The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Power point การหักค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน และเงินบร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tjaibun.bee, 2022-07-31 21:28:49

Power point การหักค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน และเงินบร

Power point การหักค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน และเงินบร

2หนวยท่ี

การหกั คา ใชจาย คา
ลดหยอน
และเงินบรจิ าค

การหกั คาใชจ า ย

1.

หลกั เกณฑแ ละ
วธิ กี ารหักคา ใชจา ย

วิธีที่ 1 การหกั ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน้ จริงตามความจาํ เป็ นและสมควร หมายถึง
การถอื เอารายจา่ ยที่ได้จ่ายไปจริงโดยมีหลกั ฐานบนั ทึกไว้ชดั เจน และ
เป็ นค่าใช้จ่ายท่ีจาํ เป็นและสมควรต้องจ่าย เช่น ผ้ใู ห้เช่าบ้านจ่ายเงิน
ซือ้ สีมาทาบา้ นที่ให้เช่า เพื่อให้สวยงามน่าอย่อู าศยั และเพื่อให้เนื้อไม้
คงทน หรอื ซือ้ กระเบอื้ งมาซ่อมแซมหลงั คาที่แตกรวั่ เสียหาย



2.

การหักคาใชจา ย
รายการเงินไดพ ึง
ประเมนิ ตามมาตรา
40 (1) และ (2)

01 (1) ผู้มีเงิ นได้สามารถหัก
ค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาได้
คํานวณภาษีเงิ นได้บุคคล ร้อยละ 50 ของเงินได้ แต่
ธ ร รม ด า ก ฎห ม าย ใ ห้ หัก ร ว ม กัน แ ล้ ว ต้ อ ง ไ ม่ เ กิ น
ค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมา ได้ 100,000 บาท
ตามเง่อื นไขที่กาํ หนด ดงั นี้ (2) ในกรณีสามีภริยา ต่าง
ฝ่ ายต่างมีเงินได้และความ
เป็นสามีภริยาได้มีอย่ตู ลอด
ปี ภาษีให้ต่างฝ่ ายต่างหัก
ค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ 50 แต่
ไม่เกินฝ่ ายละ 100,000 บาท

ตวั อย่าง

นายไรวาเป็นคนโสด มีเงินเดือนในปี ภาษี 2562 (ระยะเวลา 1 มกราคม–31 ธนั วาคม 2562)
จาํ นวน 300,000 บาท สามารถหกั ค่าใช้จ่ายและมีเงินได้หลงั หกั ค่าใช้จ่ายเท่าใด
หน่วย : บาท
เงินเดือนปี 2562 จดั เป็นเงินได้พงึ ประเมินประเภทที่ 1 = 300,000
หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ 50 แต่ไม่เกิน 100,000 บาท = 100,000
เงินได้หลงั หกั ค่าใช้จ่ายของนายไรวา = 200,000
*300,000X50% = 150,000 บาท ไมเ่ กิน 100,000 บาท

02

เงินที่นายจ้างจ่ายให้ครงั้ เดียวเพราะเหตุออกจากงาน ตามหลกั เกณฑ์วิธีการและเง่ือนไขท่ี
อธิบดีกาํ หนด ให้คาํ นวณภาษีตามเกณฑใ์ นมาตรา 48 (5) แห่งประมวลรษั ฎากร เป็ นเงินภาษี
ทงั้ สิ้นเท่าใดให้หกั ภาษี ณ ท่ีจา่ ยไวเ้ ท่านัน้

กฎหมายท่ีเกี่ยวกบั เงินที่นายจา้ งจา่ ยให้ครงั้ เดียวเพราะเหตอุ อกจากงาน

01 02 03

ต้องมีระยะเวลาการทาํ งาน เ ฉ พา ะเ งิ น ได้ ท่ี มี ก า ร จ่ า ย เฉพาะกรณี ท่ีผู้มีเงินได้ไม่นํา
ไม่น้อยกวา่ 5 ปี เตม็ ในปี ภาษีแรกเท่านัน้ เงินได้ดงั กล่าวไปรวมคาํ นวณ
ภาษี ตามมาตรา 48 (1) และ
(2)แห่งประมวลรษั ฎากรไม่ว่า
ทงั้ หมดหรือบางส่วน

การคาํ นวณจาํ นวนเงินได้ที่จะนํามาเป็นฐานเพ่อื คาํ นวณหาค่าใช้จา่ ย

01 กรณีได้รบั เงินตาม (ก) และ/หรือ (ข) และ/หรือ (ค) ให้นําเงินได้ที่
ได้รบั ดงั กล่าวมาเป็นฐานเพ่อื คาํ นวณหาค่าใช้จา่ ยได้ทงั้ จาํ นวน
02 ก ร ณี ไ ด้ รั บ เ งิ น ต า ม ( ง ) ใ ห้ นํ า ม า
เปรียบเทียบกบั ผลลพั ธ์ตาม 2.1 และ 2.2
ใ ห้ นํ า ตัว ที่ น้ อ ย ก ว่ า ม า เ ป็ น ฐ า น เ พ่ื อ
คาํ นวณหาค่าใช้จา่ ย

0 กรณีได้รบั เงินตาม (ก) (ข) (ค) แล้วยงั ได้รบั เงินตาม (ง) อีก ให้นําเงินได้ตาม (ก) (ข) (ค)
มาเป็นฐานได้ทงั้ จาํ นวน แต่เฉพาะเงินได้ตาม (ง) ให้นํามาเปรียบเทียบตาม (2) โดยนําตวั

3 ที่น้อยสดุ มารวมกบั เงินได้ตาม (ก) (ข) (ค) มาเป็นฐานเพอ่ื คาํ นวณหาค่าใช้จา่ ย

เงินได้เพราะเหตอุ อกจากงานที่ได้รบั ยกเว้นภาษี

เงินชดเชย เงินช่วยเหลือผซู้ ึ่ง เงินบาํ เหน็จ เงินหรือ
ตามกฎหมาย ออกจากราชการ ดาํ รงชีพ ผลประโยชน์จาก

แรงงาน กองทนุ

3. ในการคํานวณภาษีเงิ นได้บุคคลธรรมดานั้น
กฎหม าย ย อม ให้ หัก ค่ า ใ ช้ จ่ าย ได้ เฉ พา ะเงิ น ได้ ที่
การหกั คาใชจ าย เป็นค่าแห่งลิขสิทธ์ิ โดยให้หกั เป็นการเหมาได้ร้อย
รายการเงนิ ไดพ งึ ละ 50 ของค่าแห่งลิขสิทธ์ิแต่ไม่เกิน 100,000 บาท
ประเมินตามมาตรา 40 และสามารถหกั ค่าใช้จา่ ยได้ตามความเป็นจริง

(3)

4.

การหกั คาใชจา ย
รายการเงินไดพึง
ประเมินตามมาตรา 40

(4)

ในการคาํ นวณภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา กฎหมายไม่ยอมให้หกั ค่าใช้จา่ ยใด ๆ ทงั้ สิ้น
01 ดอกเบยี้ พนั ธบตั ร

02 เงินปันผล เงินส่วนแบ่งของกาํ ไร หรือประโยชน์อ่ืนใด
ที่ได้จากกองทุนรวม (ท่ีเป็ นคณะบุคคล) หรือสถาบนั
การเงินที่มีกฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทย

03 เงินปันผล เงินส่วนแบ่งของกําไรหรือประโยชน์อ่ืนใดท่ีได้จาก
บริษทั หรือห้างห้นุ ส่วนนิติบคุ คลท่ีตงั้ ขึน้ ตามกฎหมายต่างประเทศ

04 เงินปันผล เงินส่วนแบ่งของกาํ ไรหรอื ประโยชน์อ่ืนใดท่ีได้จากบริษทั หรือห้างห้นุ ส่วน
นิติบคุ คลที่ตงั้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย (เฉพาะที่ไม่เลือกเสียภาษีในอตั ราร้อยละ 10)

05 เครดิตภาษีเงินปันผล

06 อ่ืน ๆ ได้แก่ โบนัส เงินลงทนุ เงินเพิ่มทนุ ผลประโยชน์

5.

การหกั คาใชจา ย
รายการเงินไดพึง
ประเมินตามมาตรา 40

(5)

ในการคาํ นวณภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา กฎหมายให้หกั ค่าใช้จ่ายได้ ดงั นี้

1. 2. 3.
การให้เช่าทรพั ยส์ ิน การผิดสญั ญา การผิดสญั ญาซื้อ
เช่าซื้อทรพั ยส์ ิน
ขายเงินผ่อน

6.

การหกั คาใชจา ย
รายการเงินไดพึง
ประเมินตามมาตรา 40

(6)

การคาํ นวณภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา กฎหมายยอมให้เลอื กหกั ค่าใช้จ่ายวิธีใดวิธีหนึ่งดงั นี้

วิธีที่ 1 วิธีท่ี 2 01 เงินได้จากการประกอบวิชาชีพ
02 อิสระ การประกอบโรคศิลปะ
ใ ห้ หั ก ต า ม ให้ หักเป็ นการ ให้หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ 60
ค ว า ม จํา เ ป็ น เหมาดงั ต่อไปนี้ เ งิ น ไ ด้ จ า ก ก า ร ป ร ะ ก อ บ
และสมควร วิชาชีพอิสระนอกจาก 1) หัก
ค่าใช้จา่ ยได้รอ้ ยละ 30

7.

การหกั คาใชจา ย
รายการเงินไดพึง
ประเมินตามมาตรา 40

(7)

ใ น ก า ร คํา น ว ณ ภ า ษี เ งิ น ไ ด้ บุ ค ค ล
ธ ร ร ม ด า ก ฎ ห ม า ย ย อ ม ใ ห้ หัก
ค่าใช้จา่ ยวิธีใดวิธีหนึ่ง ดงั นี้
วิธีที่ 1 ให้หกั ตามความจาํ เป็นและสมควร
วิธีที่ 2 หกั เป็นการเหมาในอตั รารอ้ ยละ 60

8.

การหักคาใชจาย
รายการเงินไดพ ึง
ประเมนิ ตามมาตรา

40 (8)

การคาํ นวณภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา กฎหมายยอมให้เลือกหกั ค่าใช้จ่ายวิธีใดวิธีหน่ึง ดงั นี้

วิธีท่ี 1 วิธีท่ี 2

ให้ หักตามความ หักเป็ นการเหมา
จาํ เป็นและสมควร ใ น อัตร า ร้อ ย ล ะ
ต า ม ที่ ก ฎ ห ม า ย
กาํ หนด

5หนวยท่ี

การหกั
ลดหยอน

1. การหกั ลดหยอ่ น

ความหมาย หมายถึ ง รา ยการต่ าง ๆ ที่ กฎหมายได้
ของการหัก กํา ห น ด ใ ห้ หัก ไ ด้ เ พิ่ ม ขึ้น หลังจ า ก ไ ด้ หัก
ลดหยอน ค่าใช้จ่ายแล้ว เพื่อเป็ นการบรรเทาภาระภาษี
ให้แก่ผู้เสียภาษี ก่อนนําเงิ นได้ที่เหลือซึ่ง
เรียกว่าเงินได้สุทธิไปคาํ นวณภาษีตามบญั ชี
อตั ราภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา

รายการหกั ลดหย่อนมีดงั นี้
01 การหกั ลดหย่อนในกรณีทวั่ ไป
02 การหกั ลดหย่อนในกรณีสามีภริยาต่างฝ่ ายต่างมีเงินได้
03 การหกั ลดหย่อนในกรณีผ้มู ีเงินได้มิได้เป็นผอู้ ย่ใู นประเทศไทย
04 การหกั ลดหยอ่ นในกรณีผมู้ ีเงินได้ถึงแก่ความตายในระหวา่ งปี ภาษี
05 การหกั ลดหยอ่ นในกรณีผมู้ ีเงินได้เป็นกองมรดกที่ยงั ไม่ได้แบง่
06 การหกั ลดหย่อนในกรณีผ้มู ีเงินได้เป็นห้างห้นุ ส่วนสามญั

หรอื คณะบคุ คลท่ีมิใช่นิติบคุ คล

2.

รายการหกั ลดหยอ น

01 รายการหกั ลดหย่อนในกรณีทวั ่ ไป
02 การหกั ลดหย่อนในกรณีสามีภริยาต่างฝ่ ายต่างมีเงินได้
03 การหกั ลดหย่อนในกรณีผมู้ ีเงินได้มิได้เป็นผอู้ ย่ใู นประเทศไทย
04 การหกั ลดหยอ่ นในกรณีผ้มู ีเงินได้ถึงแก่ความตายในระหว่างปี ภาษี
05 การหกั ลดหย่อนในกรณีผ้มู ีเงินได้เป็นกองมรดกที่ยงั ไม่ได้แบง่
06 การหกั ลดหยอ่ นในกรณีผมู้ ีเงินได้เป็นห้างห้นุ ส่วนสามญั

3.

เงินบรจิ าคสนบั สนุน
การศึกษา

เ งิ น บ ริ จ า ค ส นั บ ส นุ น ก า ร ศึ ก ษ า
ได้แก่ เงินท่ีจ่ายเป็ นค่าใช้จ่ายเพื่อ
สนับสนุนการศึกษาหกั ได้ 2 เท่า
ของจาํ นวนเงินท่ีจ่ายไปจริงแต่ไม่
เกินรอ้ ยละ 10 ของเงินได้คงเหลือ

4.

เงินท่จี า ยใหแ กการกฬี า
แหงประเทศไทย

การส่งเสริมสนับสนุนการจดั การแข่งขนั กีฬา หรือการพฒั นานักกีฬาและ
บคุ ลากรด้านกีฬา และใช้สิทธิยกเว้นภาษีอากรตามพระราชกฤษฎีกา ออก
ตามความในประมวลรษั ฎากรว่าด้วยการยกเว้นรษั ฎากร จะต้องบริจาค
เป็ นเงินเท่านัน้ และต้องมีใบเสรจ็ รบั เงิน หรือหลกั ฐานอ่ืนเป็ นหนังสือที่
ออกโดยผู้รบั บริจาค เช่น หนังสือขอบคุณ ใบประกาศเกียรติ คุณ ซ่ึง
หลกั ฐานดงั กล่าวต้องระบจุ าํ นวนเงินที่บริจาคจริง ทงั้ นี้ จาํ นวนเงินบริจาค
ที่เหลือจากการใช้สิทธิในการยกเว้นฯดงั กล่าว ให้มีสิทธิหกั ลดหย่อนเท่า
จาํ นวนเงินที่บริจาค แต่เมื่อรวมกบั เงินบริจาคตามมาตรา 47 (7) แห่ง
ประมวลรษั ฎากรแล้ว ต้องไม่เกินรอ้ ยละ 10 ของเงินได้พึงประเมินหลงั จาก
หกั ค่าใช้จ่ายและหกั ค่าลดหยอ่ นอื่น ๆ แล้ว

5.

การบริจาคเงินภาษี
ใหแกพรรคการเมือง

บุคคลธรรมดาท่ีมีสัญชาติไทย (ไม่รวมถึงห้าง
หุ้นส่วนสามญั หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิ ติบุคคล
และกองมรดกที่ยงั ไม่ได้แบ่ง) สามารถบริจาคเงิน
ภาษี ให้แก่พรรคการเมืองได้ตามมาตรา 58 แห่ง
พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยพรรค
การเมือง โดยแสดงเจตนาบริจาคเงินภาษีให้แก่
พรรคการเมือง พร้อมการยื่นแบบแสดงรายการ
ภาษีประจาํ ปี โดยมีหลกั เกณฑ์ และวิธีการตาม
ประกาศอธิบดีฯ ภาษีเงินได้ ดงั นี้

01 ผมู้ ีเงินได้ เมอ่ื คาํ นวณภาษีตามแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 แล้ว มีเงินภาษีท่ีต้อง
ชาํ ระตงั้ แต่ 100 บาทขนึ้ ไป

02 ผ้มู ีเงินได้ท่ีมีสิทธิบริจาค ต้องแสดงเจตนาไว้ในช่องที่กาํ หนดไว้ในแบบ ภ.ง.ด.90
หรอื ภ.ง.ด.91

03 การแสดงเจตนาบริจาคเงินภาษีให้แก่พรรคการเมืองตาม 2 ห้ามมิให้
นําไปหกั เป็นค่าลดหยอ่ นตามมาตรา 47 แห่งประมวลรษั ฎากร

04 ผ้มู ีเงินได้ซ่ึงมีสิทธิระบุการแสดงเจตนาบริจาคเงินภาษีให้แก่พรรค
การเมอื ง ในแบบ ภ.ง.ด.90 หรอื ภ.ง.ด.91


Click to View FlipBook Version