนิยมใชโปรแกรม Microsoft Excel หรือเรียกสั้น ๆ วาโปรแกรม Excel เนื่องจากการใชโปรแกรมดังกลาวมีความสะดวก รวดเร็ว ทําไดงาย และเปนโปรแกรมที่สวนใหญมีประจํา เครื่องคอมพิวเตอรในปจจุบัน จากตัวอยางที่ 1.3 เราสามารถสรางแผนภูมิวงกลมโดยใชโปรแกรม Excel ตาม ขั้นตอนดังนี้ 1. เปดโปรแกรม Excel จากนั้นปอนขอมูลยอดขายสุทธิผลิตภัณฑแปรรูปอาหารทะเลทั้งสองปในชอง เซล (cell) ตาง ๆ ของโปรแกรมดังภาพที่ 1.7 ภาพที่ 1.7 ลักษณะการปอนขอมูลสําหรับเตรียมสรางแผนภูมิวงกลม ภาพที่1.5 แผนภูมิวงกลมยอดขายสุทธิ ผลิตภัณฑแปรรูปอาหารทะเล ปพ.ศ.2550 ภาพที่1.6 แผนภูมิวงกลมยอดขายสุทธิ ผลิตภัณฑแปรรูปอาหารทะเล ปพ.ศ.2559


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 31 วิทยาลัยชุมชนระนอง 2. คลุมเลือกขอมูลภูมิภาคตาง ๆ และยอดขายสุทธิประจําปพ.ศ.2550 ทั้งหมด โดยเวนแถวบนสุดซึ่ง เปนชื่อคอลัมนภูมิภาคและป 2550 ดังภาพที่ 1.8 3. คลิกเลือกแท็บแทรก (Insert) บนแถบเมนูเครื่องมือ > แผนภูมิวงกลม (Pie) > วงกลมสองมิติ (2-D Pie) ตามลําดับ ดังภาพที่ 1.8 ภาพที่ 1.8 4. จากนั้นจะปรากฏแผนภูมิวงกลมดังภาพที่ 1.9 ซึ่งอยูในแท็บออกแบบ (Design) บนแถบเมนู เครื่องมือ ภาพที่1.9


หน้า | 32 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ 5. ปรับแตงแผนภูมิวงกลมใหมีคําอธิบายขอมูลโดยใชคําสั่งเพิ่มองคประกอบแผนภูมิบนแท็บออกแบบ > ปายชื่อขอมูล > ตัวเลือกปายชื่อขอมูลเพิ่มเติม ดังภาพที่ 1.10 6. ปรากฏหนาตางจัดรูปแบบปายชื่อขอมูลที่มุมดานขวามือ > ตัวเลือกปายชื่อ จากนั้นสามารถคลิก เลือกการแสดงปายขอมูลบนแผนภูมิวงกลมไดเชน ชื่อประเภท เปอรเซ็นตและแสดงเสนโยงจากแผนภูมิไปปาย ชื่อ เปนตน ดังภาพที่ 1.10 ทั้งนี้เราสามารถเลือกการจัดรูปแบบแผนภูมิโดยใชคําสั่งเคาโครงดวนไดซึ่งเปนรูปแบบ ที่โปรแกรมตั้งคาไวใหโดยผูใชเลือกใชรูปแบบไดทันที ภาพที่ 1.10 การสรางแผนภูมิวงกลมโดยโปรแกรม Excel หมายเหตุหากตองการสรางแผนภูมิวงกลมยอดขายสุทธิป 2559 ขั้นตอนการคลุมเลือกขอมูลทําไดโดยคลุมเลือกภูมิภาค แลวคลิกปุม Ctrl คางไวแลวจึงคลุมเลือกขอมูลยอดขายสุทธิป 2559 จากนั้นทําตามขั้นตอน 3 – 6 ตามลําดับ นักศึกษาสามารถศึกษาการติดตั้ง การสร้างแผนภูมิวงกลมโดย โปรแกรม Excel เพิ่มเติมที่ link: https://www.youtube.com/watch ?v=1vOTIXztd0Q หรือ สแกน QR CODE ที่นี่ >>


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 33 วิทยาลัยชุมชนระนอง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel สร้างแผนภูมิแท่ง การนําเสนอขอมูลเชิงคุณภาพอีกรูปแบบคือ แผนภูมิแทง (Bar Chart) การสรางแผนภูมิแทงเริ่มตน จากแกนนอนซึ่งเปนแกนของประเภทขอมูลหมวดหมูจําแนกตามชื่อของขอมูลเชิงคุณภาพ สวนแกนนอนเปนแกน ของคาความถี่ของขอมูลหรือคาความถี่สัมพันธของขอมูล โดยความสูงของแผนภูมิแทงสัมพันธกับความถี่หรือ คาความถี่สัมพันธของขอมูล และการเวนระยะของแทงขอมูลระหวางแตละหมวดหมูของขอมูลจะทําใหแผนภูมิดู เขาไดงายและชัดเจน จากภาพที่ 1.11 ตัวอยางแผนภูมิแทงความถี่สัมพันธยอดขายสุทธิผลิตภัณฑแปรรูปอาหารทะเล เปรียบเทียบระหวาง ปพ.ศ.2550 และ 2559 โดยแผนภูมิดังกลาวมีประโยชนในการเปรียบเทียบไดเห็นภาพได อยางชัดเจนของสัดสวนยอดขายสุทธิในแตละภูมิภาค ซึ่งสัดสวนยอดขายสุทธิในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคเหนือมีอัตราสวนที่เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับสัดสวนยอดขายสุทธิของภาคกลางและภาคใตที่มีอัตราสวน ลดลงตลอดในชวง 10 ปที่ผานมา ภาพที่ 1.11 แผนภูมิแทงความถี่สัมพันธยอดขายสุทธิผลิตภัณฑแปรรูปอาหารทะเล ปพ.ศ.2550 และ 2559 ทั้งนี้การสรางแผนภูมิแทงความถี่สัมพันธยอดขายสุทธิผลิตภัณฑแปรรูปอาหารทะเล ปพ.ศ.2550 และ 2559 โดยโปรแกรม Excel ตามขั้นตอนดังนี้


หน้า | 34 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ 1. เปดโปรแกรม Excel จากนั้นปอนขอมูลความถี่สัมพันธยอดขายสุทธิผลิตภัณฑแปรรูปอาหารทะเล ทั้งสองปในชองเซล (cell) ตาง ๆ ของโปรแกรมดังภาพที่ 1.12 ภาพที่ 1.12 ลักษณะการปอนขอมูลสําหรับเตรียมสรางแผนภูมิแทง 2. คลุมเลือกขอมูลภูมิภาคตาง ๆ และความถี่สัมพันธยอดขายสุทธิประจําปพ.ศ.2550 และ 2559 ทั้งหมด โดยเวนแถวบนสุดซึ่งเปนชื่อคอลัมนภูมิภาคและปพ.ศ.ทั้ง 2 ปดังภาพที่ 1.13 3. คลิกเลือกแท็บแทรก (Insert) บนแถบเมนูเครื่องมือ > แผนภูมิคอลัมน(Column) > คอลัมนสอง มิติ (2-D Column) ตามลําดับ ดังภาพที่ 1.13 ภาพที่1.13


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 35 วิทยาลัยชุมชนระนอง 4. จากนั้นจะปรากฏแผนภูมิแทงดังภาพที่ 1.14 ซึ่งอยูในแท็บออกแบบ (Design) บนแถบเมนูเครื่องมือ ภาพที่1.14 5. ปรับแตงแผนภูมิแทง โดยปกติโปรแกรม Excel จะมีการตั้งคาอัตโนมัติมาใหแตรูปแบบอาจจะไม ตรงตอความตองการของผูใชงาน เชน การแกไขชุดขอมูลซึ่งอาจจะมีการสลับตําแหนงซายขวาของแทงขอมูลและ ตั้งชื่อชุดขอมูลใหม โดยไปที่คําสั่งเลือกขอมูล > ปรากฏหนาตางเลือกแหลงขอมูล คลิกเลือกขอมูลชุดที่ 1 > คลิก ปุมแกไข จะปรากฏหนาตางแกไขชุดขอมูล พิมพแกไขชื่อขอมูลที่ชองชื่อชุดขอมูล และที่ชองคาของชุดขอมูล เลือกคลุมพื้นที่ขอมูลของคาความถี่สัมพันธใหตรงตอความตองการของแทงแผนภูมิซายมือ>คลิกปุมตกลง จากนั้น แกไขขอมูลชุดที่ 2 ตอไป ดังภาพที่ 1.15 หรือหากตองการปรับแตงสีของแทงแผนภูมิระดับสเกลตัวเลขของแกน ตั้ง (คาถี่สัมพันธ) ความกวางของแทงแผนภูมิสามารถแกไขไดที่การจัดรูปแบบพื้นที่แผนภูมิซึ่งสามารถใชชุดคําสั่ง ดังภาพที่ 1.16 โดยสามารถศึกษารายละเอียดไดจากคลิปดานลาง ภาพที่1.15 การแกไขชุดขอมูลแผนภูมิแทงโดยโปรแกรม Excel


หน้า | 36 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ ภาพที่ 1.16 การสรางแผนภูมิแทงโดยโปรแกรม Excel การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ เนื่องดวยขอมูลเชิงปริมาณเปนขอมูลที่เปนลักษณะของตัวเลข คาที ่ไดจากการเก็บรวมรวมขอมูล มีความหมายหรือมีคาเทากับตัวเลขเหลานั้น ซึ ่งขอมูลอาจไดมาทั้งจากการวัดค าหรือการนับของขอมูล ตัวอยางเชน จํานวนรานคาที่จดทะเบียนการคา (การนับขอมูล) หรือราคาบานที่ทําการซื้อ-ขาย ในจังหวัดระนอง (การวัดคา) ขอมูลเชิงปริมาณโดยธรรมชาติแลวมีความแตกตางกับขอมูลเชิงคุณภาพ แตการนําเสนอขอมูลดวย ตารางหรือแผนภูมิก็ยังนิยมใชการแจกแจงความถี่ในการหาผลรวมของขอมูลเหมือนกับขอมูลเชิงคุณภาพที่ได กลาวมาแลวขางตน นักศึกษาสามารถศึกษาการติดตั้ง การสร้างแผนภูมิแท่งโดย โปรแกรม Excel เพิ่มเติมที่ link: https://www.youtube.com/watch ?v=GCxkpWdBm9w หรือสแกน QR CODE ที่นี่ >>


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 37 วิทยาลัยชุมชนระนอง จากตารางที่ 1.7 ตารางแจกแจงความถี่ราคาบานโครงตาง ๆ ที่ทําการซื้อ-ขาย ในจังหวัดระนอง เขต อําเภอเมือง ในชวงเดือนมกราคม ปพ.ศ. 2561 ซึ่งเปนตัวอยางการสรางตารางนําเสนอขอมูลเชิงปริมาณใน ลักษณะตารางการแจกแจงความถี่ซึ่งการสรางตารางแจกแจงความถี่ขอมูลเชิงปริมาณโดยการเปลี่ยนขอมูลดิบที่ ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูลใหเปนชวงของขอมูลหรือเปนอันตรภาคชั้น และหาความถี่แตละอันตรภาคชั้น ดังที่ ไดกลาวไปแลวในตัวอยางที่ 1.1 ซึ่งจากตารางที่ 1.7 แตละอันตรภาคชั้นมีชวงขอมูลหางกันเทากับ 1,000,000 บาท และชั้นแรกของตารางคือขอมูลราคาซื้อ-ขายบานในราคาตั้งแต 1,000,000 ถึง 1,999,000 บาท แตละอันตร ภาคชั้นเรานับจํานวนความถี่หรือจํานวนบานที่มีราคาในชวงดังกลาว ซึ ่งตารางแจกแจงความถี ่ของขอมูลเชิง ปริมาณในลักษณะอันตรภาคชั้นจะไมสามารถแสดงรายละเอียดไดวาบานแตละหลังมีราคาแทจริงเทาไร เพียงแตมี ราคาอยูในชวงขอมูลดังกลาว เนื่องจากหากตองแสดงราคาบานที่แทจริงอาจทําใหตารางมีอันตรภาคชั้นมาก จนเกินไป ตารางที่ 1.7 ตารางแจกแจงความถี่ราคาบานโครงตาง ๆ ที่ทําการซื้อ-ขาย ในจังหวัดระนอง เขตอําเภอเมือง ในชวงเดือนมกราคม ปพ.ศ. 2561 ราคา (พันบาท) ความถี่ 1,000 – 1,999 5 2,000 – 2,999 8 3,000 – 3,999 12 4,000 – 4,999 16 5,000 – 5,999 7 6,000 – 6,999 4 7,000 – 7,999 3 รวม 55 ตัวอยาง 1.4 จากขอมูลตารางที่ 1.7 ชวงของขอมูลราคาบานทั้งหมดในระยะเวลาดังกลาวมีคาเทาไร และราคา บานสวนใหญมีคาเทาไร จากตารางแจกแจงความถี่ตารางที่ 1.7 อธิบายไดวา ราคาบานที่ทําการซื้อ-ขาย ในจังหวัดระนอง เขต อําเภอเมือง ในชวงเดือนมกราคม ปพ.ศ. 2561 มีคาอยูระหวาง 1,000,000 – 7,999,000 บาท โดยราคาบาน สวนใหญมีคาอยูระหวาง 4,000,000 – 4,999,000 บาท (คาความถี่เทากับ 16 หลัง) ซึ่งมีขอสังเกตบานที่มีราคา ตํ่าสุดมีจํานวน 5 หลัง และราคาสูงสุดมีจํานวน 3 หลัง ตามลําดับ


หน้า | 38 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ การนำเสนอข้อมูลการแจกแจงความถี่สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แผนภาพ ฮิสโตแกรม (Histograms) และรูปหลายเหลี่ยมของความถี่ (Frequency Polygon) เปนการใชแผนภูมิ และกราฟพรรณนาขอมูลของการแจกแจงความถี่และความถี่สัมพันธซึ่งประโยชนจากการใชแผนภาพพรรณนา ขอมูลทําใหงายตอการสังเกตเห็นขอมูลไดอยางรวดเร็ววาขอมูลมีแนวโนมสวนใหญเปนอยางไรจากการเห็นรูปทรง ของแผนภาพ หรือสังเกตเห็นไดวาขอมูลมีการแจกแจงอยางสมมาตรหรือไม การใชแผนภาพแสดงขอมูลเชิงปริมาณโดยใชฮิสโตแกรม ซึ่งฮิสโตแกรมมีลักษณะคลายแผนภูมิแทง ซึ่ง เปนรูปแทงสี่เหลี่ยมที่เรียงชิดติดตอกัน โดยมีความกวางและความสูงของแตละแทงสี่เหลี่ยมตามกวางของอันตร ภาคชั้นและความถี่ (ความถี่สัมพัทธ) ตามลําดับ สําหรับขอมูลเชิงปริมาณมักใชฮิสโตแกรมที่มีลักษณะเปนแผนภูมิแทงเปนหลัก ซึ่งขอมูลในแกนนอน ของฮิสโตแกรมเปนขอบเขตในแตละชั้นของขอมูล สวนความสูงแตละแทงของแผนภูมิคือคาความถี่หรือความถี่ สัมพัทธของขอมูลในแตละชั้น โดยแตละแทงของขอมูลจะไมปรากฎชองวางหรือมีลักษณะแทงที่ติดเรียงกันในแต ละขอบเขตของขอมูล ดังภาพที่ 1.17 เปนการแสดงฮิสโตแกรมความถี่ราคาบานโครงตาง ๆ ที่ทําการซื้อ-ขาย ใน จังหวัดระนองของขอมูลตามตารางที่ 1.7 จากฮิสโตแกรมทําใหเราสามารถสังเกตเห็นขอมูลไดอยางงายโดยราคา บานจากตัวอยางของขอมูลมีคาอยูระหวาง 1,000,000 ถึง 7,999,000 บาท และราคาบานสวนใหญอยูในชวง 4,000,000 ถึง 4,999,000 บาท ภาพที่ 1.17 ฮิสโตแกรมแสดงความถี่ราคาบานโครงตาง ๆ ที่ทําการซื้อ-ขาย ในจังหวัดระนอง ความแตกตางระหวางฮิสโตแกรมแสดงความถี่และฮิสโตแกรมแสดงความถี ่สัมพัทธคือหนวยที ่ใช แสดงผลแกนตั้ง โดยฮิสโตแกรมแสดงความถี่ใชคาความถี่ของแตละชั้นของขอมูลเปนคาความสูงของกราฟแทง แต ฮิสโตแกรมแสดงความถี่สัมพัทธใชคาความถี่สัมพัทธ (คาสัดสวน) เปนคาความสูงของกราฟแทง ดังภาพที่ 1.18


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 39 วิทยาลัยชุมชนระนอง ภาพที่ 1.18 ฮิสโตแกรมแสดงความถี่สัมพัทธราคาบานโครงตาง ๆ ที่ทําการซื้อ-ขาย ในจังหวัดระนอง โดยปกติลักษณะการกระจายของฮิสโตแกรมมีรูปรางอยางใดอยางคือ กลาวคือมีลักษณะสมมาตร (Symmetric) หรือลักษณะเบ(Skewed) ซึ่งลักษณะสมมาตร คือ ถาพับสวนซายและขวาเขาหาตรงแกนกลาง สวนซายและสวนขวาจะทันกันสนิท เปรียบเสมือนสวนซายและสวนขวาเปนกระจกเงาซึ่งกันและกัน โดยหลาย ขอมูลมีลักษณะของฮิสโตแกรมเปนรูปคลายระฆังควํ่า มักรูจักกันดีและเรียกลักษณะดังกลาววา การแจงแจงปกติ ถาฮิสโตแกรมไมไดมีลักษณะสมมาตรก็จะเรียกไดสองลักษณะ คือ การแจกแจงความถี่ที่มีลักษณะเบขวา หรือ ความเบมีคาเปนบวก และการแจกแจงความถี่ที่มีลักษณะเบซาย หรือความเบมีคาเปนลบ ดังภาพที่ 1.19 ภาพที่ 1.19 ฮิสโตแกรมแสดงความแตกตางแตละรูปทรง จากภาพที่ 1.19 (ก) ฮิสโตแกรมมีการแจกแจงความถี่ลักษณะสมมาตร ซึ่งถาขอบมุมของรูปทรงแทง สี่เหลี่ยมมีการปรับใหมีลักษณะเรียบ รูปทรงดังกลาวจะมีลักษณะคลายระฆังควํ่าที่เรียกวา “การแจกแจงปกติ” ภาพที่ 1.19 (ข) ฮิสโตแกรมมีการแจกแจงความถี่ที่มีลักษณะเบขวาหรือความเบมีคาเปนบวก กราฟมีลักษณะ ขอมูลที่ทอดยาวไปปลายดานขวา สะทอนใหเห็นวาขอมูลที่มีคาสูงจะมีจํานวนนอย สุดทายภาพที่ 1.19 (ค) ฮิสโต แกรมมีการแจกแจงความถี่ที่มีลักษณะเบซายหรือความเบมีคาเปนลบ กราฟมีลักษณะขอมูลที่ทอดยาวไปปลาย ดานซาย สะทอนใหเห็นวาขอมูลที่มีคานอยจะมีจํานวนนอยตามไปดวย (ก) การแจงแจงความถี่ลักษณะสมมาตร (ข) การแจกแจงความถี่ที่มีลักษณะเบ;ขวา หรือความเบ;มีค?าเปAนบวก (ค) การแจกแจงความถี่ที่มีลักษณะเบ;ซ;าย หรือความเบ;มีค?าเปAนลบ


หน้า | 40 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel สร้างฮิสโตแกรมการแจกแจงความถี่ การสรางฮิสโตแกรมการแจกแจงความถี่ราคาบานโครงตาง ๆ ที่ทําการซื้อ-ขาย ในจังหวัดระนองโดย โปรแกรม Excel ตามขั้นตอนดังนี้ 1. เปดโปรแกรม Excel จากนั้นปอนขอมูลราคาบานโครงตาง ๆ ที่ทําการซื้อ-ขาย ในจังหวัดระนอง ใน ชองเซล (cell) ตาง ๆ จากนั้นคลุมเลือกขอมูลเฉพาะตัวเลขในคอลัมนราคาและความถี่ดังภาพที่ 1.20 ภาพที่ 1.20 2. คลิกเลือกแท็บแทรก (Insert) บนแถบเมนูเครื่องมือ > แผนภูมิคอลัมน (Column) > คอลัมนสองมิติ (2-D Column) ตามลําดับ ดังภาพที่ 1.21 ภาพที่ 1.21


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 41 วิทยาลัยชุมชนระนอง 3. จากนั้นจะปรากฏแผนภูมิแทงดังภาพที่ 1.22 แลวคลิกขวาบริเวณแทงแผนภูมิเลือกคําสั่งจัดรูปแบบจุด ขอมูล ภาพที่ 1.22 4. จากนั้นจะปรากฏหนาตางจัดรูปแบบจุดขอมูล > ที่คําสั่งตัวเลือกชุดขอมูล แกไขความกวางของ ระยะหางโดยปรับใหเหลือคาเทากับศูนย (แนะนําปรับคาเทากับ 1 เนื่องจากฮิสโตแกรมจะมีระยะหางของแทง แผนภูมิเล็กนอยทําใหมีความสวยงามกวากรณีปรับคาเทากับ 0) และหากตองการปรับแตงระดับสเกลตัวเลขตาง ๆ หรือสวนประกอบของแผนภูมิก็สามารถทําไดตามที่ตองการ จะไดฮิสโตแกรมดังภาพที่ 1.23 ภาพที่ 1.23


หน้า | 42 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ ขอเสนอแนะในการนําเสนอขอมูลดวยแผนภูมิหรือกราฟ 1. การนําเสนอขอมูลดวยแผนภูมิหรือกราฟ ควรมีรูปแบบที่เรียบงายที่สุด เพื่อการพิจารณาขอมูลจะได ตีความไดชัดเจน หลีกเลี่ยงการตกแตงองคประกอบของแผนภูมิหรือกราฟที่ไมจําเปน 2. ขอมูลการแสดงในแตละแกนของแผนภูมิและกราฟควรเห็นไดชัดเจน โดยเฉพาะคาตัวเลขควรมี ระดับระยะหางของสเกลที่เหมาะสมตอขอมูล และควรมีปายชื่อกํากับแตละแกนของแผนภูมิดวย 3. ขอมูลคาตัวเลขของระดับสเกลในแกนตั้งควรเริ่มตนจากคาศูนยนอกจากนั้นระดับสูงสุดของสเกล ในแกนตั้งไมควรมีคามากกวาหรือแตกตางกันอยางมากกับคาสูงสุดของขอมูล และไมควรบีบอัดหรือขยายระดับ ระยะหางของสเกลในแกนตั้ง ซึ่งอาจจะทําใหเกิดการตีความหมายที่ผิดพลาดของแผนภูมิและกราฟได 4. การนําเสนอดวยแผนภูมิแทง ความกวางของแทงแผนภูมิแตละแทงควรมีความกวางเทากันมีขนาด ที่เหมาะสม และควรเวนระยะหางของแทงขอมูลแตละหมวดหมูของขอมูลเชิงคุณภาพ สรุป จากที่ไดกลาวมา พบวา สถิติถูกนํามาใชในงานธุรกิจทุกดานไมวาจะเปนดานบัญชีการเงิน การผลิต การตลาด และการบริหาร เปนตน เพื่อใหขอมูลที่เก็บรวบรวมมีความนาเชื่อถือมีโอกาสผิดพลาดนอยที่สุด ทําให การตัดสินใจทางธุรกิจมีประสิทธิภาพ ซึ่งประเด็นที่สําคัญนักธุรกิจตองเก็บรวบรวมขอมูลจากแหลงที่นาเชื่อถือ ทันสมัย และดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยนักธรุกิจตองมีความสามารถในการกําหนดปญหา วัตถุประสงคและ วิเคราะหขอมูล โดยกระบวนการเหลานี้ถือไดวานักธุรกิจไดทําการวิจัยไปในตัว และการวิจัยถือไดวาเปนสวน สําคัญในปจจุบันที่จะพัฒนาธุรกิจใหมีความเจริญเติบโตจนสามารถแขงขันธุรกิจในระดับที่ใหญขึ้นไดอยางยั้งยืน สถิติมีความหมายทั้งในเชิงของขอมูล ที่แทนขอเท็จจริงที่เราสนใจ หรือความหมาย ศาสตรที่วาดวย ระเบียบวิธีการทางสถิติประกอบดวย การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การแปลความหมาย และการ นําเสนอขอมูล ซึ่งสถิติศาสตรจําแนกได2 ประเภท คือ สถิติพรรณนา และสถิติอางอิง โดยสถิติพรรณนาเปนสถิติ อธิบายถึงคุณลักษณะของกลุมที่ศึกษาเทานั้น แตกตางกับสถิติอางอิงเปนสถิติที่ใชหลักความนาจะเปนอธิบาย คุณลักษณะของประชากรจากผลการศึกษาจากกลุมตัวอยาง ขอมูล แบงออกไดตามคุณลักษณะของขอมูลเปน 2 ลักษณะ คือ ขอมูลเชิงปริมาณ และขอมูลเชิง คุณภาพ ซึ่งขอมูลเชิงปริมาณเปนการแสดงของตัวเลข และหากแบงตามมาตรการวัด เราสามารถแบงขอมูลเชิง นักศึกษาสามารถศึกษาการติดตั้ง การสร้างฮิสโตแกรมโดยโปรแกรม Excel เพิ่มเติมที่ link: https://www.youtube.com/watch ?v=GCxkpWdBm9w หรือสแกน QR CODE ที่นี่ >>


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 43 วิทยาลัยชุมชนระนอง ปริมาณไดเปน 2 ระดับ คือ ระดับอันตรภาค และระดับอัตราสวน สวนขอมูลเชิงคุณภาพเปนขอมูลไมสามารถ แสดงออกมาในรูปของตัวเลขไดขอมูลจะอยูในรูปขอความ และหากแบงขอมูลเชิงคุณภาพตามมาตรการวัดแบงได เปน 2 ระดับ คือ ระดับนามบัญญัติและระดับเรียงอันดับ ในการศึกษารายวิชาสถิติธุรกิจนั้น ผูเรียนจําเปนตองมีความรูพื้นฐานในทางสถิติคําจํากัดความตาง ๆ เชน ประชากรหมายถึง กลุมของสิ่งที่ตองการศึกษาทั้งหมด สวนกลุมตัวอยางหมายถึง บางสวนของประชากร ซึ่ง นํามาเปนตัวแทนเพื่อศึกษาลักษณะตาง ๆ ของประชากร ตลอดจนผูเรียนทําความเขาในสัญลักษณตาง ๆ ทาง คณิตศาสตรการจัดกระทําขอมูลโดยการแจกแจงความถี่ เปนตน


หน้า | 44 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 1. โดยทั่วไปคนสวนใหญอาจคิดวาคนเลนวิดีโอเกมตองเปนคนหนุมสาวหรือผูมีอายุนอย แตความเปนจริงแลว พบวา “อายุเฉลี่ยของผูเลนวิดีโอเกมคืออายุ 34 ป” (ขอมูลจาก รายงาน Gamers Insight, everydaymarketing.co, มีนาคม 2563) จงอธิบายวา “อายุ 34 ป” นาจะเปนคาที่แทจริงหรือคาประมาณ ของประชากร เพราะเหตุใด 2. จงบอกชนิดคุณลักษณะของขอมูลที่กําหนดใหเปนคุณลักษณะของขอมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ และเปน ขอมูลระดับใดตามมาตรการวัดของขอมูล 2.1 คะแนนผลการแขงขันฟุตบอล 2.2 เชื้อชาติของนักศึกษาในชั้นเรียน 2.3 สวนสูงของนักศึกษา 2.4 สีของรถยนต 2.5 เวลาในการทําขอสอบของนักศึกษา 2.6 จํานวนลูกคาที่มาใชบริการรานอาหาร 2.7 หมายเลขโทรศัพท 2.8 คะแนนทดสอบกอนเรียนของนักศึกษา 2.9 ระดับความพึงพอใจในการใชบริการรานอาหาร 2.10 บานเลขที่ของกลุมตัวอยางที่สํารวจ 3. รานอาหารแหงหนึ่งมุงมั่นพัฒนาการบริการใหกับลูกคา โดยมีการจัดบรรยากาศทางเขารานเพื่อใหลูกคาไดรับ ประสบการณที่ประทับใจ เพื่อเปนการตรวจสอบความพึงพอใจของลูกคาตอการจัดบรรยากาศทางเขาราน จึง ไดทําการสํารวจความพึงพอใจโดยแบงระดับคะแนนความพึงพอใจเปน 5 ระดับ ตั้งแตคะแนน 1 – 5 ซึ่งระดับ คะแนน 1 หมายถึง ไมประทับใจ และระดับคะแนน 5 หมายถึง ประทับใจเปนพิเศษ ผลการสํารวจเปนดังนี้ 4 4 4 5 1 2 5 1 3 4 4 5 5 5 4 2 4 5 5 5 3 3 1 2 2 3 3 5 5 5 2 4 4 3 3 5 3.1 จากขอมูลผลสํารวจจงสรางตารางแจกแจงความถี่และความถี่สัมพัทธ 3.2 จากขอมูลโดยทั่วไปลูกคามีความประทับใจตอบรรยากาศทางเขารานหรือไมจงอธิบาย 4. โดยปกติแลวลูกคาที่มาใชบริการในชองเคานเตอรธนาคารแตละชอง หลังจากใชบริการตองกดปุมประเมิน ความพึงพอใจการใหบริการของเจาหนาที่ธนาคารในชองบริการนั้น ๆ ซึ่งมีระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ คือ ดี


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 45 วิทยาลัยชุมชนระนอง มาก, ดี, พอใช, ตองปรับปรุง และไมพอใจ ซึ่งผลการประเมินความพึงพอใจของเจาหนาที่ธนาคารในชวงเวลา หนึ่งเปนดังนี้ พอใช ดี พอใช ดีมาก ดี ดี ดี ไมพอใจ ดีมาก ดีมาก ไมพอใจ ดี พอใช ดี ดี ดี ดี ไมพอใจ พอใช ดีมาก ดีมาก ดี ดี ดี 4.1 จากขอมูลผลการประเมินความพึงพอใจจงสรางตารางแจกแจงความถี่และความถี่สัมพัทธ 4.2 โดยทั่วไปผลการประเมินความพึงพอใจเปนอยางไร และอธิบายผลการใหบริการของเจาหนาที่ธนาคารมี ลักษณะเปนอยางไร 5. จากการสํารวจความคิดเห็นผูบริหารจากหนวยงานตาง ๆ ในจังหวัดระนอง ในประเด็นความคาดหวังตอ เศรษฐกิจในจังหวัดในรอบ 1 ปนี้มีผลการสํารวจจากกลุมตัวอยางดังนี้ เหมือนเดิม ดีขึ้น เหมือนเดิม แยลง เหมือนเดิม เหมือนเดิม เหมือนเดิม เหมือนเดิม ดีขึ้น เหมือนเดิม เหมือนเดิม เหมือนเดิม ดีขึ้น เหมือนเดิม แยลง เหมือนเดิม ดีขึ้น เหมือนเดิม ดีขึ้น เหมือนเดิม แยลง เหมือนเดิม เหมือนเดิม เหมือนเดิม แยลง 5.1 จากขอมูลผลการสํารวจความคิดเห็นผูบริหารจงสรางตารางแจกแจงความถี่และความถี่สัมพัทธพรอมทั้ง อธิบายความคิดสวนใหญของผูบริหาร 5.2 จากขอมูลจงสรางแผนภูมิวงกลมและแผนภูมิแทง 6. จากการสํารวจประชาชนในจังหวัดระนองจํานวน 2,320 คน หัวขอ “ปจจัยที่สําคัญตอการตัดสินใจเลือกทําเล ที่อยูอาศัย” ซึ่งแสดงความถี่สัมพัทธของขอมูลดังตารางตอไปนี้ ปจจัย ความถี่สัมพัทธ ลักษณะบานดี 0.34 ราคาประหยัด 0.18 ใกลโรงเรียนดัง 0.09 ไมมีอาชญากรรม 0.24 พื้นที่ใชสอย 0.15


หน้า | 46 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ 6.1 จากตารางขอมูลจงสรางตารางความถี่ของขอมูล และหาจํานวนประชาชนที่ตัดสินใจเลือกทําเลที่อยูอาศัย จากปจจัยเรื่องไมมีอาชญากรรม ซึ่งถือไดวาเปนปจจัยที่สําคัญประการหนึ่งในการตัดสินใจเลือกทําเลที่ อยูอาศัย 6.2 จากขอมูลจงสรางแผนภูมิแทงแสดงความถี่ของขอมูล 7. จากการสํารวจสถานที่ยอดนิยมของนักทองเที่ยวจํานวน 356 คน ที่เดินทางมาจังหวัดระนองมีผลการสํารวจ ดังนี้ สถานที่ จํานวน (คน) เกาะพยาม 164 บอนํ้ารอนรักษะวาริน 74 ภูเขาหญา 48 วัดหงาว 37 บอนํ้ารอนพรรั้ง 24 บอนํ้ารอนพรุหลุมพี 9 7.1 จากตารางขอมูลจงสรางตารางแจกแจงความถี่สัมพันธและหาคารอยละของนักทองเที่ยวที่เลือก “เกาะ พยาม” เปนสถานที่ยอดนิยมที่เดินทางมาจังหวัดระนอง 7.2 จากตารางขอมูลจงสรางแผนภูมิแทง 8. มูลคาตลาดรถเชา ปพ.ศ. 2563 ในประเทศไทย (ลานบาท) จําแนกตามบริษัทมีรายไดรวมตามตารางดังตอไปนี้ บริษัท รายไดรวม ภัทรลิสซิ่ง 2,714 ซินเนอรเจติค ออโตเพอรฟอรมานซ 2,563 กรุงไทยคารเรนทแอนดลีส 1,653 ไทยอินเตอรเนชั่นแนล เรนทอะ คาร 730 เฮิรซ ประเทศไทย 627 บัดเจ็ท 469 ที่มา : มูลคาตลาดรถเชา ป2020 มีใครบางเปนผูนําตลาด สืบคนจาก https://www.ecocarthailand.com/blog/rent-a-car-market-2020/ เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2564 8.1 จากตารางขอมูลจงสรางตารางแจกแจงความถี่สัมพันธ 8.2 จากตารางขอมูลบริษัทกรุงไทยคารเรนทแอนดลีส มีรายไดรวมคิดเปนรอยละเทาไรของบริษัททั้งหมด 8.3 จากตารางขอมูลจงสรางแผนภูมิวงกลม 9. มหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง เปดเผยผลสํารวจความคิดเห็นทางออนไลนจากประชาชนจํานวน 1,089 คน เรื่อง "สิ่งที่คนไทยอยากเรียนรูในป 2020" สรุปผลไดตามตาราง ดังนี้


หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติธุรกิจ หน้า| 47 วิทยาลัยชุมชนระนอง เรื่องที่ตองการเรียนรู รอยละ เทคโนโลยี 65.63 การดูแลสุขภาพ 60.11 ความรูในการหารายได 51.47 การแกปญหาเฉพาะหนา/การเอาตัวรอด 47.79 ภาษา 43.29 ที่มา : ผูจัดการออนไลน29 พ.ย. 2563 9.1 จากตารางขอมูลจงสรางแผนภูมิแทงและแผนภูมิวงกลม 9.2 จากตารางขอมูลจํานวนคนที่ตองการเรียนรูเรื่อง “การดูแลสุขภาพ” มีจํานวนเทาไร 10. จากกรณีศึกษารายงานประจําปของบริษัทไนกี้(Nike) ตั้งแตปค.ศ 2000 ถึง 2009 มียอดขายสุทธิดังตาราง จําแนกตามเขตภูมิภาคตาง ๆ (หนวยตอลานดอลลาร) จากขอมูลจงอธิบายวายอดขายสุทธิตามตาราง จงอธิบายสัดสวนขายสุทธิเปลี่ยนแปลงหรือไม ตลอดระยะเวลา 10 ปที่ผานมา พรอมทั้งอธิบายแนวโนมที่เกิดขึ้น ภูมิภาค ยอดขายสุทธิ(ลานดอลลาร) ป2000 ป 2009 สหรัฐอเมริกา 4,732.1 6,542.9 ยุโรป ตะวันออกกลาง และ แอฟริกา 2,350.9 5,512.2 เอเชียแปซิฟก 955.1 3,322.0 ทวีปอเมริกา 550.2 1,284.7 รวม 8,588.3 16,661.8


หน้า | 48 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ (กจ 1011) นิธิพงศ์อนุรักษ์พงศธร สาขาวิชาการจัดการ บรรณานุกรม (พิศาลบุตร, 2548) (กาญจนสำราญวงศU, 2556) (Jaggia และ Kelly, 2013) (คุDมจอหอและคณะ., 2540)


Click to View FlipBook Version