The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Project-3-เล่มสมบูรณ์ (2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Julaluck Noosuwan, 2022-12-22 01:59:08

Project-3-เล่มสมบูรณ์ (2)

Project-3-เล่มสมบูรณ์ (2)

เวบ็ แอปพลเิ คชนั วิเคราะหการนอนหลบั
(Sleep Analysis Web Application)

จริ เมธ อยคู ะเชนทร
Jirameth Yukachain
จุฬาลักษณ หนูสวุ รรณ
Julaluck Noosuwan

โครงงานนี้เปน สว นหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สตู รปริญญา
วิทยาศาสตรบัณฑติ สาขานวตั กรรมสารสนเทศทางการแพทย

มหาวทิ ยาลัยวลัยลักษณ
A Project Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements

for the Degree of Innovation of medical Informatics
Walailak University

2565

เวบ็ แอปพลเิ คชนั วิเคราะหการนอนหลบั
(Sleep Analysis Web Application)

จริ เมธ อยคู ะเชนทร
Jirameth Yukachain
จุฬาลักษณ หนูสวุ รรณ
Julaluck Noosuwan

โครงงานนี้เปน สว นหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สตู รปริญญา
วิทยาศาสตรบัณฑติ สาขานวตั กรรมสารสนเทศทางการแพทย

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
A Project Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements

for the Degree of Innovation of medical Informatics
Walailak University

2565



หวั ขอโครงงาน สำนกั วชิ าสารสนเทศศาสตร
ผจู ัดทำ มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ

สาขา เว็บแอปพลิเคชันวเิ คราะหการนอนหลับ
ปการศกึ ษา นายจิรเมธ อยูค ะเชนทร
นางสาวจุฬาลกั ษณ หนสู วุ รรณ
นวัตกรรมสารสนเทศทางการแพทย
2565

บทคดั ยอ

โครงงานฉบับนีไ้ ดมีการจัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อตองการใหผูใชท่ัวไปไดทราบผลการวิเคราะห
ขอมูลการนอนหลับจากเว็บแอปพลิเคชันที่ทางผูจดั ทำไดสรางขึ้นมา และเพื่อใหผูใชทั่วไปไดรับการแจงเตือน
จากเว็บแอปพลิเคชัน และไดมีการพัฒนาเทคโนโลยเี พือ่ อำนวยความสะดวกใหกับแพทยใ นการติดตามผลการ
นอนหลับของผูปวยตอ เนื่องได โดยไดทำการพัฒนาและตอยอดงานมาจากแอปพลเิ คชัน SnoreLab ท่ีสามารถ
ทำการบันทึกเสียงในระหวางที่มีการนอนหลับไวในแตละคืน และสามารถแสดงขอมูลการนอนหลับของผูใช
ทั่วไปได แตไมสามารถบอกไดวาระดับคุณภาพการนอนหลับของผูใชอยูในคุณภาพระดับใด มีขอมูลแสดง
ออกมาอยางไร และไมมีคำแนะนำที่เปนรายละเอียดเพิ่มเติมจากแพทย ดังนั้นทางผูจัดทำจึงมองเหน็ ปญหาที่
เกิดขึ้น และไดมีแนวคิดท่ีจะสรางเปนเวบ็ แอปพลเิ คชันวิเคราะหก ารนอนหลับขึน้ มา เพื่อใหผูใชท่ัวไปไดทราบ
ผลระดับคณุ ภาพการนอนหลบั ของตนเอง และออกแบบมาใหง ายตอการใชงาน อำนวยความสะดวกตอตัวผูใช
ทั่วไป โดยที่ผูใชงานสามารถทำการประเมินคาการนอนหลับของตนเอง และทราบผลระดับคุณภาพการนอน
หลับของตนเองได และหากผูใชตองการนำผลระดับคุณภาพการนอนหลับไปใหแพทยทำการวินิจฉัย ภายใน
เว็บแอปพลิเคชันวิเคราะหการนอนหลับก็สามารถออกรายงานผลไดเชนเดียวกัน โดยที่แพทยจะสามารถให
คำแนะนำกับผูใชทั่วไปไดเพื่อเปนประโยชนตอผูใชใหไดทราบรายละเอียดคำแนะนำตาง ๆ จากแพทย
ผูเช่ยี วชาญ

คำสำคญั เวบ็ แอปพลเิ คชนั , ระดับคณุ ภาพการนอนหลับ , การนอนหลบั



Project Title Sleep Analysis Web Application
Author Jiramate Yukachain
Julaluck Noosuwan
Major Program Innovation of Medical Informatic
Academic Year 2022

Abstract

This project has been prepared with the purpose of wanting users to know the results
of analyzing sleep data from a web application that the author has created and to allow users
to receive notifications from web applications and technology has been developed to
facilitate physicians in continuous monitoring of sleep results of patients. It has been
developed and built on the SnoreLab application that can record audio during sleep each
night and can display sleep data of users but it can't tell what level of sleep quality the users
are in. How is the information displayed and no more detailed advice from a doctor Therefore,
the organizers can see the problems that arise and came up with the idea to create a sleep
analysis web application. To allow users to know the effect of their sleep quality level and
designed to be easy to use convenience to users where users can evaluate their own
sleep and know the effect of their sleep quality level and if users want to take the results of
sleep quality levels to a doctor for diagnosis. Within the sleep analysis web app, results can
be reported as well. The doctor will be able to give advice to the users for the benefit of the
users to get detailed advice from a medical professional.
Keywords: web application, sleep quality level, sleep



กติ ติกรรมประกาศ

โครงงานนจี้ ดั ขน้ึ เพื่อตอ งการศึกษาในเรอ่ื งการนอนหลบั และการนอนกรน โดยทำการตอยอดจากแอป
พลิเคชันตวั ตนแบบท่ชี ่ือวา Snore Lab และนำผลการบนั ทึกเสยี งกรนและการวเิ คราะหเสียงมาเก็บขอมูลและ
นำมาสรางเปนเว็บแอปพลิเคชันที่ชื่อวา เว็บแอปพลิเคชันวิเคราะหการนอนหลับ เพื่อตองการเก็บขอมูลการ
บันทึกเสียงใหกับผูใชและเปนการติดตามผลการรักษาใหกับบุคลากรทางการแพทย ทั้งนี้ผูจัดทำโครงงาน
ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานในการใหขอมูลและการแนะนําใหบรรลุขอบเขตและวัตถุประสงคของ
เปา หมายงาน ผจู ดั ทําโครงงานจึงขอขอบพระคุณเปน อยางมาก

ขอขอบคุณอาจารย ผศ.ดร.สุภาภรณ ใจรังษี อาจารยที่ปรึกษาโครงงานไดแนะนำและชวยในการหา
แนวทางการแกป ญ หาตลอดการทำโครงงานในครง้ั นี้ และคอยใหกาํ ลังใจกับทางทีมผูจดั ทาํ อยางเสมอ

ขอขอบพระคุณอาจารย บูคอรี ซาเหาะ ประธานกรรมการสอบโครงงาน ไดใหขอมูลและการแนะนำ
ใหบรรลุขอบเขต วัตถุประสงคของเปาหมายงาน และชวยหาแนวทางในการแกปญหาตาง ๆ คอยใหกำลังใจ
กบั ทางทมี ผูจัดทำอยางเสมอ ผูจ ัดทำโครงงานจงึ ขอขอบพระคณุ เปนอยางมาก

ขอขอบพระคุณอาจารย สุพพัต รุงเรืองศิลป กรรมการในการสอบโครงงาน ไดใหขอมูลและการ
แนะนำใหบรรลุขอบเขต วัตถุประสงคของเปาหมายงานใหเหมาะสม และมีความถูกตองสมบูรณมากยิ่งข้ึน
ผจู ดั ทำโครงงานจึงขอขอบพระคุณเปนอยางมาก

ขอขอบพระคุณ อาจารยจงสุข คงเสน กรรมการในการสอบโครงงาน ไดใหขอมูลและการแนะนำให
บรรลุขอบเขต วัตถุประสงคของเปาหมายงานใหเหมาะสม และมีความถูกตองสมบูรณมากยิ่งขึ้น ผูจัดทำ
โครงงานจึงขอขอบพระคุณเปนอยางมาก

ขอขอบคุณบุคลากรและคณะอาจารยสาขาวิชานวัตกรรมสารสนเทศทางการแพทย มหาวทิ ยาลัยวลัย
ลักษณทุกทานที่ไดประสิทธิ์ประสาทความรใู หกับทางผูจ ัดทำ รวมถึงบุคลากรในสถานที่สหกิจศึกษาทุกทานที่
ใหคำแนะนำและความชวยเหลือในการ ดำเนินการตา ง ๆ ในการดำเนนิ การโครงงานในคร้งั นี้

สุดทายนี้ขอขอบคุณ คุณพอ คุณแม รวมทั้งบุคคลรอบขางทุกคนท่ีเปดโอกาสทางการศึกษา คอย
ชวยเหลอื ใหกำลังใจ และสนับสนนุ ในเร่ืองตาง ๆ แกผจู ดั ทำดว ยดีเสมอมาจนทำใหโครงงานฉบับนี้สำเร็จลงได
อยา งสมบูรณ ผจู ัดทำขอกราบขอบพระคณุ เปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

สุดทา ยนี้ ถา หากโครงงานเลม นผ้ี ิดพลาดประการใดทางทมี ผูจ ัดทำก็ขออภยั ไว ณ ท่ีนี้ ดว ย

นายจิรเมธ อยคู ะเชนทร
นางสาวจุฬาลกั ษณ หนูสวุ รรณ



สารบญั

เร่ือง หนา

บทคดั ยอ......................................................................................................................................................... ก
Abstract ........................................................................................................................................................ ข
กติ ตกิ รรมประกาศ .......................................................................................................................................... ค
บทที่ 1............................................................................................................................................................ 1

1.1 ความสำคญั และท่ีมาของปญหา.......................................................................................................... 1
1.2 วัตถปุ ระสงค......................................................................................................................................... 2
1.3 ขอบเขตของงาน................................................................................................................................... 2
1.4 ประโยชนท่คี าดวาจะไดรับ................................................................................................................... 2
1.5 ผลทจ่ี ะไดรับเมือ่ เสรจ็ สน้ิ โครงงาน........................................................................................................ 3
1.6 แผนการดำเนนิ งาน .............................................................................................................................. 3
1.7 เครือ่ งมือท่ีใชในการพฒั นา................................................................................................................... 7
บทท่ี 2............................................................................................................................................................ 8
2.1 ทฤษฎที ่ีเก่ยี วขอ ง ................................................................................................................................. 8
2.2 เทคโนโลยที ใ่ี ช.................................................................................................................................... 12
2.3 งานวจิ ัยหรือระบบท่ีใกลเ คียง............................................................................................................. 19
บทที่ 3.......................................................................................................................................................... 24
3.1 องคกรท่เี ก่ียวขอ ง............................................................................................................................... 24
3.2 วิธกี ารจัดเก็บขอมลู ............................................................................................................................ 24
3.3 การทำงานของระบบปจ จุบนั .............................................................................................................. 26
3.4 การวเิ คราะหความตองการของผใู ช.................................................................................................... 28
บทท่ี 4.......................................................................................................................................................... 31
การออกแบบระบบ ....................................................................................................................................... 31
4.1 สถาปต ยกรรมของระบบ .................................................................................................................... 31
4.2 การออกแบบกระบวนการ.................................................................................................................. 33
4.3 การออกแบบฐานขอมลู ...................................................................................................................... 40
4.4 การออกแบบสวนตดิ ตอ กับผูใช .......................................................................................................... 44



สารบญั (ตอ )

เร่ือง หนา

บทท่ี 5.......................................................................................................................................................... 51
บทท่ี 6.......................................................................................................................................................... 64
บรรณานกุ รม ................................................................................................................................................ 65
บรรณานุกรม (ตอ)........................................................................................................................................ 66
ภาคผนวก ..................................................................................................................................................... 67
ประวัตผิ จู ดั ทำ............................................................................................................................................... 79



สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หนา

1.1 แสดงแผนการดำเนินงาน…….......................................................................................................................4

1.2 แสดงซอฟแวรท ่ใี ช… …..................................................................................................................................7

2.1 แสดงสัญลกั ษณ Flowchart……................................................................................................................10

2.2 แสดงสัญลักษณ ER…………..……................................................................................................................12

2.3 เปรียบเทยี บงานวจิ ัยท่ีใกลเคียง……...........................................................................................................24

4.1 ผูใ ชง านระบบ (User).…….........................................................................................................................41

4.2 ผูใชงานระบบ (Doctort).……....................................................................................................................41

4.3 เว็บแอปพลิเคชันวิเคราะหการนอนหลบั (Web Application).……..........................................................42

4.4 ขอ มลู รายละเอียด (History_detail).….....................................................................................................43

4.5 ขอมลู คำแนะนำ (Description).…............................................................................................................43

5.1 การสมคั รสมาชิกท่ไี มถูกตอง……...............................................................................................................58

5.2 การสมัครสมาชกิ ทถี่ ูกตอง……...................................................................................................................59

5.3 การเขาสรู ะบบการใชงาน……....................................................................................................................60

5.4 การประเมนิ ผลในระดบั ดีมาก (ระดบั ที่ 1)..…….........................................................................................61
5.5 การประเมินผลในระดบั ปานกลาง (ระดบั ที่ 2).……...................................................................................62
5.6 การประเมินผลในระดับแย (ระดับที่ 3).……..............................................................................................63
5.7 ออกรายงาน…….........................................................................................................................................64



สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา

2.1 วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) ……......................................................9
2.2 แสดงความสัมพนั ธหน่ึงตอหนงึ่ หรอื แบบ 1:1…….....................................................................................12
2.3 แสดงความสัมพนั ธแ บบหน่ึงตอกลุม หรอื 1: M……..................................................................................13
2.4 แสดงความสมั พันธแ บบกลมุ ตอ กลมุ หรือ แบบ M:N……..........................................................................13
2.5 ความสมั พันธแบบยนู ารี…….......................................................................................................................13
2.6 แสดงความสมั พันธแ บบไบนารี……............................................................................................................14
2.7 แสดงความสัมพนั ธแบบสามทาง……..........................................................................................................14
3.1 flowchart แสดงการทำงานระบบปจจุบนั ……..........................................................................................26
3.2 Ishikawa Diagram แสดงการปญหาของระบบปจ จบุ นั ……......................................................................27
4.1 สถาปตยกรรมซอฟแวร……........................................................................................................................34
4.2 แผนผังลำดับขั้นตอนกระบวนการ…….......................................................................................................35
4.3 แผนภาพบริบท……....................................................................................................................................36
4.4 แผนภาพกระแสขอมลู ระดับที่ 0……........................................................................................................38
4.5 แผนภาพกระแสขอมูล ระดับท่ี 1……........................................................................................................39
4.6 แผนภาพกระแสขอมลู ระดับท่ี 3……........................................................................................................40
4.7 แผนภาพกระแสขอ มูล ระดับท่ี 4…….........................................................................................................41
4.8 รูปภาพการออกแบบฐานขอมลู ……...........................................................................................................42
4.9 หนาจออเรมิ่ ตน ……....................................................................................................................................44
4.10 หนา จอการเขา สูร ะบบและหนา จอการลงทะเบยี น……............................................................................45
4.11 หนา จอเมนผู ใู ชงาน……............................................................................................................................46
4.12 หนาจออัปโหลดไฟล… …..........................................................................................................................46
4.13 ระบบกำลังประมวลผล……......................................................................................................................47
4.14 หนา จอผลการวนิ จิ ฉัย……........................................................................................................................47
4.15 หนาจอหนาจอปฏิทนิ ยอนหลัง……….......................................................................................................48
4.16 หนาจอหนาจอเขา สูระบบของแพทย…….................................................................................................48
4.17 หนา จอลงทะเบียนของแพทย… …............................................................................................................49
4.18 หนาจอเมนูแพทย……..............................................................................................................................49
4.19 หนา จอหนาจอเมนูคนหารายช่ือ……........................................................................................................50
4.20 หนาจอรายละเอยี ดหนา รายงานผลและแพทยใหค ำแนะนำ....................................................................51
5.1 รูปภาพโครงสรา งของโปรแกรมไฟล……………….........................................................................................52



สารบญั ภาพ (ตอ)

ภาพท่ี หนา

5.2 การดาวนโ หลด XMAPP……......................................................................................................................53
5.3 การติดตั้ง XMAPP……...............................................................................................................................53

5.4 เลือก Folder…….......................................................................................................................................54
5.5 เลอื กภาษา……...........................................................................................................................................54
5.6 รอตดิ ตง้ั ……...............................................................................................................................................55

5.7 รอตดิ ต้ัง……...............................................................................................................................................55
5.8 ติดต้ังสำเร็จ……..........................................................................................................................................56
5.9 Run Xampp…….......................................................................................................................................56
5.10 D:\xampp\htdocs\Note......................................................................................................................57



1

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ความสำคญั และที่มาของปญหา
การกรน (Snoring) เกิดจากกลามเนื้อคอคลายตัวขณะหลับจนทำใหชองคอแคบลง ซึ่งสงผลใหตอง

หายใจเขาออกแรงขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อทางเดินหายใจแคบลงถึงจุดหนึ่ง และความแรงของลมหายใจที่ยิ่งเพิ่มมาก
ขึ้น จนเกิดการส่นั สะเทือนของเนื้อเย่ือภายในระบบทางเดนิ หายใจ ทำใหม เี สยี งกรนดังออกมา ซ่ึงในปจจุบันน้ี
พบวามกี ลมุ คนทม่ี ปี ญ หาเร่อื งการนอนหลบั กรนในขณะเวลาท่ีนอน การนอนกรนเกดิ ขึน้ ไดใ นทกุ ชว งอายุ และ
ทุกเพศ อาการนอนกรนเกิดจากการที่ชองทางเดินหายใจสวนตนเกิดการตบี แคบลง ทำใหลมหายใจที่ผานเขา
มาเกิดการกระพือและกลายเปนเสียงกรนขึ้น หรืออาจเกิดจากสารหลอลื่นภายในระบบทางเดินหายใจลดลง
จนทำใหเกิดอาการแหง และบวม ทางเดินหายใจจึงแคบลง เมื่อหายใจจึงเกิดเปน เสยี งกรน ซึ่งเสียงกรนท่ีดงั ก็
จะมีเสยี งทแ่ี ตกตางกนั ไป ข้ึนอยกู ับตำแหนงของอวัยวะที่เกดิ การสัน่ ถาเกิดการส่นั ทีเ่ พดานหรือล้ินไกจะทำให
เกดิ เสียงกรนในลำคอ หรือถา เกดิ การส่ันทเ่ี นอื้ เยือ่ หลงั โพรงจมกู จะทำใหเกิดเสียงกรนแบบขนึ้ จมูกนั่นเอง

จากการสำรวจจากองคการอนามัยโลก (WHO) พบวาผูชายมีอัตราการนอนกรนมากกวาผูหญิง
โดยเฉพาะคนอวน ผูสูงวัย ผูปวยโรคภูมิแพ หรือโรคจมูกอักเสบ ผูที่ทำงานหักโหม หรือออกกำลังกายมาก
เกนิ ไป นอกจากนีบ้ คุ คลทชี่ อบการดืม่ สุรา สูบบุหรี่จดั กนิ ยานอนหลบั ก็เปน สาเหตทุ ีท่ ำใหก รนได หากชองคอ
แคบลงอีกเรื่อย ๆ ก็จะสงผลใหเกิดการอุดตันในชองคอแบบชั่วคราว และจะทำใหลมหายใจเขาออกขาด
หายไปช่ัวขณะ ทเ่ี รียกวา การหยดุ หายใจขณะหลับ

ดังนั้นทางผูจัดทำโครงงานมีความสนใจในเรื่องของการนำความรูที่ไดมาและตองการจะตอยอดแอป
พลิเคชันตัวหนึ่งที่มีชื่อวา SnoreLab ซึ่งแอปพลิเคชันนี้เปนแอปพลิเคชันที่มีฟงกชันการทำงานที่สามารถ
บันทึกเสียงนอนกรนไดพรอมท้ังเก็บคาและแสดงผลตัวเลขคะแนนของระดับเสียงกรนในหนึ่งคืนได แตสิ่งท่ีไม
มีในแอปพลิเคชัน SnoreLab นั่นคือฟงกชันการแปลงคาตัวเลขจากแอปพลิเคชัน SnoreLab มาเปนระดับ
คุณภาพของการนอนหลับและอีกฟงกชันที่ไมมีในแอปพลิเคชัน SnoreLab คือฟงกชันการเตือนกับผูใชทั่วไป
ผจู ัดทำโครงงานจึงมคี วามตองการที่จะพัฒนาโดยการเพม่ิ ฟงกช ันการใชง านลงไปในเวบ็ แอปพลเิ คชันวิเคราะห
การนอนหลบั เพื่อใหม ฟี ง กชนั ที่สามารถแปลงคาเปนคุณภาพการนอนหลบั ได (สีแดง สีเขียว สีเหลอื ง) เพ่อื ที่จะ
บอกถงึ คุณภาพการนอนหลบั และเพ่ิมฟง กชนั การแจง เตอื นใหกับผูใชทว่ั ไป

2

1.2 วัตถปุ ระสงค
1.2.1 เพือ่ ใหผ ใู ชทวั่ ไปไดทราบผลการวเิ คราะหขอ มลู การนอนหลับจากเว็บแอปพลิเคชนั
1.2.2 เพ่อื ใหผูใชท่วั ไปไดร ับผลการเตอื นจากเวบ็ แอปพลเิ คชนั
1.2.3 เพอ่ื อำนวยความสะดวกใหกบั แพทยใ นการติดตามผลการนอนหลับของผปู ว ยตอ เน่ืองได

1.3 ขอบเขตของงาน
โครงงานนีต้ อ งการทีจ่ ะแกไ ขปญ หาการนอนกรน ซง่ึ จะแบง กลมุ ผูใชร ะบบดงั น้ี
1.3.1) ผใู ชระบบแบงออกเปน 2 กลมุ
ก. ผใู ชทัว่ ไป
1) สามารถรับการเตือนจากเว็บแอปพลเิ คชัน
2) สามารถทราบผลการวิเคราะหขอมูลการนอนหลบั ไดจากเว็บแอปพลเิ คชัน
3) สามารถทราบผลคุณภาพการนอนหลับเบ้ืองตนของตนเองได
ข. แพทย
1) สามารถบันทกึ ผลการวินจิ ฉยั ของผปู วยตอ เนื่องได
2) สามารถตดิ ตามผลการนอนหลับของผูปว ยตอเนื่องได

1.3.2) เวบ็ แอปพลเิ คชนั วิเคราะหการนอนหลบั จะแบงฟงกช นั ของการใชงานมีดังนี้
1. ฟง กช นั การนำเขา ขอมลู การนอนหลับ (Import Data) จากแอปพลเิ คชัน SnoreLab และ

นำมาวิเคราะหแ ปรผลขอ มูล
2. ฟงกชันในการวิเคราะหแปรผลขอมูลการนอนหลับจากแอปพลิเคชัน SnoreLab มาเปน

ระดบั คุณภาพของการนอนหลับ
3. ฟงกช ันการเตอื นจากเวบ็ แอปพลิเคชันใหก ับผูใช
4. ฟง กช นั ท่ีผใู ชส ามารถดปู ระวัตกิ ารนอนหลับยอ นหลงั ได
5. ฟงกช ันการตดิ ตามการรักษาใหกับแพทยใ นการติดตามผลการนอนหลับของผปู ว ยตอเนื่อง

ได
6. ฟง กชนั ทแ่ี พทยส ามารถใหค ำแนะนำและแกไขเพิม่ เติมผลการวินิจฉยั ของผูปวยตอ เน่ืองได

1.4 ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรบั
1.4.1 ผูใ ชท ัว่ ไป
1. ผใู ชท ว่ั ไปสามารถใชงานระบบไดง ายขน้ึ และสะดวกมากยิ่งข้ึน
2. ผูใชท่วั ไปสามารถรรู ะดบั คุณภาพการนอนหลบั ของตนเอง

3

1.4.2 แพทย
1. สามารถดกู ารวินิจฉยั ของผูป วยตอเน่ืองได
2. สามารถตดิ ตามผลการนอนหลับของผูปว ยตอเนื่องได

1.5 ผลท่ีจะไดร ับเม่ือเสรจ็ สิ้นโครงงาน
ไดระบบวิเคราะหก ารนอนหลบั ในรปู แบบแอปพลิเคชันบนเว็บ ( Web Application )

1.6 แผนการดำเนินงาน
ระยะเวลาในการดำเนินงานทั้งสิ้นทั้งหมด 11 เดือน โดยมีการเริ่มตนตั้งแตเดือนมิถุนายน 2564

สนิ้ สุดในเดือนเมษายน 2565 รายละเอียดในการดำเนนิ งานของระบบวเิ คราะหการนอนหลบั มกี ารดำเนินงาน
ทง้ั หมด 7 ขนั้ ตอน ดงั นี้

1.1 ตารางแสดงแผนการดำเนินงาน

ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค

รายละเอยี ดการดำเนนิ งาน 1234123412

1 วางแผนการทำงานและวางแผนระยะเวลา

1.1 ศึกษาหวั ขอและประเดน็ ทใี่ หความสนใจ

วิเคราะหความตองการของผใู ช เกบ็ ขอมลู ความ
1.2 ตองการ

1.3 วเิ คราะหการทำงานหลักๆของแอปพลิเคชันตน แบบ

กำหนดขอบเขตงานและกำหนดระยะเวลาในการ
1.4 ทำงาน

1.5 ประมาณการงบประมาณในการทำงาน

ศึกษาการใชงานเครื่องมือเทคโนโลยที น่ี ำไปใชใ น
1.6 โครงงาน

2 กลุมทดลองใชงานแอปพลเิ คชันที่ใชใ นปจ จบุ ัน

จัดประเภทของกลุมผทู ดลองใชต ามชว งอายุของ
2.1 ผูใชง าน

4

ระยะเวลาในการดำเนินงาน 2564 - 2565
ค ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย
3412341234123412341234123412341234

1.1 ตารางแสดงแผนการดำเนินงาน (ตอ )

ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค

รายละเอยี ดการดำเนินงาน 1234123412

3 รวบรวมขอมลู จากความตองการของผใู ช

ปญ หาทีเ่ กิดจากการใชง านตัวแอปพลิเคชนั ตัวตน แบบ
3.1 ทผี่ ใู ชมคี วามตองการจะใหแ กไข

ฟงกชนั บางตัวท่ผี ูใชตอ งการจะใหมใี นตัวแอปพลเิ ค
3.2 ชัน

4 การออกแบบระบบ

4.1 ออกแบบสถาปตยกรรมของระบบ

4.2 ออกแบบโครงสรา งฐานขอ มูล

4.3 ออกแบบกระบวนการทำงาน

4.4 ออกแบบและสรา งหนา UI ใหกบั ระบบที่เราสรา ง

5

ระยะเวลาในการดำเนินงาน 2564 - 2565
ค ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย
3412341234123412341234123412341234

1.1 ตารางแสดงแผนการดำเนินงาน (ตอ)

รายละเอียดการดำเนนิ งาน ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค ก
5 การพัฒนาระบบ 12341234123412
5.1 พัฒนาซอฟแวร
5.2 พฒั นาโปรแกรมของระบบ
5.3 ปรบั ปรงุ แกไขการใชงานของระบบ
6 การทดสอบระบบ
6.1 ทดสอบระบบแตละฟง กช นั ของงาน
6.2 ทดสอบระบบทั้งระบบ
6.3 ตดิ ตง้ั ระบบและใชง าน
7 จดั ทำเอกสาร

6

ระยะเวลาในการดำเนนิ งาน 2564 - 2565
ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย
2341234123412341234123412341234

7

1.7 เครอื่ งมอื ทีใ่ ชในการพัฒนา
1.7.1) ฮารดแวร
ก. เครอื่ งคอมพิวเตอรที่ใชมีลกั ษณะดงั น้ี
1) CPU intel® core (TM) I5-1035G1 CPU @ 1.00GHz 1.19GHz
2) System type 64-bit
3) RAM 8 GB
4) Windows 10 Home
ข. เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท ี่ใชม ลี ักษณะดงั นี้
1) CPU AMD Ryzen 7 3750H with Radeon Vega
2) System type 64-bit
3) RAM 8 GB
4) Windows 10 Home

1.7.2) ซอฟตแ วร
1.2 ตารางแสดงซอฟแวรท ใ่ี ช

ซอฟตแวรท ใี่ ช วตั ถุประสงคท่ีใชง าน
MySQL Version 8.0.23 ใชส ำหรับจดั การฐานขอ มูล
Bootstrap Version 5.1 เปน เครื่องมอื สำหรับการออกแบบหนา เวบ็ ไซต
Visual Studio Code ใชในการแกไ ขซอรส โคด
HTML Version 5 ใชใ นการแสดงผลบนเว็บบราวเซอรบนอินเทอรเ น็ต
CSS Version 3.0 ใชในการตกแตงและออกแบบหนา เวบ็ บราวเซอร
PHP Version 7 ใชใ นการเขยี นโปรแกรมประมวลผลกอนแสดงหนาเว็บ
JavaScript 1.8.5 ใชในการพฒั นาโปรแกรม
Xampp Version 8.9.0 ใชในการจำลองเคร่ืองคอมพวิ เตอรใหท ำงานในลักษณะของ
Webserver
Application SnoreLab Version เปนแอปพลเิ คชนั ฐานขอ มูล
5.3.10

8

บทที่ 2

การทบทวนวรรณกรรม

โดยในบทนี้จะกลาวถึงทฤษฎีที่มีความหมายเกี่ยวของกับงานและเทคโนโลยีที่นำมาใชในการพัฒนา
เว็บแอปพลิเคชัน ซึ่งมีรายละเอียดหัวขอที่เกี่ยวของ ดังน้ี ทฤษฎีที่เกี่ยวของ เทคโนโลยีที่ใช และงานวิจัยหรือ
ระบบที่ใกลเคียง

2.1 ทฤษฎีทีเ่ กย่ี วของ
2.1.1 วงจรการพัฒนาระบบ
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) เปนการแบงขั้นตอน

กระบวนการพัฒนาระบบงาน เพื่อชวยในการแกไขปญหา และเปนการพัฒนาหรือปรับปรุงระบบเดิมใหดีข้ึน
โดยการพัฒนาระบบแบง ออกเปน 7 ขน้ั ตอน ดังน้ี (เกียรติพงษ อุดมธนะธรี ะ , 2562)

1. การคนหาปญ หาขององคกร (Problem Recognition) เปนการกำหนดเปา หมายท่ีชัดเจน
ในการปรบั ปรงุ โดยการนำขอมลู มาจำแนกจดั กลุมและจัดลำดบั ความสำคญั เพื่อใชในการแกปญหาและใหเกิด
ประโยชนมากทีส่ ดุ

2. การศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study) วาเหมาะสมควรจะปรับเปลี่ยนหรือไม
โดยใหเ สียคา ใชจ าย (Cost) และเวลา (Time) นอยท่ีสดุ แตใ หไ ดผ ลลัพธท นี่ า พอใจ

3. การวิเคราะห (Analysis) เปนการรวบรวมขอมูลปญหาความตองการที่มีเพื่อนำไป
ออกแบบระบบ ซ่ึงทำการสัมภาษณจ ากผใู ช โดยวิเคราะหการทำงานของระบบเดิม (As Is) และความตองการ
ที่มีในระบบใหม (To Be) จากนั้นนำมาวิเคราะหเขียนเปนแผนภาพผังงานระบบ (System Flowchart) และ
การไหลของขอมูล (Data Flow Diagram)

4. การออกแบบ (Design) เปนการนำผลการวิเคราะหมาออกแบบเปนแนวคิด (Logical
Design) เพอื่ แกไ ขปญ หาเนนการออกแบบโครงรางบนกระดาษ แลว ผอู อกแบบระบบนำไปออกแบบ (System
Design) รายละเอียดของอุปกรณที่ใช เทคโนโลยีที่ใช ชนิดฐานขอมูลการออกแบบ การนำขอมูลเขา และ
ผลลัพธท ่ไี ด

5. การพัฒนาและทดสอบ (Development & Test) เปนขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
(Coding) เพ่ือพัฒนาระบบใหเปนไปตามท่ีกำหนดไว จากนั้นทำการทดสอบเพื่อหาขอ ผิดพลาด (Testing) เพื่อ
ตรวจสอบความถูกตอ ง หากพบวามีขอผิดพลาดจะตอ งปรบั แกไขใหเรยี บรอ ยพรอ มใชง านกอนนำไปใชจ รงิ

6. การติดตั้ง (Implementation) เปน ขน้ั ตอนการนำระบบที่พัฒนาจนสมบูรณแลวมาติดตั้ง
(Installation) และเริ่มใชงานจริงไดอยางสมบูรณ และมีบริการใหความชวยเหลือ (Support) เพื่อใหระบบ
สามารถใชง านไดอ ยา งตอเน่อื ง

9

7. การซอมบำรงุ ระบบ (System Maintenance) เปนขั้นตอนการบำรุงรักษาระบบหลังจาก
เริ่มดำเนินการ ผูใชระบบอาจจะพบปญหาที่เกิดข้ึนไดในภายหลังการใชงาน จึงควรกำหนดแผนเพ่ือแกปญ หา
ติดตามประเมินผล เก็บรวบรวมคำรองขอใหปรับปรงุ ระบบแกไขและติดตั้ง เพื่อใหผูใชงานระบบเกิดความพึง
พอใจมากทสี่ ดุ

ภาพที่ 2.1 วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC)
2.1.3 Flowchart
Flowchart หรอื ผังงาน เปนเครอ่ื งมือแสดงขั้นตอน หรือกระบวนการทำงานทีก่ ระชับ เขาใจงาย โดย
ใชสัญลักษณที่เปนมาตรฐานเดยี วกัน และใชขอความสั้น ๆ อธิบายขอมูล ผลลัพธ คำสั่ง หรือจุดตัดสินใจของ
ขั้นตอน และเชื่อมโยงขั้นตอนทุกขั้นตอนดวยเสนที่มีลูกศรชี้ทิศทางการทำงานตั้งแตเริม่ ตนจนจบ (วิโรจน ชัย
มูล และสุพรรษา ยวงทอง, 2558)

การเขยี นผังงาน (Flowchart)
1. ผังงาน (Flowchart) จะตองมีจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดเสมอ โดยเลือกใชสัญลักษณ
แทนการสื่อความหมายอยางเหมาะสม และมีคำอธิบายในสัญลักษณสั้น กระชับ
เขา ใจงา ย
2. ใชลูกศรเปนตัวกำหนดทิศทางการทำงาน จากบนลงลาง, จากซายไปขวา โดยเรียง
ตามลำดับเหตุการณ รูปสัญลักษณทุกตัวตองมีลูกศรเขาและออก ยกเวน จุดเริ่มตน
จะมเี ฉพาะลกู ศรออก จุดสน้ิ สุดจะมีเฉพาะลูกศรเขา เทา นน้ั

10

ประเภท Flowchart

1. Top – Down คือ การเขียนกระบวนงาน (flow) เรียงลำดับจากบนลงลาง แบงเปน
3 ลักษณะ คอื
- Sequence (ตามลำดับ) เปน การเขียนแบบไลท ำไปทีละลำดับ
- Selection (ทางเลือก/เงื่อนไข) เปนการเขียนที่มีการเลือก หรือการ
ตดั สินใจ
- Iteration (ทำซ้ำ) เปน การเขยี นท่ีมกี ารกลบั ไปทำซ้ำในบางขน้ั ตอน

2. Swim Lane diagram การเขยี นกระบวนงาน flow จากซายไปขวา
สญั ลักษณ Flowchart โดยปกตทิ ่วั ๆ ไปจะใชส ัญลกั ษณ ดงั น้ี

ตารางที่ 2.1 แสดงสัญลกั ษณ Flowchart

สญั ลักษณ ชื่อ ความหมาย
Beginning block ใชเปน จุดเรม่ิ ตนของการทำ Flowchart

Termination ใชเปนจุดสนิ้ สดุ ของการทำ Flowchart

Process block ใชแ สดงกระบวนการทำงาน การประมวลผลทั่วไป

Decision block การตดั สนิ ใจท่ีตองใชค ำตอบ เมอ่ื ตองมีเง่ือนไขหรือ
ทางเลือกมากกวา 1

Connector ใชเชอ่ื มสวนหนง่ึ ของ Flowchart กบั อีกสวนหนง่ึ โดยใช
Flow line สญั ลักษณ Connector
ใชบ อกลำดบั การทำงานวา มที ิศทางไปทางไหน

11

2.1.4 ความสมั พนั ธระหวา งขอมลู
ความสัมพันธระหวางขอมูล (Unified Modeling Language) เปนภาษาที่ใชแบบจำลองและเปน
ภาษาทใี่ ชอธิบายแสดงความหมายของแผนภาพ และในการสรางแผนภาพนั้น UML เปนการสรา งแบบจำลอง
ของระบบที่ไดรับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อใชในการ วิเคราะหและออกแบบระบบเชิงวัตถุโดยเฉพาะแสดง
สัญลกั ษณก ารสรา งความสมั พนั ธไดด ังน้ี
1. Non-Identifying Relationship

ความสัมพันธ (relationship) แบบ 1:1 หรือ 1:M โดยมี key index เปนตัวเชื่อมบางครั้ง
จะรยี กความสมั พนั ธในลักษณะนว้ี า Foreign Key

ภาพที่ 2.2 แสดงความสัมพันธหนึง่ ตอหนึ่ง หรอื แบบ 1:1
ความสัมพันธ (relationship) แบบ 1:N หนึ่ง ตอ กลุม จะเปนความสัมพันธที่ซึ่งคียหลัก (Primary
key) ใน Entity A ใด ๆ จะทำหนาที่เปน foreign key ใน Entity B แตไมไดทำหนาที่เปนสวน ประกอบของ
คยี ห ลัก

ภาพท่ี 2.3 สัญลักษณค วามสมั พันธ Non-Identifying Relationship แบบ 1:N
2. Identifying Relationship
1:1 หน่งึ ตอ หนึง่ จะเปนความสมั พันธที่ซึง่ คยี ห ลัก ใน Entity A ใด ๆ จะทำหนาท่เี ปน foreign key
ใน Entity B และยังเปนสว นประกอบหน่ึงของคยี หลักใน Entity B

ภาพที่ 2.4 แสดงความสัมพันธแบบกลมุ ตอ กลมุ หรือ แบบ M:N
1:M หน่ึง ตอ กลุม จะเปน ความสัมพนั ธท่ซี ่ึงคยี หลกั ใน Entity A ใด ๆ จะทำหนาทเี่ ปน foreign
key ใน Entity B และยงั เปน สวนประกอบหนึ่งของคียห ลกั ใน Entity B

ภาพท่ี 2.5 สัญลกั ษณค วามสมั พนั ธ Identifying Relationship แบบ 1:M

12

สญั ลกั ษณ ER โดยปกติทั่ว ๆ ไปจะใชสญั ลกั ษณ ดงั น้ี

ตารางท่ี 2.2 แสดงสญั ลักษณท ีใ่ ชใ นการแสดงแผนภาพ ER Diagram

สญั ลักษณ คาํ อธบิ าย
Attribute ท่ีใชแสดง Attribute แตล ะ Entity

ลกู ศรใชบ อกทศิ ทางในการเชือ่ มตอแตล ะ Entity

เสน เชอ่ื มความสมั พนั ธระหวาง Entity

1:1 เปนความสมั พันธระหวา ง Entity หน่งึ ไปยังมี ความสัมพนั ธกบั Entity หนงึ่
เพยี งรายการเดยี ว

1:N เปน ความสมั พนั ธร ะหวา ง Entity หน่งึ ไปยงั มี ความสมั พนั ธก บั Entity หนง่ึ
มากกวา หนง่ึ รายการ

N : N เปนความสมั พันธระหวาง Entity มมี ากกวาหนงึ่ รายการ

2.2 เทคโนโลยที ีใ่ ช
การใชงานเทคโนโลยีที่ใชในการพัฒนาระบบโดยทีจ่ ะใชโปรแกรมที่ชวยในการคิดวิเคราะหระบบและ

การออกแบบระบบ เทคโนโลยที น่ี ำมาใชใ นการทำโครงงานมดี ังน้ี
2.2.1 phpMyAdmin (Version 5.1.1)
phpMyAdmin เปนโปรแกรมที่ถูกพัฒนาโดยใชภาษา PHP เพื่อใชในการบริหารจัดการฐานขอมูล

MySQL แทนการคยี ค ำสงั่ เนื่องจากถาเราจะใชฐานขอมูลท่ีเปน MySQL บางครั้งจะมีความลาํ บากและยุงยาก
ในการใชงาน ดังนั้นจึงมีเครื่องมือในการจัดการฐานขอมูล MySQL ขึ้นมาเพื่อใหสามารถจัดการ ตัว DBMS ท่ี
เปน MySQL ไดงายและสะดวกยิ่งขึ้น

phpMyAdmin เปนสวนประสานที่สรางโดยภาษา PHP ซึ่งใชในการจัดการฐานขอมูล MySQL ผาน
เว็บเบราวเซอร โดยสามารถที่จะทำการสรางฐานขอมูลใหม ทำการสราง TABLE ใหมๆ และ function ที่ใช
สําหรับการทดสอบการ query ขอมูลดวยภาษา SQL และยังสามารถทำการ insert delete update หรือ
แมกระทั่งการใช คำสั่งตาง ๆ เหมือนกับกันการใชภาษา SQL ในการสรางตารางขอมูล (phpMyAdmin,
2021) (วราภรณ ไพนรินทร, 2563)

13

ความสามารถของ phpMyAdmin
1) สรา งและลบ Database ได
2) สรางและจัดการ Table เชน แทรก record, ลบ record, แกไข record, ลบ Table,

แกไข field
3) โหลดเทก็ ซไ ฟลเขาไปเก็บเปนขอ มูลในตารางได
4) Query ดว ยคำส่ัง SQL

2.2.2 Visual Studio Code (Version 1.62.2)
Visual Studio Code จากบริษัทไมโครซอฟต เปนโปรแกรมประเภท Editor ใชในการแกไขโคดที่มี
ขนาดเล็ก แตมีประสิทธิภาพสูง เปน Open Source โปรแกรมจึงสามารถนำมาใชงานไดโดยไมมีคาใชจาย
เหมาะสำหรับนักพัฒนาโปรแกรมที่ตองการใชงานหลายแพลตฟอรม รองรับการใชงานทั้งบน Windows,
macOS และ Linux รองรับหลายภาษาทั้ง JavaScript, TypeScript และ Node.js ในตัว สามารถนำมาใช
งานไดงายไมซ บั ซอน
Visual Studio Code เปนโปรแกรมประเภท Editor ที่ใชในการแกไขโคดที่มีขนาดเล็ก แตมี
ประสิทธิภาพสูง เปน Open Source โปรแกรมจึงสามารถนำมาใชงานไดโดยไมมีคาใชจาย เหมาะสำหรับ
นักพัฒนาโปรแกรมที่ตองการใชงานหลายแพลตฟอรม รองรับการใชงานทั้งบน Windows , macOS
และ Linux รองรับหลายภาษาทั้ง JavaScript, TypeScript และ Node.js ในตัว และสามารถเชื่อมตอ
กับ Git ไดงาย สามารถนำมาใชงานไดงายไมซับซอน มีเครื่องมือและสวนขยายตาง ๆ ใหเลือกใชมากมาย
รองรับการเปดใชงานภาษาอื่น ๆ ทั้ง ภาษา C++ , C# , Java , Python , PHP หรือ Go สามารถ
ปรับเปล่ยี น Themes ได มีสว น Debugger และ Commands เปน ตน (ณฐั พล แสนคำ , 2563)

2.2.3 HTML (Version 5)

HTML ยอมาจาก Hyper Text Markup Language เปนภาษามารคอพั มาตรฐานสําหรับการสราง
หนา เว็บเพจ เพ่ือเก็บขอ มลู ขา วสารทต่ี อ งการในรูปแบบไฮเปอรแท็กซเพ่ือแสดงผลบนเว็บเพจซึ่งคุณสมบัติ
สามารถเชื่อมโยงเวบ็ เพจระหวา งเว็บเพจไดแ ละแสดงรูป ขอความ เสียง และรปู แบบไฟล ซึ่งภาษา เอชทีเอ็ม
แอล มีสวนคำสง่ั ซ่ึงเปน สวนกำหนดรูปแบบแสดงขอความ โดยเรยี กวา แทก ซ (Tag) โดยมีสัญลกั ษณ <...> (จี
ราวธุ วารนิ ทร, 2562)

1) สวนประกอบของภาษาเอชทเี อ็มแอล
• <!DOCTYPE html>ประกาศกำหนดวาเอกสารนเ้ี ปน เอกสาร HTML5
• <html>องคป ระกอบหลกั ของหนา เอชทีเอ็มแอล
• <head>องคประกอบมีขอมูลเก่ียวกบั เมตาหนาเอชทีเอม็ แอล
• <title>องคป ระกอบระบุชื่อสําหรับหนา เอชทีเอ็มแอล (ซงึ่ จะแสดงในแถบชอ่ื

เบราวเ ซอรห รอื ในแท็บหนาเวบ็ )

14

• <body>องคประกอบกำหนดรางกายของเอกสารและเปนสวนแสดงผลเนื้อหา เชน
รปู ภาพ ขอ ความเปนตน

• <h1>องคป ระกอบกำหนดหัวขอ ท่ีมีขนาดใหญ
• <p>องคป ระกอบกำหนดยอหนา

2.2.4 CSS (Version 3.0)
CSS ยอมาจาก Cascading Style Sheet เปนภาษาที่ใชเปนสวนของการจัดรูปแบบการแสดงผล
เอกสาร HTML โดยที่ CSS กำหนดกฎเกณฑในการระบรุ ูปแบบของเนื้อหาในเอกสาร อนั ไดแ ก สีของขอความ
สีพื้นหลัง ประเภทตัวอักษร และการจัดวางขอความ ซึ่งการกำหนดรูปแบบ หรือ Style นี้ใชหลักการของการ
แยกเนื้อหาเอกสาร HTML ออกจากคำสั่งที่ใชในการจัดรูปแบบการแสดงผล กำหนดใหรูปแบบของการ
แสดงผลเอกสาร ไมข น้ึ อยูกับเน้อื หาของเอกสาร เพ่อื ใหงา ยตอการจดั รปู แบบการแสดงผลลัพธของเอกสาร
(วชิ าญ ทุมทอง, 2562)

การใชง าน CSS เพื่อใชแ กไขคุณสมบัติของเวบ็ เพจ เพื่อใหมีหนาตา สสี นั หรอื รปู แบบเปน ไปตามท่ี
ตอ งการของ CSS สำหรบั เปลีย่ นรปู รางหนา ตาของเว็บเพจใหม ีรูปแบบท่ีตางออกไป เชน การเปลีย่ นสสี ัน การ
จดั วางขอความ รูปแบบตัวอักษรท่ีใช ตำแหนง ของรูปภาพ ระยะหางจากขอบเว็บเพจ และ อน่ื ๆ หากใช CSS
รูปรา งหนาตาก็จะมีผลลัพธท ่ีตางออกไป (จรี าวธุ วารนิ ทร , 2019)

1. เวบ็ เพจพน้ื ฐานท่จี ะใชแท็กของ CSS

1) <div> ใชในการแสดงขอความ

2) {....} ใชเ ปน ตัวบอกขอบเขตของบลอ็ ก

3) <style>.... </style> ใชในการปรบั แตงโคด

4) <p>...</p> เวน ระยะขอบ

5) <header> กำหนดเปนหัวขอ หลกั

6) /* และ */ ใชใ นการเขยี น Comment เพอื่ อธิบายขอความ

ซ่ึงการใช CSS มวี ตั ถุประสงคเพ่อื ที่จะทำการสรางเวบ็ ไซตหรือเว็บเพจตา ง ๆโดยจะมกี ารใชแ ท็กของ
CSS เพื่อทีจ่ ะใชอ อกแบบหนาเว็บไซตและการใช CSS ยังสามารถตกแตง หรือปรบั ขนาดของตวั อกั ษรให
ออกมารปู แบบที่ตองการ

ขอดีของการเขียนดวย ภาษา CSS คือ

1) สะดวกในการเขียนเวบ็ เพจ
2) สามารถปรบั แตง ขอความและกำหนดฟอนตของตัวอักษรไดต ามตอ งการ

15

ขอ เสียของการเขียนดว ย ภาษา CSS คอื

1) ตอ งเขยี นโคดเดมิ ซำ้ ๆกนั หลายครง้ั

2) เมอื่ ตองการเปลยี่ นแปลงแกไ ขไฟลของ CSS จำเปนตองมาแกไ ขทุกไฟลท ี่เกี่ยวของกบั CSS

2.2.5 Bootstrap (Version 5.1)
Bootstraps เปนกรอบการทำงานของ CSS ใชในการพัฒนาเปนฟรอนตเอนดเฟรมเวิรกฟรีสําหรับ
การพัฒนาเว็บที่รวดเร็วและงายขึ้นซึ่งประกอบดวยเทมเพลตการออกแบบที่ใช เอชทีเอ็มแอล และ CSS ใน
การ typography, forms, buttons, tables, navigation, modals, image carousels เปนตน และยังมี
ปลั๊กอิน JavaScript ท่ีเปนทางเลือกในการใชงานนอกจากนี้การใชงาน Bootstraps ยังชวยใหการออกแบบ
เวบ็ ไซตส ามารถรองรับการใชง านไดหลากหลายหนาจอ
Bootstrap ถูกพัฒนาขึ้นดวยกลุมนักพัฒนาโดยมีการอัพเดทอยูตลอดเวลาเพื่อรองรับการทำงานได
อยางทันสมัย และ การแกไขปญหาตาง ๆ หรือ Bug ก็ทำไดอยางรวดเร็ว ดังนั้น การเลือกใช Bootstrap ใน
การนำมาชวยพัฒนาโปรเจคทัง้ เว็บแอพลิเคชัน App บนมือถือ หนังสือเลมนี้ผูเ ขียนไดเขยี นจากประสบการณ
การใชงาน มาอยางยาวนาน ตั้งแตเ วอรช นั แรกๆ จนถงึ เวอรช ันปจจุบนั (W3School, 2021)

2.2.6 PHP (Version 7)
PHP คือ ภาษาคอมพิวเตอร Server-Side Script ซึ่งใชในการจัดทำเว็บไซตและสามารถประมวลผล
ออกมาในรูปแบบHTML โดยมีรากฐานโครงสรางคำสั่งมาจากภาษา ภาษาซี ภาษาจาวา และ ภาษาเพิรล
เปาหมายหลักของภาษา PHP คือใหนักพัฒนาเว็บไซตสามารถเขียนเว็บเพจ ที่มีความตอบโตไดอยางรวดเร็ว
(วทิ ยา ทองคำ, 2560)
PHP คือ ภาษาโปรแกรมรูปแบบหนึ่งที่ทำงาน อยูบน Server หรือ เรียกวา Server-Side Script
โดยค าสั่ง ภาษา PHP นั้นจะถูกนำไปประมวลผล ในฝง Server กอนและสงผลลัพธกลับมาแสดงผลให
ผูใชงานผานทางหนาจอของ เครื่อง Client ที่รองขอไฟล ภาษา PHP นั้นนถูกพัฒนาอยางตอเนื่อง มี library
และ Framework ตาง ๆ ใหเลือกใชมากมาย เปนภาษาที่ไดรับความนิยม มีผูใชงานเปนจำนวนมาก เหมาะ
สำหรบั เร่มิ ตนเรียนรกู ารเขยี นโปรแกรม (วทิ ยา ทองคำ, 2560)
เคร่ืองมือสำหรับการพฒั นาโปรแกรมภาษา PHP

1) โปรแกรม Text Editor เชน notepad ++ , sublime text 3 , NetBeans เปนตน
2) โปรแกรมจำลอง Web Server เชน Xampp , Wampp เปนตน โดยโปรแกรมจำลอง Web

Server นั้น คือ โปรแกรมที่ รวมเอาโปรแกรมที่จำเปนการพัฒนา เชน Apache , MySQL ,
PhpMyAdmin และ อืน่ ๆเพือ่ ใหสามารถพฒั นาโปรแกรมไดส ะดวกยง่ิ ขึน้
3) โปรแกรม Web Browser Google Chrome หรือ Moziia Firefox

16

2.2.7 MySQL (Version 8.0.23)
MySQL เปนโปรแกรมระบบจัดการฐานขอมูล มีหนาที่เก็บขอมูลที่รองรับคำสั่ง SQL สำหรับเก็บ
ขอมูลใชรวมกับเครื่องมือหรือโปรแกรมอื่น เพื่อใหระบบรองรับความตองการของผูใช และ MySQL สามารถ
ทำงานรวมกับภาษาอื่น ๆ ได เชน ภาษา php ภาษา aps.net หรือ ภาษาเจเอสพี เปนตน หรือใชทำงาน
รวมกับโปรแกรมประยกุ ตได เชน ภาษาจาวา หรือ ภาษาซีชารป เปนตน โดยโปรแกรม MySQL ถูกออกแบบ
ใหสามารถทำงานไดบนระบบปฏิบัติการที่หลากหลาย MySQL จัดเปนระบบจัดการฐานขอมูลเชิงสัมพันธ
(RDBMS : Relational Database Management System) (IT Genius , 2021)
การเขียนโปรแกรมบน MySQL คือ การเขียนโปรแกรมที่มีขนาดเล็ก ซึ่งจะถูกคอมไพล (Compiled)
หรือแปลเปนโปรแกรมทสามารถทำงานกันไดบน Database Server ทำใหการทำงานนั้นมีความเร็วสูงกวา
การเขียนโปรแกรมแบบเดิมที่เขียนคำสั่ง SQL ไวในสตริง และใชคำสั่งในภาษาโปรแกรมนั้น ๆ เรียกให
ฐานขอมูลทำการแปรคำสั่ง SQL นั้นวาถูกตองตามหลักที่กำหนดไวหรือไม จากนั้นจะทำตามคำสั่ง SQL เปน
ลำดับตอไป แตโปรแกรมที่เขยี นบนฐานขอมลู จะถูกคอมไพลและจะถกู โหลดพรอมกบั Database Server ทำ
ใหไมตองเสียเวลาในการตรวจสอบใหมทุกครั้งที่มีการใชงาน สามารถทำงานไดทันที เมื่อมีการเรียกใช
โปรแกรม (สมพงษ อรสิ ริยวงศ)
MySQL จะคลายกับการเขยี นโปรแกรมทัว่ ไป คือ มีการประกาศตัวแปร มีคำสั่งเงือ่ นไขเพ่ือเลอื กการ
ทำงานที่เหมาะสม มีคำสั่งในการทำซำ้ หรือทีเ่ รยี กวา Loop ตลอดจนคำสั่งในการจัดการขอผดิ พลาดที่เกิดขึ้น
ในขณะที่โปรแกรมกำลงั ทำงาน (สมพงษ อริสรยิ วงศ, 2555)

2.2.8 JavaScript (Version 1.8.5)

JavaScript หรือ JS เปนภาษาเขียนโปรแกรมท่ีถูกพัฒนาและเปนภาษาระดบั สงู ซ่งึ JavaScript เปน
ภาษาเขยี นโปรแกรมทีม่ ีความหลากหลายในการเขยี นโปรแกรม เชน การเขียนโปรแกรมเชิงขั้นตน, การเขียน
โปรแกรมเชงิ วตั ถุ หรือ การเขียนโปรแกรมแบบ Functional ซง่ึ JavaScript มหี ลักไวยากรณในการเขียนท่ี
เหมือนภาษา C นอกจากน้ี JavaScript เปนภาษาทมี่ ีประเภทขอ มลู แบบไดนามกิ ส แบบ Prototype-based
และ First-class function (JavaScript, 2021)

JavaScript เปน ภาษาคอมพิวเตอรท่เี ขยี นลงบนเวบ็ เพจโดยเวบ็ เบราวเซอรโดยจะเปน ท้ังผูทอ่ี านและ
ตีความหมายและแสดงผลออกมาทหี่ นาจอ ซ่ึง JavaScript เปนสครปิ ตฝ ง ไคลเอนตโดยจะมกี ารแปลโคด ในฝง
ของไคลเอนต หรือ ผใู ชงานซ่ึงสามารถใชคอมพิวเตอรทดสอบได (จีราวุธ วารนิ ทร, 2019)
การเขยี น JavaScript มีส่งิ ที่ตองเตรยี มมอี ยู 2 สวน

1) Text editor ใชส ำหรบั ใสโคด หรอื แกไ ขโคดคำสงั่
2) Browser

คำส่งั ตาง ๆใน JavaScript ประกอบไปดวย

1) (;) Semi-colon ใชใ นการจบคำส่งั

17

2) // ใชในการ Comment ในขอความ
ตวั แปรท่ใี ชสำหรับ JavaScript ประกอบดวย

1) var เปน การประกาศตวั แปรใน JavaScript
2) $ การตง้ั ชอื่ ตัวแปร ไมม ีการเวนวรรค สามารถใชต วั อกั ษรและตัวเลข
3) Undefined ประกาศตวั แปรใหม
4) , แยกตัวแปรแตล ะตัวออกจากกัน
5) Integer ตวั เลข
6) Character ตัวอกั ษร
7) > มากกวา
8) < นอ ยกวา
9) == เทา กนั
10) === เทา กนั แบบเหมือนกนั
11) ! = ไมเ ทา กนั
ประเภทของคำสัง่ ใน JavaScript คือ
1) Assignment statement เปน การกำหนดคา ใหกับตวั แปร
2) Condition statement เปนชดุ คำสง่ั ท่ใี ชเพ่ือตรวจสอบคาวา เง่อื นไขนั้นเปน จรงิ หรือไม
3) Iteration statement เปนชดุ คำสง่ั ท่สี ั่งใหโ ปรแกรมทำงานซำ้ ๆกันตามเง่อื นไขทกี่ ำหนด
ตวั ดำเนนิ การ (Operator) ใน JavaScript ประกอบดวย

1. ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร ใชค ำนวนคา ตวั เลขทางคณิตศาสตร
• + เคร่ืองหมาย บวก
• - เครื่องหมาย ลบ
• * เคร่อื งหมาย คูณ
• / เครือ่ งหมาย หาร
• ^ ยกกำลัง

2. ตวั ดำเนนิ การเปรียบเทยี บ ใชเพอ่ื การเปรยี บเทียบคาสองคา
• > มากกวา
• < นอ ยกวา
• == เทากัน
• === เทา กนั แบบเหมือนกัน
• != ไมเ ทา กนั
• >= มากกวาหรอื เทากบั
• <= นอ ยกวา หรอื เทากบั

18

3. ตัวคำเนินการเชือ่ มขอความ การเช่ือมขอความใน JavaScript จะใชเ คร่ืองหมาย & เพอื่
รวมหรือเช่อื มขอความหลายๆขอความใหกลายเปน ขอ ความเดยี ว

ดังนัน้ JavaScript เปน ภาษาทใี่ ชสำหรบั การคำนวณคาและแปรขอความผา นตัวแปรในเวบ็ เพจโดย
เว็บเบราวเ ซอรผ า นการแสดงผลออกมาทีห่ นา จอ

2.2.9 XAMPP (Version 8.9.0)
XAMPP คอื โปรแกรมที่มีไวเพ่ือจำลองใหเคร่ืองคอมพวิ เตอรเปนท้ัง Client และ Server กลาวคือ มี
ทั้งการรับสงและประมวลผลขอมูลในเครื่องเดียวกันและไวใชสำหรับสรางเว็บไซตเพื่อใชงานในการจัดเก็บ
ขอมูลตาง ๆ ไวบนเซิรฟเวอร และ ใชแสดงผลบนเว็บเพจโดยมีภาษาโปรแกรมท่ีใชเขียน ไดแก HTML, CSS,
Bootstrap, JavaScript และ jQuery บนเว็บเพจ (บญั ชา ปะสลี ะเตสงั , 2562)

XAMPP ประภอบดวย Apache, PHP, MySQL, PHP, MyAdmin, Perl ซึง่ เปนโปรแกรมพน้ื ฐานท่ี
รองรับการทำงาน การทำเว็บไซตไ มวา จะในรูปแบบ ทเี่ ปน HTML ธรรมดา หรอื แบบท่ีเปน Database รวมถงึ
การเลือกใช CMS (Content Management System) เปน ระบบท่นี ำมาชวยในการสรา งและบริหารเวบ็ ไซต
แบบสำเรจ็ รูป ซึ่งเปน ชุดโปรแกรม สำหรบั ออกแบบเวบ็ ไซตทีไ่ ดร บั ความนิยม เชน Joomla, Wordpress เปน
ตน

โปรแกรม XAMPP สามารถใชงานได 4 OS ไดแก

1. Windows
2. Linux
3. Mac OS X
4. Solaris สำหรับ Solaris 8 และ Solaris 9

การเรยี กใชง าน XMAPP เปน โปรแกรมทตี่ องเรยี กใชงานซ่งึ จะมี Control Panel ในการเรยี กใชง าน
หลังจากเปดใชงานคอมพวิ เตอรถงึ จะสามารถเรียกหนา เวบ็ ไซตที่สรางขน้ึ ผาน URL ท่ีขึน้ ตนดวย localhost
หรอื ทีเ่ ปน IP คือ 127.0.0.1 เปน localhost หลัก (ณฐั พงศ สุวรรณรตั น , 2560)

2.2.10 Application Snore Lab (Version 5.3.10)
Snore Lab คือแอปพลิเคชันที่เกี่ยวของกับการนอนกรน สามารถบันทึกเสียงและวิเคราะหเสยี งกรน
ได และสามารถใหคะแนนการกรนวามีเสียงดังมากหรือเสียงดังนอยแคไหน ในชวงเวลาไหนบาง และสามารถ
ฟงการบันทึกเสียงยอนหลังได พรอมกับแสดงผลเปนกราฟเสนขอมูลอยางชัดเจน และสามารถสงออกขอมูล
การแสดงผลการจัดเก็บและวิเคราะหผลลัพธใน Snore Lab ผาน Excel Number, Google Docs หรือใน
โปรแกรมสเปรดชีสอ่นื ๆ เปนตน

19

นอกจากนี้ Snore Lab ยังสามารถเชื่อมตอกับ Apple Health เพื่อติดตามปจจัยดานไลฟสไตล
พรอมทั้งบันทึกสถิติการนอนและสถิติรางกาย แลวจึงนำมาประมวลผลวามีปจจัยอะไรที่สงผลทำใหนอนกรน
(Snore Lab 5.3.10 , 2021)

2.3 งานวิจัยหรือระบบทีใ่ กลเคยี ง

2.3.1 About the Accuracy and Problems of Consumer Devices in the Assessment of
Sleep (Mohamed S. Ameen, Lok Man Cheung, Theresa

งานวิจยั นม้ี ีวัตถุประสงคเ พื่อใหผวู ิจัยสามารถวจิ ัยความผิดปกติในการนอนหลับของผูคนไดวามีสาเหตุ
มาจากอะไรที่ทำใหมีผลตอความผิดปกติในการนอนหลับ เชน สภาพแวดลอม การดำเนินชีวิต และโรค
ประจำตวั ซงึ่ งานวจิ ยั น้จี ะมกี ารบอกวธิ ีการใชโดยการทดลองการวัดโดยใช Polysomnography หรือ PSG ซ่ึง
เปนการตรวจวัดการนอนหลับและทำการบันทึกผลการนอนหลับตาง ๆ เชน เวลานอนหลับ (TIB) เวลานอน
หลบั ทง้ั หมด (TST) ประสทิ ธภิ าพในการนอนหลบั (SE) และติดตามความคบื หนาในการนอนหลับ และ มีแอป
พลิเคชันที่ชื่อวา Sleep Cycle ซึ่งจะเปนการวัดการนอนหลับโดยจะมีการติดตาม Motion watch เพื่อใชใน
การติดตามการนอนหลับในตอนกลางคืนโดยจะมีเซ็นเซอรในการตรวจการเคลื่อนไหวในการนอนหลับในตอน
กลางคนื โดยมีวิธกี าร ดังน้ี

1. ถานอนหลับแลว ไมข ยบั รา งกาย แสดงวาหลบั ลึก
2. ถานอนหลบั และขยับรางกายนดิ หนอ ย แสดงวา หลบั ปกติ
3. ถานอนหลับและขยับรางกายทุกครั้งตอนนอน แสดงวา หลับนอย หรือ นอนไมหลับและอาจมีความ

ผดิ ปกตใิ นการนอนหลบั ได

ซึ่งทำใหไดคาในการนอนหลับที่ชัดเจนและสามารถบอกคาไดวา หลับลึก หลับปกติ หรือหลับนอย
อุปกรณส ำหรับผบู รโิ ภคที่มีอยใู นปจจุบันทีใ่ ชสำหรบั ตดิ ตามการนอนหลบั ยังไมไดใหความนาเช่ือถือที่ใหขอมูล
เกี่ยวกับการนอนหลับ อยางไรก็ตาม อุปกรณประเภทนี้อาจเปนเครื่องมือที่นาติดตามมากที่สุด และการที่ให
นอนในหอง Lab จะมีผลดี เนื่องจากเปนไปตามมาตรฐานทางวิทยาศาสตรของการวิเคราะหการนอนหลับ
ยิ่งกวานั้น จะมีการปรับแตงอัลกอริทึม หรือ แมกระทั่งการเพิ่มเซ็นเซอรมากขึ้น ซึ่งอุปกรณเหลานี้อาจจะ
ตรวจสอบและจำแนกการนอนหลับไดอ ยา งนา เชื่อถือต้ังแตความตื่นตวั เพ่ือการนอนหลับเบาและการนอนหลับ
ลกึ และการนอนหลบั ที่เรยี กวา “REM” (Hauser, Michael A. Hahn, Manuel Schabus, 2019)

2.3.2 Nocturnal Cough and Snore Detection in Noisy Environments Using Smartphone-
Microphones

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อตอ งการแยกเสียงไอและเสยี งกรน รวมไปถึงเสยี งรบกวน ในระหวางการ
ทดสอบ โดยนำประเด็นปญ หาตาง ๆ ที่เปนหวั ขอของปญหาในเรื่อการนอนกรน โดยใชวิธีกำหนดเหตุการณท่ี

20

จะเเก็บขอมูลของเสียงกรน แบงออกเปน อาการไอ เสียงกรน วินาทีที่กรน การหายใจ และความรุนแรงของ
เสียงกรน โดยมีวัตถุประสงคทำขึ้นเพื่อบันทึกผล ติดตามความคืบหนา ซึ่งใชวิธีบันทึกเสียงในการเก็บขอมูล
และบันทึกผลผานสมารโฟนและสามารถทำการแยกเสยี งไอและเสยี งกรน รวมไปถึงเสียงรบกวนตาง ๆ ในการ
แยกเสียงจะตองพิจารณาในอัตราสวนสัญญาณเสียงตอสัญญาณรบกวน (SNR) ตามดวยการจัดประเภทของ
เสียงไอและระยะการนอนหลับ การสรางแบบจำลองเพื่อประเมินโดยละเอียดของตัวจำแนกไบนารี มีวิธีการ
สรางแบบจำลอง ดังนี้ Generalized Raw Model (GRM) Generalized Noise Model (GNM) Personal
Noise Model (PNM) แตการสรางแบบจำลองเกิดความไมสมดุลกัน แตละวิธีมีจำนวนที่ตางกัน มีเหตุการณ
ตา งกนั วิธีการสรา งแบบจำลอง GNM เปน แนวทางการสรา งแบบจำลองท่ีมีประสิทธภิ าพ แตโดยรวมแลวแนว
ทางการสรา งแบบจำลอง PNM ทำงานไดดีกวาแนวทางการสรางแบบจำลอง GNM ดงั น้ัน ผใู ชใหมอาจเริ่มตน
ดวยโมเดล GNM และเมื่อเวลาผา นไปผูใชอาจเปลี่ยนมาใชแบบจำลอง PNM เพื่อฝกฝนและนำไปใชใหเกิดผล
ไดดีขึ้นและมีประสิทธิภาพ (Vhaduri, S., Van Kessel, T., Ko, B., Wood, D., Wang, S., & Brunschwiler,
T.,2019, June)

2.3.3 Accuracy of a smartphone application in estimating sleep in children

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหปญหาการนอนหลับเรื้อรัง โดยจะวิเคราะหการนอนหลับจาก
เด็กชาวอเมริกันที่มีชวงอายุ 2-14 ป จะใชวิธีการโดยการใชแอปพลิเคชนั ที่มีชื่อวา Sleep Cycle ในโทรศัพท
เพือ่ วัดการนอนหลับและประเมินความถูกตอง โดยจะมีเดก็ ชาวอเมรกิ ันจำนวน 25 คน เขาไปใชงานแอปพลิเค
ชันโดยการวางโทรศัพทไวบนที่นอนใกลกับหมอนเพื่อทำการวัดและบันทึกผลการนอนหลับโดยจะวัดเปน
ระยะเวลา 1-2 สัปดาห ทำใหไดผลลพั ธ คือ ปญหาที่พบบอยจากการนอนหลับในวัยเดก็ ประมาณ 69% ของ
เด็กชาวอเมริกันมาจากการนอนหลับไมเพียงพอซึ่งสงผลใหเกิดโรคอวน เบาหวาน โรคเครียด และ โรคอัลไซ
เมอร ทำใหสามารถหาทางรักษาโรคตาง ๆ ทจ่ี ะสง ผลตอ การนอนหลบั ไดอยางทนั เวลา (Patel, P., Kim, J., &
Brooks, L. , 2017)

2.3.4 Smartphone apps for snoring

งานวิจยั น้ีมีวัตถปุ ระสงคเ พื่อศึกษาผลลัพธที่เกีย่ วของกับการนอนกรนโดยการทดสอบการใชงานแอป
พลิเคชนั การนอนกรนทั้งหมด 126 รายการ เพ่ืออธบิ ายการพฒั นาเทคนิคการตรวจจบั การกรนท่ไี มม ขี อจํากัด
ซ่ึงสามารถรวมเขากับแอปพลิเคชนั สมารท โฟนไดแ ละสามารถตรวจสอบเสียงเพ่ือวดั เสยี งกรนได พรอมท้งั
สามารถวนิ จิ ฉยั ภาวะหยดุ หายใจขณะหลบั จากการอุดก้นั

โดยสรปุ แลวจากการใชงานแอปพลเิ คชันการนอนกรนท้ัง 126 รายการ มี 13 รายการผานเกณฑก าร
รวมและการยกเวน คุณสมบตั ิแอปพลเิ คชันท่ีสำคญั ท่สี ดุ คือ ความสามารถในการแสดงเหตุการณข องเสียงกรน
แบบกราฟก แอปพลเิ คชนั Quit Snoring ไดรบั คะแนนโดยรวมสูงสุด เมอ่ื เปรยี บเทียบการบนั ทกึ บนแอปนี้กับ
ขอมูลการนอนหลบั ในหองปฏิบตั กิ าร ความไวตอการกรนของแอปอยรู ะหวา ง 64 ถึง 96 เปอรเซ็นต และคา
พยากรณเ ชงิ บวกของการนอนกรนอยรู ะหวาง 93 ถงึ 96 เปอรเ ซ็นตค นกรนเรือ้ รังใชแ อปนี้ทกุ คนื เปน เวลาหนึง่
เดอื นและติดตามการแทรกแซงทางการแพทย การนอนกรนลดลงจาก 200 เปน 10 คร้ังตอช่ัวโมง

21

(Camacho, M., Robertson, M., Abdullatif, J., Certal, V., Kram, Y. A., Ruoff, C. M., ... & Capasso,
R., (2015.)

2.3.5 Sleep Problems in School Aged Children: A Common Process across Internalising
and Externalising Behaviours

งานวจิ ัยนมี้ ีวัตถุประสงคเพ่ือวนิ ิจฉัยการนอนหลบั ในเด็กวัยเรียน จำนวน 114 คน จากโรงเรียนประถม
4 แหงในเมลเบิรน ประเทศออสเตรเลยี โดยจะหาสาเหตุตาง ๆ ที่ทำใหเกดิ ปญหาในการนอนหลับ ไดแก ความ
วิตกกังวล, ภาวะซมึ เศรา และ ความผดิ ปกติทางดานอารมณ ทำใหอาการดงั กลาวจะสงผลใหเ กดิ ปญหาการ
นอนหลบั ในวัยเดก็ เชน งว งนอนในตอนกลางวนั , มีความวิตกกงั วลในการเรียนการสอน, สมาธิส้ัน และ อารมณ
แปรปรวน, ภาวะหยุดหายใจขณะหลบั ทำใหตองมีการวนิ ิจฉยั การนอนหลบั ในวัยเด็กโดยจะใชวิธกี ารตา ง ๆ ใน
การวนิ จิ ฉัย ไดแก

1. การวดั โดยการใช PSG หรือ Polysomnography เพ่ือใชใ นการวัดการนอนหลบั ของเด็กโดย
จะไดผ ลลพั ธวา เด็กชว งอายุ 5-11 ป จะมีปญหาดา นการนอนหลับโดยจะเก่ียวของกบั ภาวะ
ซึมเศรา

2. ทำการทำแบบฟอรม สอบถามพฤติกรรมการนอนหลับในเด็กอายุ 6-18 ป โดยจะใชตวั แปรใน
การวดั คอื อารมณ พฤติกรรมทา ทาง สมาธิ โดยจะมีเกณฑค ะแนนในการใหเ พ่ือบงบอกถึง
ระดับการนอนหลับของเด็ก

3. การใชการวิเคราะหทางสถิติ มีจดุ มงุ หมายเพอ่ื ทำการศึกษาปญหาการนอนหลบั โดยดำเนิน
การศกึ ษาท้งั ภายนอกและภายในของพฤตกิ รรมในการนอนหลบั โดยภายนอกจะศึกษา
เกยี่ วกบั สมาธิและทาทางพฤติกรรม สว นภายใน คอื อารมณเ พื่อใหว ิเคราะหและแสดงขอมูล
ออกมาในรปู แบบสถติ ิ

ผลลัพธที่ได คือ การทราบผลการวินิจฉัยการนอนหลับของเด็กในวัยเรียนโดยไดเห็นวาสาเหตุมาจาก
การทเี่ ดก็ ในวยั มีปญ หา ความวติ กกงั วล, ภาวะซมึ เศรา และ ความผดิ ปกตทิ างดานอารมณทำใหเกิดปญหาการ
นอนหลับในเด็กวัยเรียนจากโรงเรียนประถม 4 แหงในเมลเบิรน ประเทศออสเตรเลีย จำนวน 114 คน
(Bayes, D. M., & Bullock, B. , 2020)

2.3.1 การเปรียบเทยี บงานวิจัย
ตารางที่ 2.3 เปรียบเทียบงานวจิ ัยที่ใกลเคียง

ลำดบั หวั ขอทเี่ ปรียบเทียบ เครอ่ื งมือทใ่ี ชพ ัฒน

1 About the Accuracy and Problems of - Mi-band
Consumer Devices in the Assessment of - Sleep cycle

Sleep

2 Nocturnal Cough and Snore Detection in ไมระบุ
Noisy Environments Using Smartphone-
Microphones

22

นา วธิ กี ารตรวจวัดการนอนหลับ ฟง กชนั การทำงานของระบบ

Polysomnography หรือ PSG - การตรวจวัดการนอนหลับ
- การบันทึกผลการนอนหลบั
- การติดตามการนอนหลับ
- ตรวจการเคล่ือนไหวในการ
นอนหลบั

SNR (Signal to Noise Ratio) - แยกเสยี งไอและเสียงกรน
รวมไปถงึ เสียงรบกวน
- การเก็บขอมูลเสยี งกรน
- การบันทกึ เสยี งและติดตาม
ความคืบหนา

3 Accuracy of a smartphone application in - Sleep Cycle
estimating sleep in children - นากิ าขอมือวัดการ
นอนหลับ

4 Smartphone apps for snoring - มีการใชง านแอปพล
ชนั การนอนกรนทั้งหม
126 รายการ

5 Sleep Problems in School Aged Children: A ไมระบุ
Common Process across Internalising and
Externalising Behaviours

23

ร Polysomnography หรอื PSG - วดั การนอนหลบั
- ประเมินผลการนอนหลับ

ลเิ ค ไมระบุ - รวบรวมขอมลู เทคนิคการ
มด ตรวจจับการกรน
- เฝาติดตามผูทดลองผานการ
ใชง านแอปพลิเคชนั
- ผลสรุปผูใชม กี ารนอนกรน
ลดลงจาก 200 เปน 10 ครั้ง
ตอช่วั โมง

Polysomnography หรือ PSG ทำแบบฟอรม - วัดการนอนหลับของเดก็
สอบถามพฤติกรรมการนอนหลบั การวิเคราะห - การใชต ัวแปรในการวดั เพื่อ
ทางสถติ ิ บงบอกถึงระดบั การนอนหลบั
ของเด็ก
- ดำเนนิ การศกึ ษาทั้งภายนอก
และภายในของพฤติกรรมใน
การนอนหลับ

24

บทท่ี 3
การวเิ คราะหระบบ

การจดั ทำโครงการในครั้งนผี้ จู ดั ทำไดทำการศึกษาระบบทต่ี องการพฒั นาโดยจะประกอบไปดวย
วิธีการทไ่ี ดม าของขอมูลท่ีเก่ยี วของกับงานระบบเดิมและงานท่เี ก่ียวของกับเว็บแอปพลเิ คชนั วเิ คราะหก ารนอน
หลับ โดยการใชทฤษฎกี ารวิเคราะหร ะบบ (System Analysis) ประกอบไปดว ยหวั ขอ ดังน้ี องคกรที่เก่ยี วของ
วธิ ีการจดั เกบ็ ขอมลู การทำงานของระบบปจ จุบนั และการวิเคราะหความตองการของผูใช
3.1 องคกรทีเ่ กยี่ วของ

จากการศึกษาการใชงานแอปพลิเคชัน Snore Lab เปนการทำงานของแอปพลิเคชันที่ใชสำหรับการ
บันทึกการนอนหลับ และใชบันทึกเสียงกรนในทุกการนอนหลับของผูใชงาน โดยมีการสนับสนุนจากแพทย
ทันตแพทย และผูที่ไดใชงานดวยเชนกัน ภายในแอปพลิเคชัน Snore Lab จะมีประโยชนในการใหคำปรึกษา
ทางการแพทยเมอ่ื ทำความตรวจสอบความผิดปกตใิ นการนอน

โดยแอปพลเิ คชนั Snore Lab เปน แอปพลเิ คชนั ทจี่ ะนำไปตรวจจบั ผทู ่ีมปี ญ หาเก่ยี วกับการนอนหลับ
และปญ หาการนอนกรนขณะหลบั โดยแอปพลิเคชันจะทำการวดั ระดบั ความดังและบนั ทึกเสยี งการกรนขณะ
หลับเพื่อทำการวดั ผลใหออกมาในรูปแบบของคะแนนการนอนหลับและนำขอ มลู ที่บนั ทึกมาทำการประเมิน
คุณภาพการนอนหลับของผใู ช

ประโยชนของการใชแ อปพลเิ คชนั Snore Lab จะประกอบไปดวย ดังน้ี
1. ผใู ชงานแอปพลิเคชนั สามารถทราบขอมูลการบันทึกการนอนหลับในแตละคืนไดอยา งชัดเจน
2. ผใู ชง านแอปพลิเคชนั จะรบั รถู ึงสถิตกิ ารนอนหลับและสถิตทิ างรา งกายของผใู ชในแตละคนื ไดอ ยาง

ละเอยี ด
3. ผใู ชงานแอปพลเิ คชันสามารถติดตามการนอนหลับของตนเองในแตล ะคนื ไดอยา งตอเน่อื ง
3.2 วธิ กี ารจดั เก็บขอมูล

ผูจัดทำตองการที่จะศึกษาแอปพลิเคชันเดิมที่ชื่อวา แอปพลิเคชัน Snore Lab เพื่อตองการที่จะหา
ปญหาที่เกิดขึ้น จึงเริ่มตนโดยการเก็บขอมูลการนอนกรนผานแอปพลิเคชัน Snore Lab และหากลุมผูทดลอง
ใชงาน เพื่อที่จะรวบรวมขอมลู และปญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดเก็บขอมลู การนอนกรน และทำการศึกษาการใช
งานแอปพลิเคชนั Snore Lab ผานการศึกษาคูมือ รายละเอยี ดคำแนะนำการใชง านตาง ๆ

25

โดยการใชงานแอปพลิเคชัน Snore Lab เพื่อตองการที่จะจัดเก็บขอมูลการนอนกรน และมีเงื่อนไข
ของการทำงานทนี่ ำมาสรางเปนเวบ็ แอปพลิเคชัน

ก. การใชงานแอปพลิเคชัน Snore Lab
ผูใชงานแอปพลิเคชัน SnoreLab : นายจิรเมธ อยูคะเชนทร และ นางสาวจฬุ าลักษณ หนสู วุ รรณ
ตำแหนง : นักศึกษา

ข. วัตถุประสงคในการใชง านแอปพลิเคชัน Snore Lab
1) เพอื่ ทจี่ ะเขา ใจกระบวนการในการจัดเก็บขอมลู การนอนหลบั ของแอปพลเิ คชัน Snore Lab
2) เพื่อท่จี ะทราบถงึ การแสดงผลขอมลู ระดบั คุณภาพของการนอนหลับ
3) เพ่อื ทจ่ี ะทราบถงึ ช่วั โมงเวลาการนอนหลบั และทราบคะแนนในการนอนกรน
4) เพ่ือท่ีจะศึกษาถงึ หาปญหาและสาเหตขุ องการนอนกรน

ค. ข้ันตอนในการดำเนนิ การในการใชง านแอปพลเิ คชนั Snore Lab
1) เขา สูร ะบบการใชงานแอปพลิเคชัน Snore Lab
2) กดปมุ เร่ิมบนั ทึกเพ่ือบันทึกการนอนหลับ
3) Slide เพือ่ ทำการหยดุ การบันทกึ
4) แสดงขอมูลในหนาผลลัพธและแสดงคะแนนการนอนกรนใหผูใ ชงานไดท ราบ
5) สง ออกขอมลู เปนไฟล xls.

26

3.3 การทำงานของระบบปจจบุ นั
เปนการทำงานรวมกันของสวนประกอบแตละสวนโดยมีความสัมพันธกันอยางตอเนื่องเพื่อนำไปสู

ความสำเร็จตามเปา หมายทีไ่ ดวางไว ซึ่งในการทำงานของระบบปจจุบันแสดงใหเหน็ ถึงกระบวนการของระบบ
เดิมที่มีอยูแลวภายในแอปพลิเคชัน Snore Lab ซึ่งแสดงการทำงานของระบบปจจุบันและแสดงปญหาของ
ระบบปจจุบนั ได ดังน้ี

3.3.1 Flowchart แสดงการทำงานระบบปจจบุ นั
อธบิ ายกระบวนการทำงานของระบบปจจุบนั ซงึ่ ก็คือ แอปพลเิ คชนั Snore Lab ซึง่ จะมีขั้นตอนท่ี
ประกอบไปดว ย การบันทกึ ขอมูล การจัดเก็บขอมลู การแสดงผลขอมูล การสง ออกขอมูล

ก. การบนั ทึกขอ มลู จากการศึกษาและการทดลองใชง านแอปพลิเคชนั Snore Lab สามารถสรปุ
ข้ันตอนการทำงานในปจจบุ นั โดยแบง ออกเปนดงั นี้
1. ผูใชจ ะใชงานแอปพลิเคชนั Snore Lab เพอ่ื การบนั ทึกขอมลู ในขณะนอนหลบั
2. แอปพลเิ คชนั Snore Lab จะทำการบนั ทึกขอมลู การนอนหลับในแตล ะคนื
3. เมอ่ื ผใู ชต น่ื จากการนอนหลบั จะทำใหแอปพลิเคชนั Snore Lab หยุดการบนั ทกึ
ขอมลู

ข. ข้ันตอนการแสดงผลขอมลู จากการศึกษาและการทดลองใชงานแอปพลิเคชัน Snore Lab
สามารถสรุปขั้นตอนการทำงานในปจ จบุ นั โดยแบง ออกเปน ดังนี้
1. เมอื่ ผใู ชไ ดทำการหยุดการบันทกึ ขอมลู แอปพลเิ คชนั Snore Lab จะทำการแสดงผล
ขอ มูลการนอนหลบั หลงั จากชว งระยะเวลาท่ีผานมา
2. แอปพลเิ คชัน Snore Lab จะทำการแสดงขอมูล ไดแก ระยะเวลาการนอนหลับ
เวลาท่ีกรน คะแนนการนอนกรน

ค. ขั้นตอนการจดั เก็บขอ มูลจากการศกึ ษาและการทดลองใชง านแอปพลเิ คชนั Snore Lab
สามารถสรปุ ขัน้ ตอนการทำงานในปจจบุ นั โดยแบงออกเปนดังนี้
1. เมอ่ื ผูใ ชไดทำการหยุดการบนั ทกึ ขอมูล ขอมลู ทบี่ นั ทึกจะทำการสงขอมลู ไปจัดเกบ็ ไว
ในฐานขอ มลู ของแอปพลิเคชัน Snore Lab

ง. ขนั้ ตอนการสงออกขอ มลู จากการศึกษาและการทดลองใชง านแอปพลเิ คชนั Snore Lab
สามารถสรุปขนั้ ตอนการทำงานในปจจบุ ันโดยแบงออกเปนดงั น้ี
1. ผูใชส ามารถสงออกขอมลู การนอนหลับไดโดยการอัพเกรดฟงกช นั การทำงานของ
Snore Lab
2. ผใู ชส ามารถสง ออกขอมูลการนอนหลบั ในรูปแบบไฟลเอกสารไปยังเคร่ืองมืออื่น ๆ

27

ภาพที่ 3.1 flowchart แสดงการทำงานระบบปจจุบัน

28

3.4 การวิเคราะหค วามตอ งการของผูใ ช
การวิเคราะหความตองการเปนกระบวนการของการสรางแผนงาน (Plan) เพื่อแสดงใหเห็นถึงโครง

รางและกระบวนการทำงานของระบบวาทำงานอยางไร (How) เพื่อใหสอดคลองกับจุดประสงคและความ
ตอ งการ จงึ สรุปไดว า การวเิ คราะหค วามตองการ คือ การรวบรวมรายละเอยี ดตา ง ๆ เพอื่ จดุ ประสงคในการหา
ขอสรปุ ทชี่ ัดเจนในดานของความตองการ (Requirements) ระหวางผพู ัฒนากับผูใชง าน เพอ่ื ใชในข้ันตอนของ
กระบวนการวเิ คราะหแ ละออกแบบระบบ

3.4.1 Ishikawa Diagram ปญหาของระบบปจจบุ นั
อธิบายปญหาของระบบปจจุบัน จากการที่ไดลองใชงานแอปพลิเคชัน Snore Lab เปนตัวเก็บขอมูล
การนอนหลับ ทางผูจัดทำโปรเจคไดมองเห็นปญหาที่เกิดขึ้นในการใชแอปพลิเคชนั Snore Lab จัดเก็บขอมูล
การนอนหลบั จะทำการจดั เก็บขอมูลการนอนหลับเปนลักษณะในรูปแบบไฟล xls. แตห ากตองการท่ีจะสงออก
ขอมูลนั้นจะตองทำการซื้อเพือ่ อัพเกรดแอปพลิเคชัน ซึ่งในการบันทึกเสียงกรนในระหวางการนอนหลับนั้นจะ
ทำการบันทึกเสียงโดยใชโทรศัพทมือถือเปนตัวบันทึก และอาจทำใหเจอกับฟงกชันการทำงานที่คอนขาง
ซับซอนและใชงานยาก บอกผลไมไดตามที่ตองการ จึงทำใหกระบวนการในการจัดเก็บขอมูลการนอนหลับมี
ความซับซอ น ยากตอ ผใู ชง านแอปพลิเคชันและในบางครั้งที่แพทยต องการที่จะกรอกขอมูลใหคำแนะนำใหกับ
ผใู ชง านในแอปพลิเคชนั Snore Lab กไ็ มไ ดม ฟี งกช ันการทำงานสวนนแี้ ละไมครอบคลุมตามความตองการของ
ผใู ชงาน

ภาพท่ี 3.2 Ishikawa Diagram แสดงปญ หาของระบบปจจบุ ัน

29

3.4.2 ความตองการของผใู ชง าน
จากการศึกษาและรวบรวมขอมูลตามความตองการของผูใชงาน เพื่อที่จะนํามาพัฒนาเปน

เว็บแอปพลิเคชนั ในการจัดเก็บขอ มลู การนอนหลับเพ่ือท่จี ะชว ยในการแกปญหาน้ี โดยจะมี
- ความตอ งการท่ีเปน ฟง กชันการทำงาน (Functional requirement)
- ความตอ งการท่ไี มเปน ฟง กช นั การทำงาน (Non-Functional Requirement)

1) ความตองการที่เปนฟง กช ันการทำงาน (Functional requirement)
ผูใชงานระบบแบง ออกเปน 2 กลุมผใู ชงาน ไดแก

ก. ผูใชท ั่วไป
1) สามารถรบั การแจงเตอื นจากเวบ็ แอปพลิเคชัน
2) สามารถทราบผลการวิเคราะหขอมลู การนอนหลับไดจากเว็บแอปพลิเคชนั
3) สามารถทราบผลคุณภาพการนอนหลบั เบื้องตนของตนเองได

ข. แพทย
1) สามารถออกรายงานการบันทกึ ผลการนอนหลบั ของผูป ว ยได
2) สามารถติดตามผลการนอนหลับของผูปว ยตอเน่ืองได

2) ความตองการท่ไี มเ ปน ฟง กชนั การทำงาน (Non-Functional Requirement)
ก. Operational Requirement
1) ระบบการแสดงผลของขอมูลท่ีสามารถแสดงขอมูลในรูปแบบที่เขา ใจงายข้ึน
2) ระบบการแสดงผลของขอมลู ท่ีสามารถจำแนกประเภทใหเ ขา ใจมากย่ิงข้ึน

ข. Performance Requirement
1) ระบบมคี วามพรอ มตอการนำไปใชง านไดตลอดเวลา

ค. Security Requirement
1) มกี ารสำรองขอมลู ในการจัดเกบ็ ขอมลู การนอนหลับไวใ นฐานขอ มูล

ง. Cultural and political Requirement
1) รองรบั ภาษาองั กฤษ

30

ตารางเปรยี บเทียบจากผเู ชีย่ วชาญคนที่ 1

หัวขอ สีเขียว เกณฑในการแบง สีแดง
นอยกวา 50 สีเหลอื ง มากกวา หรือเทา กบั 70
1. เปอรเ ซ็นในการนอนหลับ
2. ระดับเสียงการกรน <1 50-70 (>= or <)

>1 - <3 >= 3

3. คะแนนการกรน <= 25 >50 แต <100 >=100 ขนึ้

นพ.อวริ ทุ ธ์ิ นรุ กั ษ นายแพทยชำนาญการ กมุ ารเวชกรรม โรงพยาบาลทาศาลา

ตารางเปรยี บเทียบจากผูเช่ียวชาญคนที่ 2

หัวขอ สเี ขียว เกณฑในการแบง สีแดง
นอยกวา 50 สีเหลอื ง มากกวา หรือเทา กับ 70
1. เปอรเ ซ็นในการนอนหลับ
2. ระดบั เสยี งการกรน <1 50-70 (>= or <)
3. คะแนนการกรน
<= 25 >1 - <3 >= 3

>50 แต <100 >=100 ข้นึ ไป
(บางกรณคี ะแนนการ
นอนกรนอาจสูงถึง

200)

นางลดั ดาวัลย ทองเกลีย้ ง ตำแหนงพยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ โรงพยาบาลสุราษฎรธานี
คำนวณสตู ร

เปอรเ ซน็ ตในการนอนหลับ = [(เวลาในการตืน่ นอน - เวลาในการนอนหลบั ) * 1440]/100

31

บทที่ 4

การออกแบบระบบ

โดยในบทนี้จะเปนสวนของการออกแบบเว็บแอปพลิเคชันวิเคราะหการนอนหลับ โดยทางผูจัดทำ
โครงงานไดแบงออกเปน 4 หัวขอ ดังนี้ สถาปตยกรรมของระบบ การออกแบบกระบวนการ การออกแบบ
ฐานขอมูล และการออกแบบสว นตดิ ตอ กบั ผูใช

4.1 สถาปต ยกรรมของระบบ
สถาปตยกรรมซอฟตแวรของเวบ็ แอปพลิเคชนั วิเคราะหการนอนหลับ โดยจะมผี ูใชง านระบบ 2 กลมุ

โดยสถาปตยกรรมซอฟตแวรจะแสดงโครงสรางการทำงานของเว็บแอปพลิเคชันวิเคราะหก ารนอนหลบั ซงึ่ แบง
รูปแบบการทำงานตามโครงสรางการพัฒนาเว็บแอปพลเิ คชันตามหลกั Model View Controller (MVC) โดย
มีรายละเอียดดังนี้

4. Model มหี นาท่ีติดตอ กบั ฐานขอมลู เพ่ือตอ งการนำขอมลู เขาและนำขอมูลออก และทำหนาที่
ในการแปลงขอ มลู อยูในรูปแบบทีส่ ามารถนำไปใชงานบนเวบ็ แอปพลิเคชัน

5. View มหี นาท่ีนำขอมูลจาก Model โดยผา น Controller ไปใชใ นการแสดงผลของเว็บแอป
พลิเคชนั ใหกบั ผใู ชง านโดยผาน Web Browser อยใู นรูปแบบของไฟล HTML

6. Controller ทำหนา ท่ีเปน สว นในการเชือ่ มตอระหวา ง Model และ View เมอ่ื มีการเรียกใช
งานหนาเว็บแอปพลเิ คชนั Controller จะทำการแปลงชุดคำสง่ั และสง ชดุ คำสั่งเพ่ือรองขอ
ขอ มลู ท่ีตอ งการจาก Model จากนนั้ Model ทำการ Query ขอ มูลและสง กลับไปยงั
Controller เพือ่ นำขอ มลู ท่ีรองขอจาก Client แสดงผลผา น View

32

ภาพที่ 4.1 รปู ภาพสถาปตยกรรมซอฟตแ วร
4.1.1 จากการวเิ คราะหแ ละการศึกษาระบบงานในปจจบุ นั
จากการศึกษาทำใหไดขอบเขตการทำงานตามความตองการของผูใ ชง านเพ่ือท่ีจะนำไปใชในการ
ออกแบบใหตรงตอความตองการของผูใ ชงานและระบบสามารถท่จี ะสอดคลอ งกบั วัตถปุ ระสงคตามเปา หมาย
ในการวเิ คราะหคณุ ภาพการนอนหลบั คอื จะเปนการวเิ คราะหคุณภาพการนอนหลับของผูใชง านจากการ
บันทกึ ขอมลู การ นอนหลับจาก แอปพลิเคชนั Snore Lab เพ่อื นำขอมลู ทไี่ ดบ ันทกึ มาทำการวิเคราะหคณุ ภาพ
การนอนหลบั จากเว็บแอปพลิเคชนั โดยจากเดมิ ท่ีจะใชแ อปพลเิ คชัน Snore Lab ในการบันทึกการนอนหลบั
แตแ อปพลเิ คชัน Snore lab มีขอจำกัดที่ไมส ามารถแสดงผลระดับคุณภาพการนอนหลบั ของผูใชใ นรูปแบบท่ี
เขาใจไดงา ยและขาดฟง กช นั ในสว นของการใหคำแนะนำจากแพทยท่เี กย่ี วกบั คุณภาพการนอนหลบั ของ
ผูใชง าน
โดยทางผูจ ัดทำโครงงานจะเปลีย่ นรปู แบบใหมในการวิเคราะหค ุณภาพการนอนหลบั ซึ่งจะออกแบบ
ระบบมาเปน การแสดงขอ มูลในรูปแบบของเวบ็ แอปพลเิ คชันโดยในระบบใหมจะมีขั้นตอนการจดั เก็บขอ มลู
ดงั นี้

1. วิเคราะหขอ มลู การนอนหลับ
2. ประเมินผลขอ มลู การนอนหลับ
3. ออกรายงานคุณภาพการนอนหลับ

33

4.2 การออกแบบกระบวนการ
4.2.1 แผนผังลำดับข้นั ตอนการกระบวนการ
จากการศึกษาและวิเคราะหถงึ ความตองการของผูใ ชงานเว็บแอปพลิเคชันวิเคราะหการนอน

หลับ สามารถวิเคราะหและออกแบบแผนกระบวนการโดยใชแผนลำดับขั้นตอนกระบวนการโดยใชแผนลำดบั
กระบวนการเพื่อใหสามารถเห็นภาพรวมของงานตาง ๆภายในระบบได โดยเริ่มตนจากเว็บแอปพลิเคชัน
วิเคราะหการนอนหลับ โดยสามารถแบงออกเปน 5 ฟงกชัน ไดแกฟงกชันที่ 1 เปนการนำเขาขอมูลผลการ
บันทึกการนอนหลับจากแอปพลิเคชัน Snore Lab ฟงกชันที่ 2 เปนฟงกชันการลงทะเบียน ฟงกชันที่ 3 เปน
ฟงกชนั การวเิ คราะหป ระเมินผลขอมูลผูใช ทจ่ี ะทำการวเิ คราะหขอมลู การนอนหลับเพื่อใหไดเปนการแสดงผล
ขอมูลคุณภาพการนอนหลับ และสรุปผลขอมูลการนอนหลับใหกับผูใช ฟงกชันที่ 4 วินิจฉัยและแสดงความ
คิดเห็น และฟงกชันที่ 5 การออกรายงาน โดยจะเปนการออกรายงานที่เกี่ยวกับขอมูลระดับคุณภาพการนอน
หลับและสามารถใหแพทยท ำการแสดงความคดิ เหน็ ใหกบั ผูใชไ ดแ ละผใู ชส ามารถเรียกดขู อมลู ยอนหลังได

ภาพที่ 4.2 รปู ภาพแผนผังลำดบั ข้นั ตอนกระบวนการ
4.2.2 แผนภาพบรบิ ท (Context Diagram)
จากแผนภาพบริบทจะแสดงใหเห็นวามีการแบงกลุมผูใชงานออกเปน 2 กลุม คือ ผูใชทั่วไป และ
แพทย โดยกลมุ ผใู ชท ัว่ ไปจะมสี ทิ ธ์ใิ นการเขาใชง านระบบ สามารถแบง ไดด งั น้ี
ก. ผูใ ชทวั่ ไป

1) นำขอมูลอีเมลและรหัสผา นเพ่อื เขาสรู ะบบ
2) นำขอมลู สว นตัวของผูใชเ ขาสูระบบเพ่ือใชง าน
3) นำขอมูลการนอนหลับจากแอปพลิเคชนั Snore Lab เขาสรู ะบบเพ่ือใชงาน
4) เรียกดูรายงานผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับ
5) เรยี กดูขอมูลรายละเอยี ดคุณภาพการนอนหลับยอ นหลงั

34

ข. แพทย
1) กรอกรหัสผูปวยเพอื่ เรยี กดูขอมูลคณุ ภาพการนอนหลับของผปู ว ย
2) เรยี กดรู ายงานขอมลู การสรปุ ผลการนอนหลบั ได
3) จดั เก็บขอมูลรายละเอยี ดคำแนะนำเกี่ยวกับคุณภาพการนอนหลับ
4) ออกรายงานคณุ ภาพการนอนหลบั

ภาพท่ี 4.3 แผนภาพบรบิ ท (Context Diagram)


Click to View FlipBook Version