The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรโรงเรียนบ้านม่วงดง ระดับประถมศึก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรโรงเรียนบ้านม่วงดง ระดับประถมศึก

หลักสูตรโรงเรียนบ้านม่วงดง ระดับประถมศึก



หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



หลกั สตู รโรงเรียนบ้านม่วงดง

พุทธศกั ราช ๒๕๖๒

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ระดับประถมศกึ ษา

สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



คานา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ.
๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาส่ังสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑
ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตรแ์ ละ
วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคาสั่งให้โรงเรียนดาเนนิ การใช้หลักสูตรในปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ โดย
ให้ใช้ในช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ต้ังแต่ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ เปน็ ต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ
โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมี
พัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและ
เป้าหมายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

โรงเรียนบ้านม่วงดง จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและ
พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มี
กระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัด
ประเมินผลใหม้ ีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทา
หลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจน
เพอ่ื ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสสู่ งั คมคณุ ภาพ มีความรู้อยา่ งแทจ้ ริง และมีทักษะ
ในศตวรรษที่ ๒๑

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้วี ัดท่ีกาหนดไว้ในเอกสารนี้ ชว่ ยทาใหห้ น่วยงานท่เี กย่ี วข้อง ในทกุ ระดับเห็น
ผลคาดหวังท่ีต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะสามารถช่วยให้หน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างม่ันใจ ทาให้การจัดทาหลักสูตรในระดับ
สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพย่ิงข้ึน อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเร่ืองการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่
ระดับชาติจนกระท่ังถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีกาหนดไว้ใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รวมท้ังเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม
ผ้เู รยี นทุกกลุ่มเป้าหมายในระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

การจัดหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พื้นฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ ทุกฝ่าย ทเี่ กี่ยวข้อง
ท้ังระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรบั ผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ใน
การวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่
คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนร้ทู ี่กาหนดไว้

(นายอนันต์ รามโคตร)
ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบ้านม่วงดง

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

สารบญั ๔

เร่ือง หน้า
ประกาศโรงเรยี น
คานา ๑
ความนา ................................................................................................................................... ๓
วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ และเป้าหมาย ............................................................................................... ๔
สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น ....................................................................................................... ๕
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ........................................................................................................ ๖
มาตรฐานการเรียนรู้ ................................................................................................................ ๗
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………… ๑๖
โครงสร้างเวลาเรียน ................................................................................................................ ๒๔
รายวชิ าของโรงเรียน ................................................................................................................. ๒๗
คาอธบิ ายรายวิชา ……………………………………………………………………………………………………… ๒๘
๓๔
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ........................................................................................... ๔๒
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ....................................................................................... ๕๒
กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ....................................................................................... ๗๗
กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม .................................................... ๘๔
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา ........................................................................ ๙๑
กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ .................................................................................................. ๙๘
กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี .............................................................. ๑๑๑
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษ ....................................................................................... ๑๑๒
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ................................................................................................................ ๑๑๒
กจิ กรรมแนะแนว ................................................................................................................ ๑๑๓
กจิ กรรมนักเรียน ................................................................................................................. ๑๑๔
กิจกรรมชุมนมุ …………………………………………………………………………………………………….. ๑๑๕
กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ...........................................................................
แนวทางการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ...............................................................................

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



ความนา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ.
๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑
ลงวนั ท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคาส่ังให้โรงเรียนดาเนนิ การใช้หลกั สูตรในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ โดย
ให้ใช้ในชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ และ ๔ ตั้งแต่ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ เปน็ ต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ
โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมี
พัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายและ
เปา้ หมายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

โรงเรียนบ้านม่วงดง จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและ
พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มี
กระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัด
ประเมินผลให้มีความสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการจดั ทา
หลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางทช่ี ัดเจน
เพ่ือตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จริง และมี
ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในเอกสารน้ี ช่วยทาให้หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ในทุกระดับเห็น
ผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะสามารถช่วยให้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทาให้การจัดทาหลักสูตรในระดับ
สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพย่ิงข้ึน อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเร่ืองการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังน้ันในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่
ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมท้ังเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม
ผู้เรยี นทกุ กล่มุ เปา้ หมายในระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

การจัดหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่าย ท่ี
เกี่ยวข้องท้ังระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ และ
ต่อเนื่อง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรงุ แก้ไข เพ่ือพัฒนาเยาวชนของ
ชาติไปสคู่ ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู้ ี่กาหนดไว้

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านม่วงดงคร้ังนี้ได้ดาเนินการเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย
ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดอุดรธานี เขต ๒ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตาม
นโยบาย ๑๕+๑ ประกอบด้วย (๑) อ่านออก เขียนได้ (๒) คิดเลขเร็ว (๓) การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือ
การส่ือสาร (๔) สะเต็มศึกษา (STEM Education) (๕) การยกระดับผลสัมฤทธ์ิคุณภาพนักเรียน (๖) ค่านิยม
หลัก ๑๒ ประการ (๗) การพัฒนาครูทั้งระบบครบวงจร (๘) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้วย Active
Learning (๙) ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (๑๐) ลดอัตราการออกกลางคัน (๑๑) เศรษฐกิจพอเพียง
(๑๒) การกระกันคุณภาพการศึกษา (๑๓) การวัดผลประเมินผล (๑๔) การแนะแนว (๑๕) ลูกเสือเข้มแข็ง
และ (๑๖) โรงเรียนสวย ห้องเรียนงาม ผู้เรียนคุณภาพ ตั้งแต่ปีกาศึกษา ๒๕๖๑ ให้มีประสิทธิภาพและบรรลุ
เปา้ หมายต่อไป

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมาย

วสิ ยั ทศั น์
ภายในปี ๒๕๖๔ โรงเรียนบ้านมว่ งดง ม่งุ เนน้ พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีมาตรฐานดา้ นความรพู้ ้นื ฐานโดดเดน่

ดา้ นการคิด มจี ิตรักการใฝร่ ู้ เน้นครสู ผู่ ู้เรยี นเปน็ สาคญั บริหารร่วมสร้างสรรค์ สมั พนั ธช์ มุ ชน ประสทิ ธผิ ล
หลกั สตู ร เชดิ ชูคณุ ธรรม นอ้ มนาเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัติ
พนั ธกิจ

๑. จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะท่ีจาเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา
๒. จัดกจิ กรรมสง่ เสริมให้ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ
แก้ปัญหาได้อยา่ งมสี ตสิ มเหตผุ ล
๓. จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนมที กั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรยี นรู้ และพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่อง
๔. ส่งเสรมิ และพัฒนาสถานศึกษาให้มกี ารจดั หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รยี น
เป็นสาคัญ
๕. สง่ เสริมและพฒั นาใสถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นอยา่ งหลากหลายและ
ใช้แหล่งเรียนรู้

เปา้ หมาย
๑. ผู้เรยี นมีความร้แู ละทักษะท่จี าเป็นตามหลกั สูตรสถานศึกษา
๒. ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คดิ สร้างสรรค์ ตดั สินใจ แกป้ ญั หาได้

อยา่ งมีสติสมเหตผุ ล
๓. ผู้เรยี นมีทักษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รักเรียนรู้ และพฒั นาตนเองต่อเนื่อง
๔. สถานศกึ ษามีการจัดหลักสตู รและกระบวนการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ
๕. ครูจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั
๖. สถานศกึ ษามีการใช้แหล่งเรยี นรู้พฒั นาคุณภาพผู้เรียนอย่างค้มุ ค่า
๗. ผมู้ ีสว่ นเก่ียวข้องทกุ ฝ่ายมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๘. สถานศกึ ษามีสภาพแวดลอ้ ม เอ้ือต่อการเรียนรู้ มคี วามสะอาด รม่ ร่ืน และมีความปลอดภยั

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรโรงเรียนบ้านม่วงดง พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งเน้นพัฒนาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานท่ี
กาหนด ซ่งึ จะช่วยให้ผู้เรยี นเกิดสมรรถนะสาคัญและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้

สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน
หลกั สตู รโรงเรียนบา้ นมว่ งดง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มุ่งใหผ้ เู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังน้ี
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก
เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ท่ีมีประสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง
และสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความร้หู รือสารสนเทศเพื่อ
การตัดสินใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีกาตัดสินใจทีม่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบที่เกดิ ขน้ึ ตอ่ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน
ชวี ิตประจาวนั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนอื่ ง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้าง
เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทัน
กบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเล่ียงพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อ
ตนเองและผอู้ น่ื

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การ
แก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
หลักสูตรโรงเรียนบ้านม่วงดง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน

พุทธศักราช ๒๕๕๑ ม่งุ พฒั นาผู้เรยี นให้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผ้อู ่ืนในสังคมได้อยา่ ง
มีความสขุ ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี

๑. รักษช์ าติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซือ่ สัตยส์ จุ รติ
๓. มีวินยั
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง
๖. มุ่งมนั่ ในการทางาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มีจติ เป็นสาธารณะ

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐

มาตรฐานการเรียนรู้

การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จงึ กาหนดใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ดังนี้

๑. ภาษาไทย
๒. คณิตศาสตร์
๓. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๔. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๕. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
๖. ศิลปะ
๗. การงานอาชีพ
๘. ภาษาตา่ งประเทศ
ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนา คุณภาพ
ผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งท่ีผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยม ที่ พึงประสงค์เม่ือ
จบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรยี นรู้ยงั เป็นกลไกสาคัญ ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศกึ ษาท้ัง
ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรจู้ ะสะทอ้ นให้ทราบว่าตอ้ งการอะไร จะสอน อย่างไร และประเมินอยา่ งไร รวมทั้ง
เป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคณุ ภาพการศึกษาโดย ใช้ระบบการประเมินคณุ ภาพภายในและการ
ประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขต พ้ืนท่ีการศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการ
ตรวจสอบเพื่อประกันคณุ ภาพดังกลา่ วเปน็ สงิ่ สาคญั ท่ี ชว่ ยสะทอ้ นภาพการจัดการศกึ ษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้
มีคุณภาพตามท่ีมาตรฐานการเรียนรกู้ าหนดเพียงใด
หลักสูตรได้มีการกาหนดรหสั กากับมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้ีวดั เพื่อความเขา้ ใจและใหส้ ่อื สารตรงกัน
ดงั นี้ (ตวั อย่าง)

ท ๑.๑ ป. ๑/๒
ท กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานขอ้ ที่ ๑
ป. ๑/๒ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ตวั ช้ีวดั ข้อท่ี ๒

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐานกาหนดมาตรฐานการเรยี นร้ใู น ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
จานวน ๕๗ มาตรฐาน ดงั น้ี

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

สาระท่ี ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใชต้ ัดสินใจ

แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชวี ติ และมีนสิ ยั รกั การอา่ น
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี น เขียนสื่อสาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขียน

เรื่องราวในรปู แบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงาน
การศกึ ษาค้นควา้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรูส้ กึ ในโอกาสต่างๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และสร้างสรรค์
สาระที่ ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็น
สมบตั ิของชาติ
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทย
อยา่ งเหน็ คุณค่าและนามาประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

สาระท่ี ๑ จานวนและพชี คณิต
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของ

จานวน ผลท่ีเกิดข้ึนจากการดาเนินการ สมบัตขิ องการดาเนนิ การ และนาไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสมั พันธ์ ฟงั ก์ชนั ลาดับและอนกุ รม และนาไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน้ พิ จน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสมั พนั ธ์ หรอื ชว่ ยแกป้ ญั หาท่ี

กาหนดให้
หมายเหตุ: มาตรฐาน ค ๑.๓ สาหรบั ผเู้ รียนในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ – ๖
สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพ้นื ฐานเก่ียวกบั การวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่ ท่ีตอ้ งการวดั และนาไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบตั ิของรูปเรขาคณิต ความสัมพนั ธร์ ะหว่างรปู

เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนาไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๓ เข้าใจเรขาคณติ วิเคราะห์ และนาไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๔ เขา้ ใจเวกเตอร์ การดาเนนิ การของเวกเตอร์ และนาไปใช้
หมายเหตุ: ๑. มาตรฐาน ค ๒.๑ และ ค ๒.๒ สาหรับผ้เู รยี นในระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ถึง

ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓
๒. มาตรฐาน ค ๒.๓ และ ค ๒.๔ สาหรับผูเ้ รียนในระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ทเี่ นน้

วิทยาศาสตร์
สาระท่ี ๓ สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น
มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามร้ทู างสถติ ิในการแกป้ ัญหา
มาตรฐาน ค ๓.๒ เข้าใจหลักการนับเบ้ืองต้น ความน่าจะเปน็ และนาไปใช้
หมายเหตุ: ค ๓.๒ สาหรับผู้เรียนในระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๓

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงไมม่ ชี วี ิตกบั สิง่ มชี ีวิต

และความสมั พนั ธร์ ะหว่างสง่ิ มชี ีวิตกับสิ่งมีชวี ิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอด
พลงั งานการเปล่ียนแปลงแทนทีใ่ นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หา
และผลกระทบท่ีมตี ่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ กั ษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาส่งิ แวดล้อมรวมท้ังนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัตขิ องสิ่งมีชีวติ หนว่ ยพน้ื ฐานของส่งิ มชี ีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจาก
เซลล์ ความสมั พันธข์ องโครงสร้าง และหน้าท่ขี องระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษย์
ทที่ างานสมั พนั ธ์กนั ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ทข่ี องอวัยวะต่าง ๆ
ของพชื ทท่ี างานสัมพันธ์กันรวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางานพนั ธุกรรม
สารพันธกุ รรม การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรมทม่ี ผี ลต่อสง่ิ มชี ีวติ ความหลากหลาย
ทางชีวภาพและววิ ฒั นาการ ของส่ิงมีชวี ิตรวมทง้ั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๑.๑– ว ๑.๓ สาหรบั ผเู้ รียนในระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถงึ ระดับชัน้ มัธยมศึกษา
ปีที่ ๓ และผู้เรยี นในระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ – ๖ ทไ่ี ม่เนน้ วทิ ยาศาสตร์
สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสาร
กับโครงสรา้ งและแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการ
เปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ติ ประจาวนั ผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคล่อื นทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลีย่ นแปลงและการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธ์
ระหว่างสสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ิตประจาวนั ธรรมชาติของคลนื่ ปรากฏการณ์
ที่เก่ยี วข้องกบั เสยี ง แสง และคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมทง้ั นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๒.๑ – ว ๒.๓ สาหรบั ผู้เรียนในระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถงึ ระดับช้ันมธั ยมศึกษา
ปีท่ี ๓ และผเู้ รียนในระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ – ๖ ทไ่ี ม่เนน้ วทิ ยาศาสตร์
สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษ์และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏสิ ัมพนั ธ์ภายในระบบสุรยิ ะท่สี ง่ ผลต่อสงิ่ มชี ีวิตและ
การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๔

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองคป์ ระกอบและความสัมพันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายใน
โลก และบนผวิ โลก ธรณีพบิ ัติภัย กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศและ
ภมู อิ ากาศโลก รวมท้ังผลต่อ สิ่งมีชวี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม

หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๓.๑ – ว ๓.๒ สาหรบั ผเู้ รียนทกุ คนในระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ถงึ ระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ และผเู้ รยี นในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๔ – ๖ ทไี่ มเ่ นน้ วิทยาศาสตร์
สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พ่ือการดารงชวี ติ ในสงั คมทม่ี ีการเปลีย่ นแปลง

อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์
อน่ื ๆ เพอ่ื แก้ปญั หา หรือ พฒั นางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรคด์ ว้ ยกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบ
ตอ่ ชีวติ สังคม และส่งิ แวดล้อม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการแกป้ ัญหาที่พบในชีวิตจรงิ อย่างเปน็ ขั้นตอนและ
เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรยี นรู้ การทางาน และ
การแก้ปญั หาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ รู้เทา่ ทัน และมีจริยธรรม

หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๔.๑ สาหรับผู้เรียนในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๕

กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื

ศาสนาทต่ี นนบั ถือและศาสนาอน่ื มศี รัทธาที่ถูกต้อง ยึดมน่ั และปฏิบตั ติ าม
หลักธรรม เพอ่ื ยู่ร่วมกันอยา่ งสันติสขุ
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจ ตระหนกั และปฏิบัตติ นเป็นศาสนกิ ชนที่ดีและธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา
หรอื ศาสนาทตี่ นนับถือ
สาระที่ ๒ หน้าท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และการด เนนิ ชวี ิตในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏบิ ัตติ นตามหนา้ ทีข่ องการเป็นพลเมืองดี มคี ่านยิ มทดี่ ีงาม
และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวติ อย่รู ่วมกันใน
สังคมไทย และสงั คมโลกอยา่ งสนั ตสิ ุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจั จบุ ัน ยดึ ม่ัน ศรัทธาและธารงรักษา
ไวซ้ งึ่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลติ และการบริโภค
การใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธภิ าพและค้มุ ค่า รวมท้งั เข้าใจ
หลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อการดารงชีวติ อย่างมดี ลุ ยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกจิ และ
ความจาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระท่ี ๔ ประวัตศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรม์ าวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพฒั นาการของมนษุ ยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในดา้ นความสมั พันธ์และ
การเปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ
วเิ คราะห์ผลกระทบทีเ่ กิดขน้ึ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจความเปน็ มาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาไทย มีความรัก ความภมู ใิ จ
และธารงความเป็นไทย
สาระท่ี ๕ ภูมศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา้ ใจลกั ษณะของโลกทางกายภาพ และความสมั พันธข์ องสรรพสิง่ ซง่ึ มีผลต่อกัน
ใช้แผนทีแ่ ละเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ ในการคน้ หาขอ้ มลู วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมูล
ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างมนุษย์กับส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพทก่ี ่อให้เกดิ
สรา้ งสรรค์วิถกี ารดาเนินชวี ิต มจี ติ สานกึ และมีส่วนร่วมในการจดั การทรัพยากร
ทางธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม เพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๖

กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา

สาระที่ ๑ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์
สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครวั
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คณุ คา่ ตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษา และมที ักษะในการดาเนินชีวติ
สาระท่ี ๓ การเคล่อื นไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และ กีฬา
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลงั กาย การเล่นเกม และการเลน่ กีฬา ปฏิบัติเปน็ ประจาอย่าง

สมา่ เสมอ มวี ินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มีน้าใจนักกีฬามจี ติ วิญญาณในการ
แขง่ ขัน และชื่นชมในสุนทรยี ภาพของการกีฬา
สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพและการป้องกนั โรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสขุ ภาพ การดารงสขุ ภาพ การป้องกันโรค
และการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชวี ิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ปอ้ งกันและหลกี เลี่ยงปัจจัยเส่ยี ง พฤติกรรมเส่ยี งต่อสุขภาพ อบุ ัตเิ หตุ
การใชย้ าสารเสพตดิ และความรนุ แรง

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๗

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทศั นศลิ ปต์ ามจินตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์

วเิ คราะหว์ พิ ากษ์วจิ ารณ์คุณค่างานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดต่อ
งานศลิ ปะอย่างอสิระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหว่างทศั นศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่างาน
ทศั นศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ภมู ิปัญญาไทยและสากล
สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณค์ ณุ คา่
ดนตรถี ่ายทอดความรูส้ กึ ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใ์ ช้
ในชีวติ ประจาวนั
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ
ดนตรที เ่ี ป็น มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ภูมิปัญญาไทยและสากล
สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณค์ ุณค่า
นาฏศลิ ป์ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ช้
ในชวี ติ ประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คา่ ของ
นาฏศิลป์ที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๘

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี

สาระท่ี ๑ การดารงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง ๑.๑ เขา้ ใจการทางาน มีความคดิ สร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทางาน

ทกั ษะการจัดการ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทกั ษะการท างานรว่ มกนั
และทกั ษะ การแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทางาน
มีจติ สานกึ ในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อม เพ่ือการดารงชวี ติ
และครอบครัว

สาระที่ ๒ การอาชีพ
มาตรฐาน ง ๒.๑ เขา้ ใจ มที กั ษะทจ่ี าเป็น มปี ระสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชพี

ใชเ้ ทคโนโลยี เพอ่ื พฒั นาอาชพี มีคณุ ธรรม และมีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๙

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

สาระท่ี ๑ ภาษาเพื่อการสอ่ื สาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสอ่ื ประเภทต่างๆ และแสดงความ

คิดเห็นอยา่ งมเี หตผุ ล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มที ักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมลู ข่าวสาร แสดงความรสู้ กึ

และความคิดเหน็ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข้อมูลขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรอื่ งต่างๆ โดย

การพูดและการเขยี น
สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งภาษากบั วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา และนาไปใช้

ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา้ ใจความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของ

เจ้าของภาษากบั ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อยา่ งถกู ต้องและ
เหมาะสม
สาระท่ี ๓ ภาษากบั ความสัมพนั ธก์ ับกลุ่มสาระการเรียนรู้อน่ื
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการเชื่อมโยงความรกู้ ับกลมุ่ สาระการเรียนรู้อน่ื และ เป็น
พน้ื ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทัศนข์ องตน
สาระที่ ๔ ภาษากบั ความสัมพนั ธก์ บั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทง้ั ในสถานศึกษา ชมุ ชน และสังคม
มาตรฐาน ต ๔.ป๒ ใช้ภาษาตา่ งประเทศเปน็ เครื่องมือพืน้ ฐานในการศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพและ
การแลกเปล่ยี นเรยี นร้กู บั สงั คมโลก

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๐

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นบ้านมว่ งดง

กล่มุ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรียน (ช่ัวโมง/ปี)
ระดับประถมศกึ ษา
 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖

๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

- ศาสนาศีลธรรม จรยิ ธรรม

- หนา้ ทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
และการดาเนนิ ชีวิตในสังคม

- เศรษฐศาสตร์

- ภมู ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
 ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ศิลปะ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชีพ
ภาษาตา่ งประเทศ

รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐

 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
 กิจกรรมแนะแนว

 กจิ กรรมนักเรียน

- ลกู เสอื -เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

- ชุมนมุ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐

 กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
 รายวิชา/กจิ กรรมทสี่ ถานศกึ ษาจัดเพิ่มเตมิ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

ตามความพร้อมและจดุ เน้น บูรณาการ

กิจกรรมเพิ่มเวลารู้

รวมเวลาทง้ั หมด จานวน ๑๐๔๐ ชวั่ โมง/ปี

หมายเหตุ วิชาหน้าที่พลเมอื ง จัดเป็นรายวชิ าเพิม่ เตมิ แต่จดั การเรยี นการสอน โดยบูรณาการลงสู่
กิจกรรมทโ่ี รงเรียน ดาเนนิ การอยแู่ ลว้ โดยไม่เพิ่มชัว่ โมงเรยี น ได้แก่ กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมกฬี าสี กิจกรรม
ประเพณี กิจกรรม ลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด เป็นต้น เพือ่ ปลูกฝงั ให้เกดิ การปฏบิ ตั แิ ละกลายเป็นพฤติกรรม
ในชีวติ ประจาวนั

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๑

จานวนช่ัวโมงท่ีจัดใหน้ ักเรียนระดับประถมศึกษา ( ป.๑-ป.๓ ) เรยี นทั้งปี เท่ากับ ๑,๐๔๐ ชั่วโมง ระดบั ช้ัน
ประถมศึกษา ( ป.๔-ป.๖ ) เท่ากับ ๑,๐๔๐ ช่ัวโมง แผนการเรียนรู้/จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนท่ีต้องการเน้นเป็น
พิเศษ คือกลุ่มสาระการเรียนรู้ทักษะภาษาไทย คณิตศาสตร์ เพ่ือพัฒนาการ อ่านออก เขียนได้ ทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ที่ดี มีประโยชน์ มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน
โดยจดั การเรียนการสอนและวดั ผลประเมนิ ผลเปน็ รายปี

ในระดับช้นั ประถมศึกษาปที่ ี่ ๑ - ๓ โรงเรยี นได้จดั สาระภาษาอังกฤษเป็นสาระเพ่มิ เติมจานวน ๒ ช่ัวโมง
ตอ่ สัปดาห์ (๘๐ช่ัวโมง/ปี) เพื่อใหเ้ วลาเรียนครบตามหลกั สูตร และเพ่ือพฒั นาทักษะการใชภ้ าษาองั กฤษเพอื่ การ
สอ่ื สาร การสอนเสริมประสบการณ์พเิ ศษเพื่อเพม่ิ ศกั ยภาพนักเรยี น ในระดับชน้ั ประถมศึกษาปี่ท่ี ๑ - ๓ ใน
กลมุ่ สาระภาษาไทยและคณติ ศาสตร์ เพอื่ พฒั นาการ อ่านออก เขียนได้ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การ
คิดเลขเรว็ คิดวเิ คราะห์ คดิ สังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ที่ดีมีประโยชน์ โดยบรู ณาการในช่ัวโมงเรยี นอย่างนอ้ ย ๑
ช่วั โมง/สปั ดาห์

ในระดับชั้นประถมศึกษาปี่ที่ ๔ - ๖ โรงเรียนได้จัดสาระภาษาอังกฤษและเป็นสาระเพ่ิมเติมจานวน ๑
ชว่ั โมงต่อสัปดาห์ (๔๐ชั่วโมง/ปี) และเพ่ือพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร และวิชาหน้าท่ีพลเมือง
๑ ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ โดยจัดบูรณาการกับสาระสังคมฯ และบูรณากับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมท่ีโรงเรียน
ไดแ้ ก่ กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมกีฬาสี กจิ กรรมประเพณี กิจกรรม ลูกเสอื เนตรนารี เป็นต้น เพื่อปลูกฝังให้
เกดิ การปฏบิ ัตแิ ละกลายเป็นพฤติกรรมในชีวติ ประจาวัน

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๒

โรงเรยี นบา้ นมว่ งดงกาหนดกรอบโครงสร้างหลกั สตู รจาแนกเปน็ รายช้นั ปดี งั น้ี

โครงสร้างหลกั สูตรช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑

รหสั กล่มุ สาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลาเรียน(ชม./ปี)
รายวชิ าพนื้ ฐาน (๘๔๐)
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐
ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐
รายวิชาเพ่ิมเติม ๘๐
อ ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๘๐
กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น (๑๒๐)
แนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนกั เรียน
๔๐
ลูกเสือ เนตรนารี ๓๐

ชมุ นุม ๑๐
กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑ ๑,๐๔๐

รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด

หมายเหตุ บูรณาการหน้าที่พลเมอื งในกลมุ่ สาระสงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นาธรรม

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๓

โครงสรา้ งหลกั สูตรชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๒

รหัส กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรียน(ชม./ปี)
รายวชิ าพ้นื ฐาน (๘๔๐)
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐
ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐
พ ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑๒๐
รายวชิ าเพมิ่ เติม ๘๐
อ ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๘๐
กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น (๑๒๐)
แนะแนว ๔๐
กิจกรรมนักเรยี น
๔๐
ลกู เสอื เนตรนารี ๓๐

ชุมนมุ ๑๐
กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๒ ๑,๐๔๐

รวมเวลาเรยี นทั้งหมด

หมายเหตุ บรู ณาการหน้าที่พลเมอื งในกล่มุ สาระสังคมศึกษาศาสนาและวฒั นาธรรม

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

โครงสร้างหลกั สูตรชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๒๔

รหัส กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรียน
(ชม./ป)ี
ท ๑๓๑๐๑ รายวชิ าพน้ื ฐาน (๘๔๐)
ค ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ว ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐
ส ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ส ๑๓๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐
พ ๑๓๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ ๘๐
ศ ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
ง ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
อ ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
ภาษาอังกฤษ ๔๐
ส ๑๓๒๐๑ ๑๒๐
รายวิชาเพ่ิมเติม ๘๐
ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ๘๐
(๑๒๐)
กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น ๔๐
แนะแนว
กิจกรรมนักเรียน ๔๐
๓๐
ลูกเสือ เนตรนารี ๑๐
๑,๐๔๐
ชุมนมุ
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๓

รวมเวลาเรียนท้ังหมด

หมายเหตุ บรู ณาการหน้าที่พลเมืองในกล่มุ สาระสังคมศึกษาศาสนาและวฒั นาธรรม

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๕

โครงสรา้ งหลักสตู รชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔

รหัส กล่มุ สาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ป)ี
รายวิชาพ้ืนฐาน (๘๔๐)
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐
ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๘๐
รายวชิ าเพิ่มเติม ๘๐
ส ๑๔๒๓๒ หนา้ ที่พลเมือง ๔ ๔๐
อ ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น (๑๒๐)
แนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนกั เรียน
๔๐
ลกู เสือ เนตรนารี ๓๐

ชุมนมุ ๑๐
กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๔ ๑,๐๔๐

รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด

หมายเหตุ บูรณาการหน้าที่พลเมืองในกลมุ่ สาระสงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนาธรรม

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

โครงสร้างหลักสตู รช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ ๒๖

รหัส กลุ่มสาระการเรียนรู้/กจิ กรรม เวลาเรยี น(ชม./ปี)
รายวชิ าพืน้ ฐาน (๘๔๐)
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐
ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐
ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ศ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐
รายวิชาเพม่ิ เติม ๔๐
ส ๑๕๒๓๕ หนา้ ที่พลเมือง ๕ ๔๐
อ ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น (๑๒๐)
แนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนกั เรยี น
๔๐
ลูกเสือ เนตรนารี ๓๐
๑๐
ชมุ นุม ๑,๐๔๐
กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๕

รวมเวลาเรยี นท้งั หมด

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

โครงสร้างหลักสตู รช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ๒๗

รหสั กลุ่มสาระการเรียนรู้/กจิ กรรม เวลาเรยี น(ชม./ปี)
รายวชิ าพืน้ ฐาน (๘๔๐)
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐
ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐
ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐
รายวิชาเพม่ิ เติม ๘๐
ส ๑๖๒๓๖ หนา้ ที่พลเมือง ๖ ๔๐
อ ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น (๑๒๐)
แนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนกั เรยี น
๔๐
ลูกเสือ เนตรนารี ๓๐
๑๐
ชมุ นุม ๑,๐๔๐
กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๖

รวมเวลาเรยี นท้งั หมด

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๘

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวิชาของโรงเรียนบ้านมว่ งดง
รายวิชาพ้ืนฐาน
จานวน ๒๐๐ ช่วั โมง
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชัว่ โมง
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย

กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
รายวชิ าพนื้ ฐาน จานวน ๒๐๐ ชวั่ โมง
จานวน ๒๐๐ ช่วั โมง
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ช่วั โมง
ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์

กลุ่มสาระการเรยี นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน ๘๐ ชั่วโมง
รายวชิ าพื้นฐาน จานวน ๘๐ ชัว่ โมง
จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน ๑๒๐ ชั่วโมง
ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน ๑๒๐ ชั่วโมง
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน ๑๒๐ ชวั่ โมง
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๙

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
รายวิชาพนื้ ฐาน จานวน ๘๐ ชั่วโมง
จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษาฯ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษาฯ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ จานวน ๔๐ ชัว่ โมง
ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์
ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ช่วั โมง
รายวชิ าเพิม่ เตมิ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
ส ๑๔๒๓๔ หนา้ ทีพ่ ลเมือง ๔
ส ๑๕๒๓๕ หน้าทพ่ี ลเมือง ๕ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๖๒๓๖ หนา้ ที่พลเมือง ๖ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา จานวน ๘๐ ช่ัวโมง
รายวชิ าพื้นฐาน จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ
พ ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาฯ
พ ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ
พ ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ
พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ
พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๐

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
รายวิชาพนื้ ฐาน จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ จานวน ๘๐ ชัว่ โมง
ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ
ศ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
จานวน ๔๐ ชั่วโมง
กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
รายวิชาพ้ืนฐาน จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ จานวน ๑๒๐ ชัว่ โมง
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี จานวน ๑๒๐ ชัว่ โมง
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ จานวน ๑๒๐ ชั่วโมง
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ จานวน ๘๐ ชวั่ โมง
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
จานวน ๘๐ ช่วั โมง
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ(องั กฤษ)
รายวิชาพน้ื ฐาน จานวน ๘๐ ชัว่ โมง
จานวน ๘๐ ชวั่ โมง
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จานวน ๘๐ ช่วั โมง
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ
รายวชิ าเพิ่มเตมิ
อ ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสาร ๑
อ ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร ๒
อ ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ๓
อ ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร ๔
อ ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๕
อ ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร ๖

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๑

คาอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ๓๒
รหสั วิชา ท ๑๑๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง

ศึกษาคา คาคล้องจอง และข้อความส้ันๆ ความหมายของคาและข้อความท่ีอ่าน เคร่ืองหมาย หรือ
สัญลักษณ์สาคัญที่มักพบเห็นในชวี ิตประจาวัน โดยการอ่านออกเสียง บอกความหมาย ตอบคาถาม เล่าเรื่องย่อ
คาดคะเนเหตุการณ์ และนาเสนอเกี่ยวกบั เร่ืองท่ีอ่าน อ่านหนังสอื ตาม ความสนใจอยา่ งสม่าเสมอ และมีมารยาท
ในการอ่าน

ศึกษากระบวนการเขียนสอ่ื สาร โดยการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนส่ือสารดว้ ยคาและประโยค
งา่ ยๆ อย่างมีมารยาทในการเขยี น

เลือกฟัง ดู และพูดแสดงความรู้ ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการฟังคาแนะนา คาส่ังง่ายๆ และปฏิบัติ
ตาม ตอบคาถาม เล่าเร่ือง พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดส่ือสารตามวตั ถุประสงค์ และมีมารยาทในการฟัง
การดู และการพดู

ศึกษาพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เลขไทย คาและความหมายของคา ประโยค คาคล้องจอง โดยการเขียน
สะกดคา บอกความหมายของคา เรยี บเรียงคาเปน็ ประโยคงา่ ย ๆ และตอ่ คาคล้องจองงา่ ยๆ

ศกึ ษาวรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อยกรองสาหรบั เด็ก บทอาขยาน และบทร้อยกรอง โดยการบอกขอ้ คดิ ทไี่ ด้
จากการอา่ นหรือการฟัง ท่องจาบทอาขยานตามท่กี าหนด และบทร้อยกรองตามความสนใจ

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใชก้ ับชวี ิตประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน ๓๓
รหัสวิชา ท ๑๒๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคาและ
ข้อความที่อ่าน ต้ังคาถาม ตอบคาถาม ระบุใจความสาคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน
เหตกุ ารณ์ เลอื กอ่านหนังสอื ตามความสนใจอยา่ งสมา่ เสมอและนาเสนอเรอ่ื งท่ีอา่ น อา่ นข้อเขยี นเชงิ อธบิ าย และ
ปฏบิ ัติตามคาสง่ั หรอื ข้อแนะนา มีมารยาทในการอา่ น

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเร่ืองส้ันๆ เก่ียวกับประสบการณ์ เขียนเร่ืองส้ันๆ ตาม
จินตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น

ฝกึ ทักษะการฟงั ฟังคาแนะนา คาส่ังที่ซับซอ้ นและปฏิบัติตาม เลา่ เร่อื ง บอกสาระสาคัญของเรื่อง ตั้ง
คาถาม ตอบคาถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สกึ พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวตั ถุประสงค์ มีมารยาทใน
การฟงั การดูและการพดู

ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
เรียบเรียงคาเปน็ ประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลักษณะคาคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ

ฝึกจับใจความสาคัญจากเร่ือง ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสาหรับเด็ก เพื่อ
นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ร้องบทร้องเล่นสาหรับเด็กในท้องถ่ิน ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อย
กรองทม่ี คี ุณคา่ ตามความสนใจ

โดยใช้ทกั ษะการอ่าน การเขยี น และการฟัง การดูและการพูด เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เห็นคณุ ค่า
ของการอา่ น การเขยี น มีมารยาทในการอ่าน การเขยี น การฟัง ดแู ละพูด สามารถนาความรู้ ขอ้ คดิ ท่ีได้ ไปใชใ้ น
ชีวิตจรงิ ได้จนเกิดความภาคภูมใิ จในภาษาไทย

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตัวชว้ี ัด

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๔

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน

รหสั วิชา ท ๑๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

ศกึ ษา การอา่ นออกเสยี งคา ขอ้ ความส้ันๆ บทรอ้ ยกรองง่ายๆ การอา่ นบทอาขยานการอ่านความหมาย
ของคาและขอ้ ความ การอ่านหนังสอื ตามความสนใจ การอ่านข้อเขยี นเชงิ อธบิ าย การอา่ นวรรณกรรม การ
อา่ นสะกดคา การอา่ นประโยคง่ายๆ การอ่านคาคล้องจอง การอ่านคาขวัญ การเขียนคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทดั การเขยี นสะกดคา การแตง่ ประโยคงา่ ยๆ การแต่งคาขวัญ การแต่งคาคลอ้ งจองการเขยี นบรรยาย
เรื่อง การเขียนบันทึกประจาวัน การเขยี นรายงานจากการคน้ ควา้ การเขียนจดหมายลาครู การเขยี นจด
หมายถงึ เพ่อื นและบดิ ามารดา การเขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการ การเลา่ รายละเอยี ดเกย่ี วกบั เร่อื งที่ได้ฟงั และดู
การตงั้ คาถามและตอบคาถามเกี่ยวกบั เรอ่ื งทีไ่ ดฟ้ ังและดู การพดู แสดงความคิดเหน็ และความรูส้ กึ ที่ได้ฟังและดู
การพดู ส่ือสารได้ชดั เจน การเขียนสะกดคา

โดยใช้ทักษะทางภาษาในส่ิงที่ฟัง ดูและพูด สามารถจับใจความสาคัญได้อย่างถูกต้อง แสดงความ
คิดเห็นจากเร่ืองท่ีฟังและดู มีทักษะในการเขียน เขียนได้ถูกต้อง สวยงาม มีระเบียบ สื่อความได้รู้หลักเกณฑ์
การเขียนและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ได้ อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง ชัดเจนตามหลักเกณฑ์การอ่านสามารถตั้ง
คาถามและตอบคาถาม เล่าเร่ืองท่ีอา่ นได้ เพื่อให้ไดค้ วามรู้ ความเข้าใจ ความบันเทิง และความคิดจากสงิ่ ทีไ่ ด้
อ่าน ฟงั ดูและเขียน นาความรูไ้ ปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั เกิดความภาคภมู ิใจในภาษาไทย

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัวช้วี ดั

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน ๓๕
รหัสวชิ า ท ๑๔๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง เรื่องส้ัน ความหมายของคา ประโยค สานวน การอ่านจับ
ใจความสาคัญ การแยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเหน็ คาดคะเนเหตกุ ารณ์ สรุปความรู้และข้อคดิ เหน็ จากเร่ืองท่ีอา่ น
มารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด การเขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง
ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดพัฒนางานเขียน การเขียนย่อความ การ
เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา การเขียนบันทึก การเขียนรายงาน การเขียนเรื่องตามจินต นาการ
มารยาทในการเขียน การจาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น การพูดสรปุ ความ การพูดแสดงความรู้ ความคดิ เห็น
และความรู้สึก การพูดรายงาน การต้ังคาถามและตอบคาถาม มารยาทในการฟัง การดูและการพูด การสะกด
คาและบอกความหมายของคา ชนิดและหน้าท่ีของคา การใช้พจนานุกรม การแต่งประโยค การแต่งบทร้อย
กรอง และคาขวัญ สานวน สุภาษิต คาพังเพย ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน การอ่านนิทานพ้ืนบ้านและ
นิทานคตธิ รรม การร้องเพลงพ้นื บ้าน การท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรอง
มีความรคู้ วามเข้าใจ หลักการใชภ้ าษาอย่างถกู ตอ้ ง

โดยใช้ทักษะการอ่าน สร้างความรู้และความคิด ใช้ทักษะการฟัง ดู พูดอย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์ ใช้ทักษะการเขียนส่ือสารอย่างมีประสิทธิภาพ และมีมารยาทในการเขียน ใช้ทักษะการฟัง ดู พูด
อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์มีความรู้ความเข้าใจ หลกั การใช้ภาษาอย่างถกู ต้อง มีมารยาทในการฟัง การดู
และการพดู มีนิสยั รกั การอ่าน เหน็ คุณคา่ ของวรรณคดี วรรณกรรมและภูมปิ ญั ญาไทย

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ชว้ี ัด

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน ๓๖
รหัสวชิ า ท ๑๕๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง

การอ่านเสียงบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ถูกตอ้ ง การอธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความ
ทเี่ ป็นการบรรยาย และการการแยกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คิดเห็นจากเรอ่ื งทอี่ ่าน การวิเคราะห์และแสดงความคดิ เห็น
เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน การอ่านหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
การเขียนส่อื สารเหมาะสมการ เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิด การเขยี นจดหมายถึงผ้ปู กครองและ
ญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น การพูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องท่ีฟังและดู
ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล การบอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย เขียนสะกดคาและ
บอกความหมายของคา เขียนเรียงความเป็นประโยคง่ายๆ ต่อคาคล้องจองง่าย ๆ การสรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือ
วรรณกรรมท่ีอ่าน การอธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด การเขียนย่อ
ความจากเรอื่ งทอ่ี ่าน ไดต้ รงตามเจตนา กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ เขียนเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ

โดยใช้กระบวนการคิด ทักษะการสื่อสาร สรุปวิเคราะห์ข้อมูลจากเรื่องและส่ือต่าง ๆ อย่างมีมารยาท
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจสามารถส่ือสารส่งิ ท่ีเรียนรู้ มนี ิสัยรักการอ่าน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การ
ฟัง การดู และการพดู เห็นคณุ คา่ วรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถน่ิ รกั ความเป็นไทย

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชี้วดั

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ๓๗
รหัสวชิ า ท ๑๖๑๐๑ รายวิชา ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้ว ร้อยกรอง การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากเรือ่ งท่ีอา่ นการอธบิ ายการนา
ความรู้และความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตอธิบายความหมายของข้อมูลจากการ
อ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับอธิบายความหมาย
ของคา ประโยค และข้อความท่ีเป็นโวหาร การอ่านเรื่องส้ัน ๆ อย่างหลากหลาย การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสื่อสาร การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง การ เขียนเรียงความการ เขียนย่อความ การ
เขียนจดหมายส่วนตัว การกรอกแบบรายการต่าง ๆ การเขียนตามจินตนาการ การพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจ
การต้ังคาถาม ถามตอบเชิงเหตุผล การพูดรายงาน การวิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ีของคา การใช้คาได้เหมาะสมกับ
กาลเทศะ การบอกความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย การระบุลักษณะของประโยคการ แต่ง
บทร้อยกรอง สานวน สุภาษิต คาพังเพย การแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี วรรณกรรมการ เล่านิทานพื้นบ้าน
มาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ การท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรอง

โดยใช้กระบวนการคิด ทักษะการส่ือสาร สรุปวิเคราะห์ข้อมูลจากเร่ืองและสื่อต่าง ๆ อย่างมีมารยาท
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจสามารถส่ือสารสงิ่ ที่เรียนรู้ มนี ิสัยรกั การอ่าน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การ
ฟัง การดู และการพดู เหน็ คุณค่าวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิน่ รกั ความเปน็ ไทย

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวชว้ี ัด

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๘

คาอธบิ ายรายวชิ า
กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน ๓๙
รหสั วิชา ค ๑๑๑๐๑ รายวิชาคณติ ศาสตร์
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

ศกึ ษา ฝกึ ทักษะการคดิ คานวณและฝกึ แกป้ ัญหา จานวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจานวนสิ่ง
ต่าง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับท่ีหลัก ค่าของเลขโดดใน
แตล่ ะหลัก และเขียนแสดงจานวนในรูปกระจาย เปรียบเทยี บจานวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐ และ ๐ โดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย =
≠ > < เรยี งลาดับจานวนต้ังแต่ 3 ถงึ 5 จานวน และหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก
การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ความยาวและน้าหนัก สร้าง
โจทย์ปัญหาพร้อมท้ังแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐
ระบุจานวนท่ีหายไปในแบบรูปของจานวนท่ีเพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละ๑ ทีละ ๑๐ รูปท่ีหายไปในแบบรูปซ้าของรูป
เรขาคณิตและรูปอื่น ๆ ทส่ี มาชกิ ใน แต่ละชุดที่ซา้ มี ๒ รูป วัดและเปรียบเทยี บความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร
น้าหนกั เป็นกิโลกรัมเป็นขีด และใชห้ นว่ ยทีไ่ ม่ใชห่ นว่ ยมาตรฐาน จาแนกรูปสามเหล่ียม รูปสเี่ หล่ยี ม วงกลม วงรี ทรง
สี่เหล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
เมือ่ กาหนดรูป ๑ รูปแทน ๑ หน่วย

โดยการจัดประสบการณ์หรอื สร้างสถานการณ์ท่ีใกล้ตัว ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยปฏิบัติจริง ทดลอง
สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคานวณ การแกป้ ัญหา การใหเ้ หตุผล การสือ่ ความหมาย
ของคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ
และใช้ชีวิตประจาวนั อย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีตอ่ คณิตศาสตร์ สามารถทางานอยา่ งเป็น
ระบบระเบยี บ รอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารญาณ และเชือ่ ม่ันในตนเอง

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑

รวมทั้งหมด ๕ มาตรฐาน ๑๐ ตัวชวี้ ัด

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ๔๐
รหสั วิชา ค ๑๒๑๐๑ รายวิชาคณิตศาสตร์
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

ศกึ ษา ฝึกทกั ษะการคิดคานวณและฝึกแกป้ ัญหา จานวนนบั ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจานวน
สิ่งต่าง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับท่ีหลัก ค่าของเลขโดด
ในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้
เครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลาดับจานวนนับไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ ต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จานวน และหาคา่ ของตัว
ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบของจานวนนบั ไมเ่ กิน
๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกับจานวนไม่เกิน
๒ หลัก และประโยคสญั ลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวตั้งไมเ่ กิน ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลกั โดยท่ีผลหารมี ๑ หลกั ทั้งหาร
ลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับเวลาที่มีหน่วยเด่ียวและเป็นหน่วยเดียว วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมทั้ง
แสดงวิธีการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและ
เปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมท้ังแสดงวิธีการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการ
บวกการลบเกี่ยวกับนา้ หนกั ทม่ี ีหน่วยเปน็ กิโลกรัมและกรัม กิโลกรมั และขีด วัดและเปรียบเทยี บปริมาตรและความ
จุเป็นลิตร จาแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยมและวงกลม ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบ
ของโจทยป์ ัญหา เม่ือกาหนดรูป ๑ รปู แทน ๒ หน่วย ๕ หน่วยหรือ ๑๐ หนว่ ย

โดยการจัดประสบการณ์หรือสรา้ งสถานการณ์ทใ่ี กลต้ ัวใหผ้ ู้เรยี นไดค้ ้นคว้าโดยปฏิบตั ิจริง ทดลอง สรปุ
รายงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะ/กระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปญั หา การให้เหตุผล การนาประสบการณ์ ทกั ษะ
กระบวนการที่ได้ไปใชใ้ นการเรียนรสู้ งิ่ ตา่ งๆ ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั อย่างสรา้ งสรรค์ เหน็ คุณคา่ และมีเจตคติท่ีดีต่อ
คณติ ศาสตร์ สามารถทางานอยา่ งเปน็ ระบบระเบยี บรอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ การวดั ผลและประเมนิ ผลใช้
วธิ กี ารหลากหลายตามสภาพความเปน็ จริงของเนื้อหา และทกั ษะทีต่ ้องการวดั

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวมทั้งหมด ๔ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ชว้ี ดั

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน ๔๑
รหสั วิชา ค ๑๓๑๐๑ รายวิชาคณติ ศาสตร์
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียน
เศษส่วนที่แสดงปริมาณสง่ิ ต่าง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกาหนด เปรียบเทียบเศษส่วนท่ีตัวเศษเท่ากัน
โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ
ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการคณู ของจานวน ๑
หลักกับจานวนไม่เกนิ ๔ หลกั และจานวน ๒ หลกั กับจานวน ๒ หลัก หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์
แสดงการหารที่ตัวต้ังไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนและแสดงวิธีการ
หาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดงวิธีหาคาตอบ
ของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบพร้อมท้ังแสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปัญหาการลบของเศษส่วนที่มตี ัวส่วนเท่ากัน ระบุจานวนท่ีหายไปในแบบรูปของจานวนที่เพิ่มขึ้น
หรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน เวลาและระยะเวลา เลือกใช้เครื่องมือ
ความยาวท่ีเหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งต่าง ๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร
คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวและแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับระหว่างเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้
เครอ่ื งช่ังท่ีเหมาะสม วดั และบอกน้าหนักเป็นกิโลกรมั และขดี กิโลกรัมและกรมั คาดคะเนน้าหนักเป็นกโิ ลกรัมและ
เป็นขีด เปรียบเทียบน้าหนักและแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั น้าหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับกรัม
เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เคร่ืองตวงท่ีเหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุ
เป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุเป็นลิตรและ
มิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพและใช้ข้อมูล
จากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เขยี นตารางทางเดียวจากข้อมูลที่เปน็ จานวนนับและใช้ข้อมูล
จากตารางทางเดียวในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ทใ่ี กลต้ วั ใหผ้ ู้เรียนไดค้ น้ คว้าโดยปฏิบัตจิ ริง ทดลอง สรุป
รายงานเพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การใหเ้ หตุผล การนาประสบการณ์ ทกั ษะ
กระบวนการทีไ่ ด้ไปใชใ้ นการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ไปใชใ้ นชีวิตประจาวันอยา่ งสรา้ งสรรค์ เหน็ คุณคา่ และมเี จตคติท่ีดีต่อ
คณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบยี บรอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ การวัดผลและประเมนิ ผลใช้
วธิ กี ารหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเน้ือหา และทักษะที่ต้องการวดั

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๒

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑,
ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวมทั้งหมด ๕ มาตรฐาน ๒๘ ตัวชี้วดั

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ๔๓
รหัสวชิ า ค ๑๔๑๐๑ รายวิชาคณิตศาสตร์
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

ศึกษา ฝึกทักษะการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับที่
มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมทั้งเปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่าง
ๆ บอก อ่านและเขียนเศษส่วน จานวนคละแสดงปริมาณสง่ิ ต่าง ๆ และแสดงสิ่งตา่ ง ๆ ตามเศษส่วน จานวนคละท่ี
กาหนด เปรียบเทยี บ เรียงลาดับเศษสว่ นและจานวนคละที่ตัวส่วนตัวหน่ึงเปน็ พหูคูณของอีกตวั หน่ึง อา่ นและเขียน
ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยมที่กาหนด เปรียบเทียบและเรียงลาดับทศนิยม
ไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบการคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ อย่าง
สมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบของจานวนนับท่ีมากกว่า
๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจานวนหลายหลัก ๒ จานวน ที่มีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก และแสดงการหารที่
ตวั ต้ังไมเ่ กิน ๖ หลัก ตวั หารไม่เกิน ๒ หลกั หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนับ และ ๐ แสดงวิธี
หาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอน
ของจานวนนับ และ ๐ พร้อมทั้งหาคาตอบ หาคาตอบและแสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบของ
เศษส่วนและจานวนคละที่ตัวส่วนตัวหน่ึงเป็นพหูคูณของอีกตัวหน่ึง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ๓
ตาแหน่ง และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การลบ ๒ ขน้ั ตอนของทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตาแหน่ง

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปสีเ่ หลยี่ มมุมฉาก จาแนกชนิดของมุม บอกช่ือมุม
ส่วนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สร้างรูปส่ีเหล่ียมมุมฉากเมื่อกาหนดความยาวของด้าน และใช้
ขอ้ มูลจากแผนภมู แิ ทง่ ตารางสองทางในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑,

ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวมทั้งหมด ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ช้ีวดั

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๔

คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
รหสั วิชา ค ๑๕๑๐๑ รายวิชาคณิตศาสตร์ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

เขียนเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจานวนคละ
แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษสว่ น ๒ ขัน้ ตอน หาผลคูณของทศนยิ ม ที่
ผลคณู เป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง หาผลหารท่ีตัวตั้งเปน็ จานวนนบั หรอื ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และตัวหาร
เป็นจานวนนบั ผลหารเปน็ ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหนง่ แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว น้าหนัก ที่มีการเปล่ียนหน่วยและเขียนในรูป
ทศนิยม แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรของทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรง
สีเ่ หลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรปู ของรูปสี่เหลี่ยมและพนื้ ทขี่ องรูปสเี่ หล่ียมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงท่ีกาหนดให้ จาแนกรูปส่ีเหล่ียมโดย
พิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปส่ีเหลี่ยมชนิดต่าง ๆ เม่ือกาหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือเมื่อ
กาหนดความยาวของเส้นทแยงมุม และบอกลักษณะของปริซึม ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทย์
ปญั หา และเขยี นแผนภูมแิ ท่งจากข้อมูลที่เป็นจานวนนับ

โดยการจัดประสบการณ์หรือสรา้ งสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยปฏิบัติจริง ทดลอง
สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการ
เรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์
สามารถทางานอยา่ งเป็นระบบระเบยี บ รอบคอบ มคี วามรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและเชอ่ื มั่นในตนเอง

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวมทั้งหมด ๔ มาตรฐาน ๑๙ ตวั ช้ีวัด

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ๔๕
รหสั วชิ า ค ๑๖๑๐๑ รายวิชาคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

เปรียบเทียบ เรียงลาดับ เศษส่วนและจานวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ
เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจานวนนับ หา
อัตราส่วนท่ีเท่ากับอัตราส่วนที่กาหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับไม่เกิน ๓ จานวน แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เก่ียวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของ
เศษส่วนและจานวนคละ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจานวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หาผลหาร
ของทศนิยมท่ีตัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ข้ันตอน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาอัตราส่วน ปัญหาร้อยละ ๒ – ๓
ขน้ั ตอน แสดงวิธีคดิ และหาคาตอบของปญั หาเก่ียวกับแบบรปู

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบด้วยทรงส่ีเหลี่ยมมุม
ฉาก และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั ความยาวรอบรูปและพื้นทข่ี องรปู หลายเหลย่ี ม ความยาวรอบ
รูปและพน้ื ทข่ี องวงกลม จาแนกรปู สามเหล่ียมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสามเหลีย่ มเมื่อกาหนดความ
ยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติท่ี
ประกอบจากรูปคลี่และระบุรูปคล่ีของรูปเรขาคณิตสามมิติ ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปวงกลมในการหาคาตอบของ
โจทยป์ ญั หา

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยปฏิบัติจริง ทดลอง
สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการ
เรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์
สามารถทางานอยา่ งเปน็ ระบบระเบยี บ รอบคอบ มคี วามรับผิดชอบ มวี ิจารณญาณและเชอ่ื มั่นในตนเอง

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔,ป.๖/๕,ป.๖/๖,ป.๖/๗,ป.๖/๘,ป.๖/๙,ป.๖/๑๐,ป.๖/๑๑ป.๖/๑๒
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวมท้ังหมด ๕ มาตรฐาน ๒๑ ตวั ชี้วัด

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๖

คาอธบิ ายรายวชิ า
กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี

คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

รหัสวิชา ว๑๑๑๐๑ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ฯ ๔๗
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ศึกษา วิเคราะห์พืชและสัตวท์ ี่อาศัยอยู่บริเวณต่างๆที่ได้จากการสารวจบอกสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมใน
บริเวณท่ีพืชและสัตว์อาศยั อยใู่ นบรเิ วณท่ีสารวจบรรยายลักษณะและบอกหน้าที่ส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์ สัตว์
และพืชรวมทั้งบรรยายการทาหน้าที่ร่วมกันของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์ในการทากิจกร รมต่างๆจากข้อมูลท่ี
รวบรวมได้ ตระหนักถึงความสาคัญของส่วนต่างๆของร่างกายของตนเองและการดูแลสว่ นต่างๆอย่างถูกต้องและ
ปลอดภัยอธิบายสมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุที่ทาจากวัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิง
ประจักษ์ ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุตามสมบัติท่ีสังเกตได้ บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคล่ือนที่
ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ระบุดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวนั และกลางคนื จากขอ้ มลู ท่ีรวบรวม
ได้ อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็นดวงดาวส่วนใหญ่ในเวลากลางวันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายลักษณะ
ภายนอกของหินจากลกั ษณะเฉพาะตวั ทีส่ งั เกตได้

ศึกษาและฝกทักษะในการแกปญหา โดยใชข้ันตอนการแกปญหาอยางงาย การแสดงข้ันตอนการ
แกป้ ัญหาโดยการเขยี นบอกเลา วาดภาพ หรอื ใชสัญลกั ษณ การเขียนโปรแกรมอยางงาย โดยใชซอฟตแวรหรือส่ือ
การใชงานอุปกรณเทคโนโลยีเบ้ืองตน การใชงานซอฟตแวรเบื้องตน การสรางจัดเก็บและเรียกใชไฟลตามวัตถุ
ประสงคการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภัย ขอปฏิบัติในการใชงานและการดแู ลรักษาอุปกรณ การใชงาน
เทคโนโลยสี ารสนเทศอยางเหมาะสม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ
อภิปรายและอธบิ าย

เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่เี รียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นา
ความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕

รวมทั้งหมด ๗ มาตรฐาน ๑๕ ตัวชวี้ ดั

คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

รหสั วชิ า ว๑๒๑๐๑ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ฯ ๔๘
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ระบุวา่ พืชต้องการแสงและน้าเพ่ือการเจริญเติบโตโดยใช้ข้อมลู จากหลักฐานเชิงประจักษ์ตระหนักถึงความ
จาเป็นท่ีพืชต้องการได้รับน้าและแสงเพื่อการเจริญเติบโตโดยดูแลพืชให้ได้รับส่ิงดังกล่าวอย่างเหมาะสม สร้าง
แบบจาลองทบ่ี รรยายวัฏจกั รชีวิตของพืชดอก เปรียบเทียบลกั ษณะสิง่ มีชวี ติ และสงิ่ ไมม่ ชี วี ิตจากข้อมูลที่รวบรวมได้
เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับน้าของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทาวัสดุในชีวิตประจาวัน อธิบายสมบัติที่นาวัสดุมา
ผสมกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์การนามาทาเป็นวัสดุในการใช้งานการนากลับมาใช้ใหม่ตระหนักถึงประโยชน์
ของการนาวสั ดุที่ใชแ้ ล้วกลบั มาใชใ้ หม่ บรรยายแนวทางการเคลื่อนทข่ี องแสงจากแหล่งกาเนิดแสงและอธิบายการ
มองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักในการเห็นคุณค่าของความรู้ของการมองเห็นโดยเสนอแนะแนว
ทางการป้องกันอันตรายจากการมองเห็นวัตถุในท่ีมีแสงสว่างไม่เหมาะสม ระบุส่วนประกอบของดินและจาแนก
ชนดิ ของดินโดยใชล้ ักษณะเนือ้ ดินและการจับตัวเปน็ เกณฑ์ อธิบายการใช้ประโยชน์จากดนิ จากขอ้ มูลที่รวบรวมได้

ศึกษาและฝกทักษะในการแกปญหา โดยใชขั้นตอนการแกปญหาอยางงาย การแสดงข้ันตอนการ
แกป้ ัญหาโดยการเขียนบอกเลา วาดภาพ หรือใชสัญลักษณ การเขยี นโปรแกรมอยางงาย โดยใชซอฟตแวรหรือส่ือ
และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมปรับแก้ไขใหไ้ ด้ผลลัพธต์ ามท่ีกาหนด การใชง้ านอุปกรณ์เทคโนโลยเี บื้องต้น
การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องตน้ การสรา้ ง จดั เกบ็ และเรียกใชไ้ ฟลต์ ามวัตถปุ ระสงค์ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ ง
ปลอดภยั ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการใชง้ านและการดูแลรกั ษาอุปกรณ์ การใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างเหมาะสม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบคน้ ขอ้ มูล การ
อภิปรายและอธบิ าย

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
นาความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมท่เี หมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ว ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔

รวมท้ังหมด ๖ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ชีว้ ัด

คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

รหสั วชิ า ว๑๓๑๐๑ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ฯ ๔๙
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๘๐ ชั่วโมง

บรรยายสิ่งท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิตและการเจริญเติบโตโดยใช้ข้อมูลจากท่ีรวบรวมได้ ตระหนักถึง

ประโยชน์ของอาหาร น้าและอากาศโดยการดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รับส่ิงเหล่าน้ีอย่างเหมาะสม สร้าง

แบบจาลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของสตั ว์และเปรียบเทยี บวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิดคุณค่าของชีวิตสัตว์โดยไม่

ทาให้วัฏจักรชีวิตของสัตว์เปลี่ยนแปลง อธิบายว่าวัตถุประกอบกันเป็นวัตถุช้ินใหม่ได้โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์

อธิบายการเปล่ียนแปลงของวัสดุเมื่อทาให้ร้อนข้ึนหรือทาให้เย็นลงโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ระบุผลของแรง

เปล่ยี นแปลงการเคลื่อนที่ของวตั ถจุ ากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ เปรยี บเทยี บและยกตัวอย่างแรงสมั ผสั และแรงสัมผสั ที่

มีผลต่อการเคลื่อนท่ีการจาแนกวัตถุโดยใช้การดึงดูดกับแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ระบุข้ัวแม่เหล็กและพยากรณ์ผลที่

เกิดขึ้นระหว่างขั้วแม่เหล็กเม่ือนามาเข้าใกล้กันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ยกตัวอย่างการเปลี่ยนพลังงานหน่ึงไป

เป็นอกี พลงั งานหน่งึ การทางานของเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้าและระบแุ หลง่ พลงั งานในการผลติ ไฟฟ้าประโยชนข์ องไฟฟ้า

โดยการนาเสนอวิธกี ารใชอ้ ย่างประหยัดและปลอดภยั

อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึน้ ละตกของดวงอาทติ ยก์ ารเกดิ กลางวนั กลางคืนและการกาหนดทิศโดยใช้

แบบจาลองตระหนกั ถึงความสาคญั ของดวงอาทิตยป์ ระโยชน์ของดวงอาทติ ย์ต่อสงิ่ มชี วี ติ

ศกึ ษาและแสดงอัลกอรทิ ึมในการแก้ปัญหาอยา่ งง่าย โดยการเขียน บอกเลา่ วาดภาพ หรอื ใช้สัญลกั ษณ์

การเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่ายโดยใช้ซอฟตแ์ วรห์ รือสอื่ ตรวจหาข้อผดิ พลาดของโปรแกรมปรับแกไ้ ขใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์

ตามท่กี าหนด ใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตคน้ หาความรู้ รวบรวม ประมวลผล และนาเสนอขอ้ มลู ไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ การใช้

เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์ การใช้งานเทคโนโลยี

สารสนเทศอยา่ งเหมาะสม

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ

อภปิ รายและอธบิ าย

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ

นาความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและค่านิยมทเ่ี หมาะสม

รหัสตัวช้ีวดั

ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓

ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕

รวมทั้งหมด ๗ มาตรฐาน ๒๕ ตวั ชี้วัด

คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

รหสั วิชา ว๑๔๑๐๑ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ฯ ๕๐
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง

บรรยายหน้าที่ของราก ลาต้น ใบและดอกของพืชดอกโดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้ จาแนกส่ิงมีชีวิตโดยใช้
ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิต ออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์
จาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้ จาแนกสัตวอ์ อกเป็น
สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้
บรรยายลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทน้าสะเทินบก กลุ่ม
สัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วยนม และตัวอย่างสิ่งมีชีวติ ในแต่ละกลุ่ม เปรียบเทียบสมบัติทาง
กายภาพ ด้านความแข็ง สภาพยืดหยนุ่ การนาความร้อนและการนาไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จาก
การทดลองและระบุการนาสมบัติเร่ืองความแข็งสภาพยืดหยุ่นการนาความร้อนและการนาไฟฟ้า ของวัสดุไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันผ่านกระบวนการออกแบบชิ้นงาน แลกเปลี่ยนความคิดกับผู้อื่นโดยการอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทาง
กายภาพของวัสดุอย่างมีเหตุผลจากการทดลอง เปรียบเทียบสมบัติของสสารท้ัง ๓ สถานะ จากขอ้ มูลที่ได้จากการ
สังเกตมวล การต้องการท่ีอยู่รูปร่างและปริมาตรของสสาร ใช้เคร่ืองมือเพ่ือวัดมวล และปริมาตรของสสารทั้ง ๓
สถานะ ระบุผลของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้เคร่ืองช่ังสปริงในการวัดน้าหนักของวัตถุ
บรรยายมวลของวัตถุที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ จาแนกวัตถุเป็น
ตัวกลางโปรง่ ใส ตัวกลางโปรง่ แสงและวัตถุทึบแสงโดยใช้ลักษณะการมองเห็นสิ่งต่างๆ ผ่านวัตถุนั้นเป็นเกณฑ์จาก
หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ สร้าง
แบบจาลองที่อธิบายแบบรูปการเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏของดวง จันทร์และพยากรณ์รูปร่างของดวงจันทร์
สร้างแบบจาลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะและอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆ
จากแบบจาลอง

ศึกษาและฝกทักษะเกยี่ วกบั การใชเหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแกปญหาการอธบิ ายการทางาน หรอื การคาด
การผลลพั ธจากปญหาอยางงายการออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยางงายการตรวจหา ขอผดิ พลาดในโปรแกรม
การคนหาขอมลู ในอินเทอรเน็ตและการใชคาคน การประเมินความนาเชอ่ื ถือของขอมลู การรวบรวมขอมูลการ
ประมวลผลอยางงาย การวเิ คราะหผลและสรางทางเลือก การนาเสนอขอมลู การสื่อสารอยางมมี ารยาท
และรกู าลเทศะ การปกปองขอมูลสวนตวั

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสบื ค้นข้อมูล การ
อภปิ รายและอธบิ าย

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
นาความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจาวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและค่านยิ มท่ีเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)


Click to View FlipBook Version