The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาโปรแกรมนำเสนอ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tirthiphynathwuthi, 2021-09-20 03:32:01

โรคแพนิค

วิชาโปรแกรมนำเสนอ

โรคแพนิค
Panic

โรคแพนิค (Panic Disorder) คอื อะไร มีเกณฑ์การวนิ จิ ฉัยอย่างไร
โรคแพนิค (Panic Disorder) เป็นเรื่องที่เราไดย้ นิ กนั บ่อยข้ึนในสงั คมปัจจุบนั สังเกตได้
จากการท่ีเราใชค้ าวา่ “แพนิค” กนั มากข้ึน เช่น เวลาพดู กบั เพ่อื นท่ีกาลงั ตกใจเมอ่ื เผชิญ
กบั เหตกุ ารณ์ใดเหตุการณ์หน่ึง มกั พดู วา่ “อยา่ แพนิค มีสติเขา้ ไว”้ เป็นตน้
อยา่ งไรกต็ ามเราอาจไม่รู้เลยวา่ แทจ้ ริงแลว้ อาการต่าง ๆ ท่ีบง่ ช้ีวา่ เป็นโรคแพนิคน้นั
ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง แลว้ มีสาเหตุมาจากอะไรไดบ้ า้ ง เราควรปรึกษาแพทยเ์ พอ่ื รักษา
อาการดงั กลา่ วหรือไม่ หรือมีความเส่ียงที่จะเป็นโรคอื่นไดอ้ ีกหรือไม่ ลองอา่ น
บทความน้ีและทาแบบทดสอบเพอ่ื ประเมินเบ้ืองตน้ กนั ดู

โรคแพนิค (Panic Disorder) คอื อะไร ?
โรคแพนิค (Panic Disorder) คือ โรควิตกกงั วลชนิดหน่ึง หรือเรียกวา่ โรคตื่นตระหนก
ผทู้ ี่เป็นมกั มีความรู้สึกกลวั ต่ืนตระหนกเป็นอยา่ งมาก แบบไมค่ าดคิดมาก่อน และ
เกิดข้ึนซ้า ๆ จนส่งผลกระทบตอ่ ชีวติ ประจาวนั และมีความกงั วลวา่ จะเป็นข้ึนมาอีก

ท่านสามารถประเมินตนเองเบือ้ งต้นได้จากแบบทดสอบนี้ ว่ามคี วามกลวั วติ กกงั วล
หรือความอดึ อดั ไม่สบายใจอย่างรุนแรง เกดิ ขนึ้ อย่างรวดเร็ว โดยมีอาการในหวั ข้อ
ต่อไปนี้ ต้งั แต่ 4 อาการขนึ้ ไป ซึ่งอาการในหวั ข้อดงั กล่าว

1. ใจสนั่ ใจเตน้ แรง หรือใจเตน้ เร็วมาก
2. เหงื่อแตก
3. ตวั สัน่ มือเทา้ ส่นั
4. หายใจไมอ่ ่ิม หรือ หายใจขดั
5. รู้สึกอึดอดั หรือแน่นอยขู่ า้ งใน
6. เจบ็ หนา้ อก หรือแน่นหนา้ อก
7. คลื่นไส้ ทอ้ งไสป้ ั่นป่ วน
8. วิงเวียน โคลงเคลง มนึ ต้ือ หรือเป็นลม
9. คร่ันเน้ือคร่ันตวั หนาวสั่น ร้อนวบู วาบ เหมือนจะเป็นไข้
10.รู้สึกชา หรือรู้สึกซ่า ๆ (paresthesia)
11.รู้สึกเหมือนสิ่งรอบตวั เปล่ียนแปลงไป (derealization หรือ depersonalization)
12.กลวั คุมตวั เองไมไ่ ด้ หรือกลวั เป็นบา้
13.กลวั วา่ ตนเองกาลงั จะตาย

สาเหตขุ องโรคแพนิค (Panic Disorder) มีสาเหตุมาจากอะไร?
โรคแพนิคเกิดข้ึนไดใ้ นคนทว่ั ไป เกิดจากไดห้ ลายสาเหตุ ไมส่ ามารถบอกไดว้ า่ เกิด
จากปัจจยั ใดปัจจยั หน่ึง

• สาเหตุทางกาย ไดแ้ ก่
1. ปัจจยั ดา้ นพนั ธุกรรม : ผทู้ ี่มีประวตั ิคนในครอบครัวเป็นโรควติ กกงั วล มีโอกาส

เกิดอาการไดม้ ากกวา่ ผทู้ ่ีไม่มีประวตั ิในเครือญาติ

2. ปัจจยั ดา้ นฮอร์โมนในร่างกาย : ระดบั ฮอร์โมนที่เปล่ียนแปลง อาจทาให้
สารเคมีในสมองเสียสมดุลการทางานของระบบประสาทอตั โนมตั ิผิดปกติไป
เกิดเป็ นโรคแพนิคได้

• สาเหตทุ างจิตใจ ไดแ้ ก่
1. ความเครียด ความวิตกกงั วล พฤติกรรมหลายอยา่ งในชีวติ ประจาวนั เป็นส่วน

หน่ึงท่ีกระตนุ้ ใหเ้ กิดอาการแพนิคได้ เช่น การใชช้ ีวติ ท่ีเร่งรีบ ทางานกบั
หนา้ จอคอมพวิ เตอร์หรืออยกู่ บั มือถือเป็นเวลานาน พกั ผอ่ นนอ้ ย ไมอ่ อกกาลงั
กาย หรือตอ้ งเผชิญกบั สภาวะกดดนั เป็นตน้

2. ผลกระทบทางจิตใจอยา่ งรุนแรง เช่น การสูญเสีย ผดิ หวงั รุนแรง

อาการของโรคแพนคิ (Panic Disorder) มอี ะไรบ้าง
และอาการร่วมกบั โรคอ่นื มีอะไรบ้าง ?

ผปู้ ่ วยท่ีเป็นโรคแพนิค จะมีอาการท่ีเรียกวา่ “panic attack” นนั่ ก็คือกลมุ่ อาการตามท่ี
ปรากฎอยใู่ นแบบทดสอบขา้ งตน้ ต้งั แต่ 4 ขอ้ ข้ึนไป โดยเกิดข้ึนซ้า ๆ อยา่ งคาดการณ์
ไม่ได้ และมีอาการอ่ืน ๆ ต่อเน่ืองจากอาการเหล่าน้นั เป็นเวลานานกวา่ 1 เดือน (หรือ
มากกวา่ ) ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. กงั วลวา่ จะเกิดอาการข้นึ อีกอยตู่ ลอดเวลา
2. กงั วลวา่ อาจเกิดโรคร้ายแรงหรือกงั วลเกี่ยวกบั ผลติดตามมา (เช่น คมุ ตวั เอง

ไม่ได้ เป็นโรคหวั ใจ เป็นบา้ เป็นตน้ )
3. พฤติกรรมเปล่ียนไปอยา่ งชดั เจน เช่น ไม่กลา้ อยคู่ นเดียว เพราะกลวั จะเกิด

อาการข้ึน หรือไม่กลา้ ใชช้ ีวิตประจาวนั ตามปกติท่ีเคยทาเป็นประจา

เน่ืองจากการเกิดอาการอาจมีอาการคลา้ ยกบั โรคอื่นไดห้ ลายอยา่ ง เช่น อาการใจสัน่
หวั ใจเตน้ เร็ว เป็นตน้ จึงจาเป็นตอ้ งตรวจร่างกายเพอ่ื คน้ หาโรคทางดา้ นร่างกายที่อาจ
เป็นสาเหตใุ หม้ ีอาการน้นั ๆ ก่อน เช่น ตรวจคล่ืนหวั ใจ หรือ ส่งเจาะเลือดวดั ระดบั
ไทรอยด์ เป็นตน้

แต่ท้งั น้ี แมว้ า่ ผลการตรวจร่างกายปกตดิ ี กย็ งั ไมส่ ามารถวนิ ิจฉยั ไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ เป็น
โรคแพนิค (Panic Disorder) เนื่องจากวา่ ยงั มีโรคทางจิตเวชอนื่ ๆ สามารถเกิดอาการ
panic attack ไดเ้ ช่นกนั ไดแ้ ก่

• โรคกลวั ท่ีชุมชน หรือ Agoraphobiaกงั วลตอ่ การเขา้ ไปเกี่ยวขอ้ งหรือไปอยใู่ น
สถานท่ีหรือสถานการณ์ที่อาจหลีกเลี่ยงไดล้ าบาก หรืออาจไม่ไดร้ ับการ
ช่วยเหลือ เช่น การออกนอกบา้ นตามลาพงั การอยทู่ า่ มกลางหมคู่ นหรือยนื ต่อ
แถว การอยบู่ นสะพาน และการเดินทางโดยรถเมล์ รถไฟ หรือรถยนต์

• โรคกลวั เฉพาะอยา่ ง หรือ Specific Phobia: กงั วลหรือหวาดกลวั อยา่ งรุนแรงต่อ
การอยใู่ นสถานการณ์ใดสถานการณ์หน่ึงโดยเฉพาะ หรือมีอาการตอ่
สถานการณ์เพยี งไม่กี่สถานการณ์เทา่ น้นั เช่น การข้ึนลิฟท์

• โรคกลวั สงั คม หรือ Social Phobia: กงั วลตอ่ การพบปะผคู้ น อาจรู้สึกประหม่า
หากตอ้ งอยใู่ นสถานการณ์ที่รู้สึกวา่ มีคนจบั จอ้ งมาที่ตนเอง เช่น การพดู ต่อหนา้
ผคู้ นจานวนมาก

• โรคทางจิตเวชอ่ืน ๆ เช่น โรคย้าคิดย้าทา (Obsessive-Compulsive Disorder)
เช่น บางคนหลีกเล่ียงส่ิงสกปรกเน่ืองจากหมกมุ่นกบั การกลวั ติดเช้ือโรค, โรค
เครียดภายหลงั จากเหตกุ ารณ์ร้ายแรง (Posttraumatic Stress Disorder) เช่น
หลีกเล่ียงส่ิงเร้าท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ความกดดนั ท่ีรุนแรงน้นั หรือ โรควติ กกงั วลจาก
การพรากจาก (Separation Anxiety Disorder) เช่น หลีกเล่ียงการห่างจากบา้ น
หรือญาติ รวมท้งั โรคทางอารมณ์ เช่น โรคซึมเศร้า กส็ ามารถเกิด panic attack
ไดเ้ ช่นกนั

หากเป็ นโรคแพนคิ (Panic Disorder) ต้องรักษาอย่างไร ?
โรคแพนิค (Panic disorder) ไม่ไดเ้ ป็นโรคร้ายแรง หรือทาใหม้ อี นั ตรายถึงชีวติ แต่ทา
ใหเ้ กิดความกงั วลกบั ผทู้ ี่เป็น และตอ้ งรักษาหากกระทบกบั การใชช้ ีวติ ประจาวนั ทาให้
ไมส่ ามารถใชช้ ีวติ ไดโ้ ดยปกติ ซ่ึงการรักษาแบ่งออกเป็น 2 วธิ ี คือ

1. การรักษาด้วยยา
เน่ืองจากการเปล่ียนแปลงของสารสื่อประสาทในสมองเป็นสาเหตหุ น่ึงของการเกิด
โรคแพนิค ดงั น้นั การรบั ประทานยา เพื่อไปปรับสมดุลของสารส่ือประสาทใน
สมองจึงมีความจาเป็น และใชเ้ วลาในการรักษาประมาณ 8-12 เดือน โดยข้ึนอยกู่ บั
ปัจจยั กระตนุ้ ใหเ้ กิดโรคของแต่ละบคุ คล จากการศึกษาพบวา่ ประมาณ 1 ใน 3 ของ
ผทู้ ี่เป็นโรคน้ี สามารถหายขาดได้

2. การรักษาทางใจ
คือการทาจิตบาบดั ประเภทปรับความคิดและพฤติกรรม ซ่ึงมีหลายวธิ ี เช่น

• ฝึกหายใจในผปู้ ่ วยที่มีอาการหายใจไมอ่ ่ิม หายใจเขา้ – ออกลึก ๆ ชา้ ๆ เพอื่
เบี่ยงเบนความสนใจจากอาการ โดยหายใจเขา้ ใหท้ อ้ งป่ องและหายใจออกให้
ทอ้ งยบุ ในจงั หวะที่ชา้ ซ่ึงจะทาใหร้ ่างกายค่อย ๆ ปรับตวั หลงั จากน้นั ร่างกายจะ
เริ่มผอ่ นคลายและอาการกจ็ ะค่อย ๆ ดีข้ึนและหายไปเอง

• รู้เทา่ ทนั อารมณ์ของตน ต้งั สติ บอกกบั ตวั เองวา่ อาการที่เกิดข้ึนเป็นแค่เรื่อง
ชว่ั คราว สามารถหายไดแ้ ละไมอ่ นั ตรายถงึ แก่ชีวิต

• การฝึกการคลายกลา้ มเน้ือในผปู้ ่ วยที่มีอาการปวดศรีษะ หรือปวดตึงกลา้ มเน้ือ

• การฝึกสมาธิ

• การฝึกคิดในทางบวก
การรักษาโรคแพนิคน้นั ควรตอ้ งรักษาท้งั สองดา้ นควบคู่กนั ไป โดยการศึกษาวจิ ยั
พบวา่ การรักษาดว้ ยยาควบคู่ไปกบั การรักษาทางดา้ นจิตใจ เป็นการรักษาที่ไดผ้ ลดีท่ีสุด

โรคแพนิค ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางง่ายๆ ผ่าน PR9 Telemedicine
Telemedicine คือ บริการปรึกษาแพทยผ์ า่ นทางออนไลน์ โดยใชเ้ ทคโนโลยกี ารสื่อสาร
มาผนวกกบั การบริการดา้ นสุขภาพ โดยใหบ้ ริการปรึกษาปัญหาสุขภาพแบบ real-time
ระหวา่ งแพทยแ์ ละผปู้ ่ วยโดยท่ีไม่ตอ้ งเดินทางมาโรงพยาบาล

“Health Care You Can Trust
เร่ืองสุขภาพ…ไวใ้ จเรา”

เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือโควดิ 19 ยงั คงน่าเป็นห่วง ซ่ึงอาจส่งผล
ตอ่ ภาวะทางจิตใจ เช่น โรคแพนิค จนส่งผลกระทบต่อสุขภาพดา้ นอ่ืน ๆ ซ่ึงทาง
โรงพยาบาลพระรามเกา้ คานึงถงึ ผรู้ ับบริการเป็นสาคญั โดยมีช่องทางบริการในการ
รักษาดว้ ย “PR9 Telemedicine ไมว่ า่ คุณอยทู่ ่ีไหนก็ปรึกษาหมอได”้ ผา่ นทาง Line
Official Account โดยที่ผรู้ ับบริการสามารถปรึกษาปัญหาทางสุขภาพกบั แพทย์
ผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะทางผา่ น video call ซ่ึงแพทยจ์ ะสามารถวินิจฉยั อาการเบ้ืองตน้ พร้อม
ท้งั ใหค้ าปรึกษาและแนะนาแนวทางการรักษา ตลอดจนการจดั ส่งยาใหแ้ ก่ผรู้ ับบริการ
ถึงบา้ น

“PR9 Telemedicine” จึงเป็นทางเลือกท่ีตอบโจทยช์ ีวิตยคุ new normal ใหผ้ รู้ ับบริการ
อุ่นใจ มน่ั ใจ ปลอดภยั จาก COVID-19 และมีสุขภาพท่ีดีไดแ้ มไ้ มต่ อ้ งเดินทางมา
โรงพยาบาล

สรุป

ในยคุ ปัจจุบนั ท่ีเราอาจใชช้ ีวติ กนั อยา่ งเร่งรีบ และ ตอ้ งเผชิญความเครียดหรือเหตุการณ์
ต่าง ๆ ที่บีบค้นั เรามากข้ึน อาจจะนาไปสู่ความเครียดสะสมที่ส่งผลกระทบกบั จิตใจ
ของเราไดอ้ ยา่ งไม่รู้ตวั ทาใหบ้ างคนมีอาการตา่ ง ๆ เช่น ใจสนั่ ใจเตน้ แรง ซ่ึงมกั ทาให้
ยง่ิ ตกใจมากข้ึน สิ่งท่ีจะช่วยเราไดอ้ ยา่ งแรกคอื ต้งั สติใหไ้ ดม้ ากที่สุด และเม่ืออาการ
ดงั กลา่ วหมดไป ควรรีบไปพบแพทยเ์ พื่อปรึกษาและหาสาเหตุ เพื่อใหเ้ รากลบั มาใช้
ชีวติ ไดอ้ ยา่ งปกติ และไม่ตอ้ งกงั วลใจกบั อาการน้นั ๆ อีก


Click to View FlipBook Version